Download as pptx, pdf, or txt
Download as pptx, pdf, or txt
You are on page 1of 103

พรรณไม้ใน

พระพุทธศาสนา
นายคมกฤษ จันทร ์เจียวใช้ รหัส
นักศึกษา 6015600239
นายธีระศ ักดิ ์ ภักตรนิ กร รหัส
นักศึกษา 6015600270
นายสุกษม แถมเกษม รหัส
นักศึกษา 6015600304
นางสาวอรพรรณ ร ัตนวิเศษศรี รหัส
นักศึกษา 6015600387
นายนัฐพงษ ์ภัทร กุลวรรณทอง รหัส
นักศึกษา 6015600489

เสนอ
อาจารย ์ชยันต ์ พิเชียรสุนทร

สาขาวิชาการแพทย ์แผนไทย
พระพุทธศานานันมี ้ หลายลักษณะ

นับตังแต่วรรณคดีพระศาสนา กวีได้
รจนากล่าวถึงไม้บนสวรรค ์ ไม้ชนิ ดนี ้
คนสามัญไม่เคยพบเห็น เป็ นไปได้วา ่
โลกแห่งจินตนาการอิงอยู ่บนความ
จริงทางวัตถุ ดังเช่น ธรรมชาติจริง
ของทองหลาง จึงถู กแต่งเสริมเป็ น

ปาริชาต รวมทังมณฑา ้ ภพ
บนพืนพิ
สู ม
่ ณฑารพบนสวรรค ์
ในสมัยพุทธกาล พระสัมมาสัม
พุทธเจ้า ทรงวางพระวินย ั บัญญัต ิ
ใดมากกกว่ากน ั ในราวป่ าย่อมมากกว่า แต่
ใบไม้ในกามือตถาคตนัน ้ เหมือนธรรมทีทรง ่
แสดงแล้ว พิจารณาว่าจาเป็ นควรรู ้ หรือนา
่ งห้
สิงทั ้ าของไม้มาอุปมาสังสอนแก่
่ พระผู เ้ ข้า
มาบวชว่า
้ อเสี
1. ลาภสักการะรวมทังชื ่ ยง เหมือนกิงไม้

ใบไม้
2. ความถึงพร ้อมสมบู รณ์ดว้ ยศีล เหมือน
สะเก็ดไม้
้ั นในสมาธิ
3. ความตงมั ่ บริบูรณ์ เหมือน
เปลือกไม้
4. ญาณทัศนะหรือเกิดปั ญญา เหมือนกระพี ้
ไม้

บัว
วงศ ์ NYMPHAEACEAE
สรรพคุณ
• ดอกบัวสดสีขาวใช้ตม ้ กบั น้ าดืมติ
่ ดต่อก ัน จะมีสรรพคุณ
เป็ นยาบรรเทาอาการอ่อนเพลีย ทาให้สดชืนขึ ่ น ้ และช่วย
ลดอาการใจสัน ่ (ดอก, เกสร, กลีบดอก)
• ช่วยบารุงโลหิต (เม็ดบัว, ใบแก่)
• ช่วยลดความดันโลหิตสู งและลดไขมันในเส้นเลือด ด้วย
การใช้ใบสดหรือแห้งนามาหันเป็ ่ นฝอยต้มกบ ั น้ าพอท่วมจน
เดือดประมาณ 10-15 นาที ใช้ดมคร ื่ ้ั
งละ 1 แก้ว วันละ 3
ครง้ั โดยให้ดมติื่ ดต่อก ันอย่างน้อย 20 วัน และตรวจว ัดความ
ดันเป็ นระยะพร ้อมทังสั้ งเกตอาการ ได้แก่ อาการปวดศีรษะ
เวียนศีรษะ มึนงง ปวดท้ายทอย หากดืมแล้ ่ วความดันโลหิต
ลดลงก็ตอ ่
้ งหมันตรวจว ัดความดันอย่างน้อยเดือนละ 2-3
ครง้ั พร ้อมทังสั
้ งเกตอาการดังกล่าวไปด้วย ถ้าหากพบว่ามี
อาการผิดปกควรรีบไปพบแพทย ์ (ใบ) หรือจะใช้ดบ ี วั
ประมาณ 1.5-6 กร ัม นามาต้มเอาน้ าดืม ่ ก็มส ี รรพคุณช่วย
เสด็จจากสวรรค ์ชนดุ ้ั สต ่
ิ เพือเข้ าสู ่พระครรภ ์
พระมารดา วันทีเสด็ ่ จลงมาบังเกิดนัน ้ คืน
้ พระนางสิรม
นัน ิ หามายา พระมารดาทรงมี
พระสุบนิ นิ มติ ว่า พระนางได้เข้าไปอยู ่ในป่ า
หิมพานต ์ ได้มช ี า้ งเผือกเชือกหนึ่ง ลงมาจาก
ยอดเขาสู ง เข้ามาหาพระนางปฐมสมโพธิ
พรรณนาเหตุการณ์ตอนนี ไว้ ้ วา่
“มีเศวตหัตถีชา้ งหนึ่ง...ชูงวงอ ันจับปทุมชาติส ี
ขาว มีเสาวคนธ ์หอมฟุ้ งตรลบ แล้วร ้อง
โกญจนาทเข้ามาในกนกวิมาน แล้วกระทา
ประทักษิณพระองค ์อ ันบรรทมถ้วนครบสามรอบ
แล้ว เหมือนดุจเข้าไปในอุทรประเทศ ฝ่าย
ทักษิณปรเศว ์แห่งพระราชเทวี...”ในขณะนัน ้ ได้
เกิดบุพนิ มต ้ ๓๒ ประการ ประการทีเกี
ิ ขึน ่ ยวกับ

่ าชายสิทธ ัตถะประสู ตท
เมือเจ้ ี่
ิ สวน
ลุมพินี ทรงบ่ายพระพักตร ์ไปทาง
ทิศอุดร และย่างพระบาทไป 7 ก้าว

มีดอกบัวผุดขึนมารองร ับ 7 ดอก
่ าชายสิทธ ัตถะเจริญ
ต่อมาเมือเจ้
พระชนมายุได้ 7 พรรษา พระราช
บิดาโปรดให้ขด ุ สระโบกขรณี 3
สระสาหร ับพระราชโอรสทรงเล่นน้ า โดย
ปลู กอุบลบัวขาวสระหนึ่ ง ปลู กปทุมบัว
หลวงสระหนึ่ ง และปลู กบุณฑริกบัวขาว
อีกสระหนึ่ ง
ซาล , สาละ
วงศ ์ Dipterocarpaceae
่ าเนิ ด พบในประเทศเนปาล และพืนที
ถินก ้ ทาง

เหนื อของประเทศอินเดีย มักขึนเป็ ้ นกลุ่ม ในบริเวณที่
ค่อนข้างจะชุม ้ เป็ นไม้ทอยู
่ ชืน ี่ ่ในวงศ ์ยาง พบมากใน
ลุ่มน้ ายมุนา แถบแคว้นเบงกอลตะว ันตก และแคว้น
อ ัสสัม

สาละเป็ นไม้เนื อแข็ ่ ประโยชน์มาก ชาวอินเดีย
งทีมี
นามาสร ้างบ้านเรือน ต่อเรือ ทาเกวียน ทาไม้หมอน
รถไฟ ทาสะพาน รวมถึงทาเฟอร ์นิ เจอร ์เครืองใช้ ่ เช่น
โต๊ะ เก้าอี ้ เป็ นต้น ส่วนเมล็ดนามาใช้เป็ นอาหารสัตว ์
และน้ ามันทีได้ ่ จากเมล็ดนามาทาอาหาร เช่น ทาเนย
และใช้เป็ นน้ ามันตะเกียง รวมทังใช้ ้ ทาสบู ่ดว้ ย
สรรพคุณด้านสมุนไพรของต้นสาละ พบว่ายาง
สามารถใช้เป็ นยาสมานแผล ยาห้ามเลือด ใช้แก้โรค
สาละ และลู กปื นใหญ่ พันธุ ์ไม้ตา ่ งชนิ ดก ัน และมีถนก ิ่ าเนิ ด
พบกระจายอยู ่ห่างไกลต่างทวีปกน ่
ั แต่เข้ามาเกียวข้ องกัน
โดยบังเอิญ เนื่ องจากความเข้าใจผิดในชือเรี ่ ยกขาน
ปั จจุบน ั ความเข้าใจดังกล่าวได้แพร่กระจายออกไปไกล
ดังนัน ้ ผู ท ี่ ยวข้
้ เกี ่ ่
องในเรืองนี ้ าจะช่วยก ันเผยแพร่ความรู ้นี ้
น่

เพือความเข้ ่ กต้อง และตามว ัดต่างๆ ทีปลู
าใจทีถู ่ กต้นลู กปื น
ใหญ่ หรือทีเรี ่ ยกและรู ้จักในชือ ่ สาละลังกา เป็ นพันธุ ์ไม้ท ี่
มิได้เกียวข้่ องใดใดก ับพุทธประว ัติ อาจเปลียนป้ ่ ่
ายทีบรรยาย
ว่าเป็ นพันธุ ์ไม้จากทวีปอเมริกาใต้ มีชอพ้ ื่ องก ับสาละอินเดีย
่ นวิทยาทานแก่บุคคลทัวไป
เพือเป็ ่ หรืออาจเสาะหา สาละ
(Shorea robusta C.F. Gaertn.) มาปลู กเปรียบเทียบด้วย เพือ ่
ก่อให้เกิดความเข้าใจทีถู ่ กต้องแก่สาธารณชนผู พ ้ บเห็น
สุดท้ายนี ้ ท่านผู ใ้ ดทีมี ่ ตน ่
้ สาละ น่ าทีจะน าไปถวายว ัด
เพือปลู่ กเป็ นต้นไม้แห่งความรู ้ทีเป็ ่ นวิทยาทานทีถู ่ กต้อง
ต่อไป น่ าจะเป็ นกุศล และเป็ นประโยชน์ไม่น้อย
วงศ ์ (พิมพ ์ ธมฺมธโร) วัดพระศรีมหาธาตุ วรมหาวิหาร
เขตบางเขน กรุงเทพมหานคร โดยปลู กไว้ทหน้ ี่ าพระ
อุโบสถ 2 ต้น กับได้น้อมเกล้าถวายพระบาทสมเด็จพระ

เจ้าอยู ่หวั เมือวันที ่ 2 ธ ันวาคม 2510 อีก 2 ต้น ใน
จานวนนี ได้ ้ ทรงปลู กไว้ในพระตาหนักจิตรลดารโหฐาน
1 ต้น กับทรงมอบให้วท ิ ยาลัยเผยแพร่พระพุทธศาสนา
ต.กระทิงลาย อ.บางละมุง จ.ชลบุร ี อีก 1 ต้น
อาจารย ์เคียน้ เอียดแก้ว และอาจารย ์เฉลิม
มหิทธิกล ุ ก็ได้นาต้นสาละใหญ่มาปลู กไว้ในบริเวณ
คณะวนศาสตร ์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร ์ เขต
บางเขน กรุงเทพมหานคร และทีค่ ่ ายพักนิ สต ิ วน
ศาสตร ์ สวนสักแม่หวด อ.งาว จ.ลาปาง
พระพุทธทาสภิกขุ ก็ได้นามาปลู กไว้ทสวนโมก ี่
ขพลาราม อ.ไชยา จ.สุราษฎร ์ธานี และนายสวัสดิ ์ นิ ช
ร ัตน์ ผู อ
้ านวยการกองบารุง ก็ได้นามาปลู กไว้ในสวน
่ ดเบญจมบพิตร เป็ นต้นทีในหลวง
ต้นสาละทีวั ่
ก่อนพุทธศ ักราช 80 ปี พระพุทธมารดาคือพระนางสิรม ิ หา
มายา ทรงครรภ ์ใกล้ครบกาหนดพระสู ตก ิ าร จึงเสด็จออก

จากกรุงกบิลพัสดุ ์ เพือไปมี พระสู ตก
ิ าร ณ กรุงเทวทหะ อ ัน
เป็ นเมืองต้นตระกูลของพระนาง ตามธรรมเนี ยมประเพณี

พราหมณ์ (ทีการคลอดบุ ตร ฝ่ายหญิงจะต้องกลับไปคลอด
่ านพ่อ-แม่ของฝ่ายหญิง) เมือขบวนเสด็
ทีบ้ ่ ่
จมาถึงครึงทาง
ระหว่างกรุงกบิลพัสดุ ์กับกรุงเทวทหะ ณ ทีตรงนั ่ ้
นเป็ นสวน
ื่ า "สวนลุมพินีว ัน" เป็ นสวนป่ าไม้ "สาละใหญ่"
มีชอว่
พระนางได้ทรงหยุดพักอิรย ิ าบท (ปั จจุบน
ั คือตาบล
"รุมมินเด" แขวงเปชวาร ์ ประเทศเนปาล) พระนางประ

ทับยืนชูพระหัตถ ์ขึนเหนี ่ ยวกิงสาละใหญ่
่ และขณะนัน ้
เองก็รู ้สึกประชวรพระครรภ ์ และได้ประสู ตพ ิ ระสิทธ ัตถะ

กุมาร ซึงตรงก ับว ันศุกร ์ ว ันเพ็ญเดือน 6 ปี จอ ก่อน
พุทธศ ักราช 80 ปี คาว่า "สิทธ ัตถะ" แปลว่า
"สมปรารถนา"
นิ พพาน
เมือมี่ พระชนมายุครบ 80 พรรษา พระพุทธเจ้า
พร ้อมด้วยพระภิกษุสงฆ ์สาวก ได้เสด็จถึงเขตเมือง
กุสน ิ าราของมัลละกษัตริย ์ ใกล้ฝ่ ั งแม่น้ าหิร ัญวดี

เป็ นเวลาใกล้คาของวันเพ็ ญเดือน 6 วันสุดท้าย
ก่อนการกาเนิ ดพุทธศ ักราช ได้ประทับในบริเวณ
สาลวโณทยาน พระองค ์ทรงเหน็ ดเหนื่อยมาก จึงมี
่ พระอานนท ์ซึงเป็
ร ับสังให้ ่ น

องค ์อุปัฏฐากปู ลาดพระทีบรรทม โดยหัน
พระเศียรไปทางทิศเหนื อ ระหว่างต้นสาละ
ใหญ่ 2 ต้น แล้วพระองค ์ก็ทรงเอนพระวรกาย
ลง ประทับไสยาสน์แบบสีหไสยาเป็ นอนุ ฏฐาน
ไสยา คือการนอนครงสุ ้ั ดท้าย โดยพระปร ัศว ์

เบืองขวา (นอนตะแคงขวาพระบาทข้าสู ่
หว้า ต้นไม้แห่งปฐมฌานของ
เจ้าชายสิทธ ัตถะ
(L.) Skeels
อยู ่ในวงศ ์ Myrtaceae เป็ นไม้ยน
ื ต้นขนาดใหญ่ สู ง
ราว 10-30 เมตร ลาต้นเปลาตรง เปลือกต้นสีเทา
อ่อน เรือนยอดเป็ นทรงพุ่มกลมหนาทึบ ใบเป็ นใบ
่ รู ป รี ออกตรงข้าม ขอบใบเรียบ ผิวใบเป็ น
เดียว

มัน เมือใบอ่ อนจะมีสแ ่
ี ดงอ่อนๆ และเมือแก่ จะมีส ี
เขียวเข้ม

ดอกมีสข ี าวหรือเหลืองอ่อน ออกเป็ นช่อตาม


ซอกใบหรือปลายยอด ผลรู ป รีแกมรู ปไข่ ผลอ่อน

สีเขียว และค่อยๆ เปลียนเป็ นสีชมพู แดง ม่วง จน
แก่จ ัดจะเป็ นสีดา มีเมล็ด 1 เมล็ด สรรพคุณทาง
พืชสมุนไพรของหว้า ได้แก่ เปลือกใช้แก้โรคบิด
โรคปากเปื่ อย ผลดิบแก้ทอ ้ งเสีย ผลสุกเป็ นผลไม้
สมโพธิซงึ่ สมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ สมเด็จ
พระสังฆราช (สา ปุ สฺสเทโว) สมเด็จพระสังฆราช
พระองค ์ที่ ๙ แห่งกรุงร ัตนโกสินทร ์ ได้ทรงเรียบ
เรียงขึน้ ความว่า
เจ้าชายสิทธ ัตถะ ขณะมีพระชนมายุ ๗ ปี ได้
เสด็จฯ ไปพร ้อมก ับพระเจ้าสุทโธทนะ พระราช
บิดา ในพระราชพิธจ ี รดพระนังคัลแรกนาขวัญ
เจ้าชายประทับนั่งอยู ่ใต้รม ่
่ ไม้หว้า ซึงบรรดาพี ่

เลียงและบริ วารได้จด ่
ั ถวาย และเมือเห็ นว่าภายใต้
้ มรืน
ร่มไม้หว้านี ร่ ่ ปลอดภัย บรรดาพีเลี ่ ยงและ


บริวารก็เลียงไปดู พระราชพิธแ ี รกนา
่ าชายสิทธ ัตถะประทับนั่งขัดสมาธิอยู ่
ขณะทีเจ้
เพียงลาพังภายใต้รม ้ ทรงเกิดความ
่ ไม้หว้านัน

แม้เวลาบ่ายคล้อยแล้ว แต่เงาไม้ม ิ

ได้เคลือนตามกาล ี่ มดุจ
ยังคงอยู ่ทเดิ

เวลาเทียงวั น ผู ค
้ นต่างเห็นเป็ น
้ั
อ ัศจรรย ์ ครนพระเจ้ าสุทโธทนะทรง
ทราบและทอดพระเนตรเห็นดังนัน ้
ก็เกิดความอัศจรรย ์ในพระทัย

ถึงกับเกิดความเลือมใส
ก้มลงกราบพระโอรสเพือบู ่ ชาคุณ
ธรรมทางบุญฤทธิปาฏิ ์ หาริย ์
หญ้าแพรก
จัดอยู ่ในวงศ ์หญ้า (POACEAE หรือ GRAMINEAE)
สมุนไพรหญ้าแพรก มีชอท้ ื่ องถินอื
่ น ่ ๆ ว่า หญ้าแผด
(ภาคเหนื อ), หญ้าเป็ ด (ภาคตะว ันตกเฉี ยงเหนื อ), หนอเก่เค

(กะเหรียง-แม่ ฮ่องสอน), ทิซวเช่่ ั า (จีน), สทฺทล (สัด-ทะ-ละ)
, สทฺทโล (สัด-ทะ-โล) , หริต (หะ-ริ-ตะ)
สรรพคุณ
• รากและลาต้นมีสรรพคุณเป็ นยาขับปั สสาวะ ด้วยการ
นามาต้มก ับน้ ากินเป็ นยา (ลาต้น,ราก,ทังต้ ้ น) ช่วยแก้นิ่ว
ในกระเพาะปั สสาวะ (ราก)
• รากใช้เป็ นยาแก้ซฟ ิ ิ ลิสในระยะออกดอก (ราก)
• ช่วยแก้รด ิ สีดวงทวาร (ลาต้น,ทังต้ ้ น) แก้รด ิ สีดวงทวารมี
เลือดออก (ราก)
้ นใช้ตม
• ทังต้ ้ ก ับน้ ากินเป็ นยาแก้ตกโลหิตระดู มากเกินไป
ของสตรี (ทังต้ ้ น)
• ช่วยแก้อาการบวมน้ า (ลาต้น,ราก,ทังต้ ้ น)
• ใช้เป็ นยาห้ามเลือด ด้วยการใช้ลาต้นสดนามาตาแล้ว
พอกบริเวณทีเป็ ่ น (ลาต้น,ทังต้ ้ น)
ในพุทธประวัตก
ิ ล่าวว่า
ทรงมีพระสุบน ิ อนั เป็ นนิ มต
ิ 5 ประการคือ
ในพระสุบน ิ ที่ 2 หญ้าแพรก (บางทีว่่ า
เป็ นหญ้ากุศะ หรือหญ้าคา) งอกออกมาจาก
พระนาภี แล้วเติบใหญ่ไปสู ่ทอ ้ งฟ้า อน
ั เป็ น
นิ มต ่
ิ ว่า เมือพระ
องค ์ตร ัสรู ้แล้ว จะได้

ทรงสังสอนพระธรรม
แก่เทวดาและมนุ ษย ์

ทังหลาย
ต้นโพธิ ์
่ ทยาศาสตร ์ Ficus religiosa L.
ชือวิ
วงศ ์ Moraceae โพ, โพธิ ์ (อ ัสสัตถพฤกษ ์)
ลักษณะ ไม้ตน ้ มีขนาดใหญ่ โพธิ ์ มีหลายชนิ ด
โพศรีมหาโพธิ หมายถึง ต้นโพธิที ์ พระพุ
่ ทธเจ้า
ประทับและตร ัสรู ้ คาว่าโพธิ มิได้เป็ นชือของไม้ ่ ชนิ ด
ใดชนิ ดหนึ่ง แต่เป็ นชือเรี ่ ยกต้นไม้ทพระสั ี่ มมาสัม
พุทธเจ้าแต่ละองค ์ประทับใต้ตน ้ ไม้ตน ้
้ นันๆและได้
ตร ัสรู ้
โพธิ ์ แปลว่า เป็ นทีรู่ ้ เป็ นทีตร
่ ัสรู ้ โพธิรุกข หมายถึง
ศาสนา
เป็ นต้นโพธิตร์ ัสรู ้ทีเป็
่ นหน่ อของต้นเดิมที่
พระพุทธเจ้าประทับนั่งใต้รม ่ เงาได้ตร ัสรู ้ ได้
นาเมล็ดไปปลู กเป็ นต้นแรกในสมัยพุทธกาล
โดยพระอานนท ์เป็ นผู ด ่
้ าเนิ นการปลู กทีประตู
วัดพระเชตวันมหาวิหาร พระนครสาวัตถี
แคว้นโกศล ต้นโพธินั ์ นเรี
้ ยกว่า อานันทมหา
โพธิ ์ ทุกวันนี ยั
้ งปรากฏอยู ่ ตอนพระพุทธเจ้า
ตร ัสรู ้ เจ้าชายสิทธ ัตถะ ในระหว่างบาเพ็ญ

พรต เพือหาสั ่
จธรรมได้ประทับนั่งทีโคนต้ น
โพธิ ์ ณ ริมฝั่ งแม่น้ าเนร ัญชรา ตาบลอุรุเวลา
เสนานิ คม แคว้นมคธ ในวันเพ็ญเดือน ๖ ก่อน
่ ยสัจ 4 ประกอบด้วย ทุกข ์ สมุทย
ซึงอริ ั นิ โรธ มรรค

เมือวันเพ็ ญเดือน 6 หลัง หลังจากพระพุทธองค ์ได้
ตร ัสรู ้แล้ว แต่กย ็ งั ต้องทาจิตให้แน่ วแน่ ตงมั ้ั นยิ
่ งขึ
่ น้
จนกิเลสมิอาจรบกวน พระองค ์ทรงประทับอยู ่ใต้น
ต้นโพธิอก ี เป็ นเวลา 7 วัน และกล่าวกันว่า ต้นพระ
ศรีมหโพธิ ทีพระพุ ่ ทธองค ์ประทับจนตร ัสรู ้นัน ้ ได้ถูก
ประชาชนผู น ้ บ ั ถือศาสนาอืนๆ ่ โค่นทาลาย แต่ดว้ ย
บุญญาภินิหาร เมือน ่ านมโคไปรดทีรากจึ ่ งมีแขนง
แตกขึนใหม่้ และมีชวี ต ิ อยู ่มานานและค่อยๆ ตายไป
แล้วกลับแตกหน่ อขึนมาใหม่ ้ ี ครง้ั
อก
เป็ นโพธิบล ั ลังก ์ คืออาสนะทีประทั ่ บทาความเพียร
ข้าว ชือวิ่ ทยาศาสตร ์ว่า Oryza sativa L. จัดอยู่
ในวงศ ์หญ้า (POACEAE หรือ GRAMINEAE)

ข้าวเป็ นพืชใบเลียงเดี ่
ยวจ ่
าพวกธ ัญพืชทีสามารถกิ น
เมล็ดได้ โดยจะแบ่งออกเป็ น 2 สปี ชีส ์ใหญ่ ๆ คือ Oryza
glaberrima (ปลู กเฉพาะในเขตร ้อนของแอฟ ริกา) และ

Oryza sativa (ปลู กกันทัวโลก) สาหร ับชนิ ด Oryza
sativa ยังแบ่งแยกย่อยออกไปได้อก ี คือ Javanica,
Japonica (ปลู กมากในเขตอบอุน ่ ) และ indica (ปลู ก

ของมนุ ษย ์อย่างมากตังแต่ อดีตจนถึงปั จจุบน
ั โดยเฉพาะ
่ านเราไม่วา
อย่างยิงบ้ ่ ใคร ๆ ก็จะร ับประทานข้าวเป็ นอาหาร
หลัก เพราะเป็ นแหล่งของคาร ์โบไฮเดรตทีให้ ่ พลังงานและ
ความอบอุน ่ นอกจากนี ยั ้ งใช้ทาเป็ นขนมหวานต่าง ๆ ทาปุ๋ ย

ของใช้ ของเล่นต่าง ๆ เครืองประดั บ และใช้เป็ นยาร ักษา
โรคได้อก ี ด้วย
• ช่วยเสริมสร ้างเม็ดเลือดแดง ส่งออกซิเจนในเลือดไปสู ่
อวัยวะต่าง ๆ ของร่างกาย (ธาตุเหล็ก)
• ประโยชน์ของข้าวหอมมะลิ ใยอาหารของข้าวหอมมะลิ
กล้องจะช่วยดู ดซ ับของเสียและสารพิษต่าง ๆ ออกจาก
ร่างกายได้ (ข้าวหอมมะลิกล้อง)
• เส้นใยอาหารของข้าวหอมนิ ลมีส่วนช่วยลดระดบ ั น้ าตาล
ในเลือดได้ (ข้าวหอมนิ ล)
• ช่วยแก้ร ้อนใน กระหายน้ า (น้ าข้าว)
• ช่วยร ักษาอหิวาตกโรค (น้ าข้าว)
• ช่วยแก้อาเจียนเป็ นเลือด (น้ าข้าว)

เมือฤาษีสท
ิ ธ ัตถะเลิกบาเพ็ญทุกข
กริยา นางสุชาดา นาข้าวมธุปายาสมา
้ าเพ็ญเพียรจนบรรลุ
ถวาย จากนันบ
อรหัตถผลเป็ นพระสัมมาสัมพุทธเจ้า
บุตรีมหาเศรษฐีแห่งบ้านเสนานิ คม ก่อนแต่งงานได้ไปบนกบ ั
เทวดาทีต้ ่ นไทรว่า ขอให้ได้แต่งงานก ับชายทีมี ่ สกุลและฐานะ
เสมอกันและได้บุตรคนแรกเป็ นชาย ต่อมานางก็สม
ปรารถนา จึงได้จด ั แจงรีดน้ านมจากแม่โค การรีดนมจากแม่
้ ดง่ ายเกินคาด แม้วา
โคว ันนันรี ่ ลู กโคไม่ได้กน
ิ นมในวน ั นัน ้
่ าภาชนะเข้าไปรอง กลับมีน้ านมไหลออกมาเอง นาง
เมือน
สุชาดาจึงจัดแจงปรุงข้าวมธุปายาสไปแก้ขนทีต้ ่ นไทร นาง
สุชาดาได้พบพระมหาบุราคิดว่าเป็ นเทวดา จึงทาพิธแ ี ก้บน
ถวายภัตตาหารมือแรกที ้ ่
พระองค ์เสวยข้าวมธุปยาส (ข้าว
ทิพย ์) แล้วตร ัสรู ้

ในว ันนันพระมหาบุ รากลับจากเทียวภิ ่ ขาจารแต่เช้าได้
ประดับอยู ่ ณ โคนต้นไทรนัน ้ นางสุชาดาพบเข้าสาคัญว่า
เป็ นเทวดา จึงได้นาข้าวมธุปายาสเข้าไปถวาย เมือพระองค ่ ์
ได้ร ับแล้ว ก็เสด็จขึนท ้ าข้าวมธุปายาสหรือข้าวทิพย ์นันได้ ้
๔๙ ก้อน เสวยเสร็จแล้วทรงลอยถาดทองเสียในแม่น้ า ทรง
ร ับหญ้าคา ๘ กา จากโสตถิยพราหมณ์ แล้วเสด็จขึนโพธิ ้
ต้นไทร หรือ กร่าง (ต้น
นิ โครธ)
“Ficus benghalensis Linn.” อยู ่ในวงศ ์ Moraceae รู ้จักก ันดี
ในภาษาสันสกฤตว่า “บันยัน” (banyan) และในภาษาฮินดู
ว่า “บาร ์คาด” (bargad)
ต้นนิ โครธ มีถนก ิ่ าเนิ ดอยู ่ในประเทศอินเดีย ศรีลงั กา
และปากีสถาน และแพร่กระจายทัวไปในแถบเอเชี่ ย
ตะว ันออกเฉี ยงใต้ เป็ นไม้ยน
ื ต้นขนาดกลางถึงขนาดใหญ่ สู ง
ประมาณ 10-30 เมตร ลาต้นตรงเป็ นพู พอน แตกกิงก้ ่ าน
แน่ นทึบ เรือนยอดแผ่กว้าง มีรากอากาศห้อยลงมาตามกิง่

ก้านและลาต้น ซึงรากอากาศนี ้
สามารถเจริ ญเติบโต เป็ นลา
ต้นต่อไปได้ดว้ ย
ด้วยเหตุท ี่ ต้นนิ โครธเป็ นไม้มงคลอย่างหนึ่ งของฮินดู
และพุทธ ดังนัน ้ จึงมักนิ ยมปลู กไว้ตามศาสนสถาน วด ั วา
อารามต่างๆ และสวนสาธารณะทีมี ่ เนื อที ่
่ างๆ เพือให้
้ กว้ รม


เงาและเพิมความร่ ่
มเย็น เพือใช้ เป็ นทีพั่ กของ
พุทธศาสนิ กชน ตลอดจนเป็ นทีอยู ่ ่อาศ ัยและแหล่งอาหาร
ของนกกาต่างๆ แต่ตามบ้านเรือนและตามชายถนนแล้วไม่
สมุนไพร อาทิ
• ใบและเปลือกใช้แก้โรคท้องเสีย
ท้องร่วง ถ่ายเป็ นมู กเลือด และช่วย
ห้ามเลือด (ในทางอายุรเวชใช้
เปลือกแก้โรคเบาหวาน)
• ยางใช้แก้โรคริดสีดวงทวาร หู ด
• ผลสุกใช้เป็ นยาระบาย

• ส่วนราก ใช้เคียวเพื ่ องกันโรค
อป้
เหงือกบวม แก้ปวดศีรษะ
• น้ าเลียงของกิ
้ ่ ร ักษาโรคตับ
งใช้

นิ กาย พุทธวงศ ์ กัสสปพุทธวงศ ์
กล่าวไว้วา ่ พระพุทธเจ้าองค ์ที่ 27
พระนามว่า พระกัสสปพุทธเจ้า
ทรงบาเพ็ญเพียรอยู ่ 7 วัน จึงได้
ประทับตร ัสรู ้ ณ ควงไม้
นิ โครธ เป็ นต้นไทรชนิ ดใบกลม
อยู ท ่ างทิศตะวันออกของต้นศรี
มหาโพธิ
และอีกหนึ่งตอนคือ พระพุทธเจ้า
ทรงร ับ
ข้าวมธุปายาสจากนางสุชาดา

เมือพระพุ ทธองค ์ได้ทรงบาเพ็ญ
ต้นจิก ไม้
พญานาค
แต่จะผลิใบใหม่ได้รวดเร็ว สู งราว 5-15 เมตร ชือ
วิทยาศาสตร ์ Barringtonia acutangula วงศ ์
่ั
Barringtoniaceae มีทวไปทางภาคตะวั นออกและ
ภาคกลางของประเทศอินเดีย ตลอดลังกาจนถึง
ย่านเอเชียตะวน ั ออกเฉี ยงใต้ สาหร ับในประเทศ
ไทยก็มข ึ้
ี นอยู ่ั
่ทวประเทศ ่
ในทีราบลุ ่มตามห้วย
หนอง แม่น้ า มีหลายชนิ ด เช่น จิกน้ า จิกบก จิก
นา จิกบ้านหรือจิกสวน และจิกเล เป็ นต้น
สรรพคุณด้านพืชสมุนไพรนัน ้ ใบอ่อนหรือ
ยอดอ่อนของจิก ร ับประทานได้ มีรสฝาดเล็กน้อย
ใบแก่ แก้โรคท้องร่วง ราก ใช้เป็ นสมุนไพรแก้
โรคลมต่างๆ เช่น ลมอืดแน่ นในท้อง ส่วนเมล็ด
ใช้เป็ นยาแก้ไอ แก้อาการจุกเสียด เป็ นต้น ไม้
พญานาคนี ส่ ้ วนใหญ่นิยมปลู กเป็ นไม้ประดบ ั
ประทับใต้ตน ้ จิกอีก 7 วัน ในขณะทีประทั่ บใต้
ต้นจิกนี ้ ได้มฝ
ี นตกหนัก อากาศหนาวจัดมาก
มีพญานาคชือ ่ “พญามุจลินท ์” เห็นพระพุทธ
องค ์

แล้วเกิดความเลือมใสศร ัทธาเกรงว่าพระพุทธ
องค ์จะลาบากและทรมานจึงทาขดล้อมพระ
วรกายของพระพุทธเจ้าไว้ 7 รอบ และแผ่
พังพานปกคลุมพระเศียร ดู คล้ายกับเป็ น
เศวตฉัตรช่วยกันฝนและช่วยให้บริเวณนันอุ ้ น


ขึน
ด้วยเหตุนี้ ต่อมาเมือมี
่ ผูค ้ ด
ิ ประดิษฐ ์

พระพุทธรู ปขึนภายหลั ง จึงได้ประดิษฐ ์
้ ้
สีเสียดเหนื อ
จัดอยู ่ในวงศ ์ถัว (FABACEAE หรือ LEGUMINOSAE)
และอยู ่ในวงศ ์ย่อยสีเสียด (MIMOSOIDEAE หรือ
MIMOSACEAE)
ื่ องถินอื
สมุนไพรสีเสียดเหนื อ มีชอท้ ่ น่ ๆ ว่า
สีเสียดเหลือง (เชียงใหม่), สีเสียดแก่น (ราชบุร)ี ,
้ ยด (ภาคเหนื อ), สีเสียดเหนื อ (ภาค
สีเสียด ขีเสี

กลาง), สะเจ (เงียว-แม่ ฮ่องสอน), สีเสียดลาว (ลาว),
สีเสียดหลวง, สีเสียดไทย เป็ นต้น
ิ่ าเนิ ดดงเดิ
ต้นสีเสียดเหนื อ มีถนก ้ั มอยู ่ใน
ประเทศอินเดียตะวันตกของปากีสถานจนถึงพม่า
จัดเป็ นไม้ยนื ต้นผลัดใบขนาดเล็กถึงขนาดกลาง มี
ความสู งของต้นได้ประมาณ 10-15 เมตร เปลือกลา
ต้นเป็ นสีเทาอมดาหรือสีเทาเข้ม แตกเป็ นสะเก็ด
ตามยาว ผิวเปลือกค่อนข้างขรุขระ และสามารถ
ลอกเปลือกผิวออกมาได้เป็ นแผ่น ๆ เปลือกข้างใน
• เปลือกต้นใช้ผสมก ับสมุนไพรชนิ ดอืน ่ ปรุงเป็ นยาแก้ธาตุ
พิการ (เปลือกต้น) ใช้เป็ นยาบารุงธาตุและแก้อติสาร (ก้อน
สีเสียด)
• ก้อนสีเสียดและเปลือกต้นสีเสียด มีสรรพคุณช่วยปิ ดธาตุ
คุมธาตุ แก้อาการลงแดง (เปลือกต้น, ก้อนสีเสียด)
• ใช้เป็ นยาแก้ไข้จบ
ั สัน่ แก้อาการไอ (ก้อนสีเสียด)

• ช่วยแก้ปากเป็ นแผล ช่วยห้ามเลือดทีออกจากจมู ก
รวมถึงอาการเจ็บทีมี ่ เลือดออก (ก้อนสีเสียด)
• ใช้ร ักษาเหงือก ลิน้ และฟั น และช่วยร ักษาแผลในลาคอ
(ก้อนสีเสียด)
• ช่วยแก้อาการท้องเสียเรือร ้ ัง ลาไส้อ ักเสบ (ก้อนสีเสียด)
• เปลือกต้นมีสรรพคุณเป็ นยาแก้บด ิ หรือใช้ผสมกับ
สมุนไพรชนิ ดอืน ่ ๆ เป็ นยาแก้บด ิ (เปลือกต้น) ส่วนสีเสียดมี
สรรพคุณเป็ นยาแก้บด ิ มู กเลือด (ก้อนสีเสียด)
• ใช้ร ักษาริดสีดวง (ก้อนสีเสียด)

ความเกียวเนื ่ องก ับพระพุทธศาสนา

– เมือพระพุ ทธองค ์สาเร็จพระสัม
สัมโพธิญาณได้ 8 พรรษา ได้เสด็จ
ประทับ ณ “ภู สกภวัน” คือ ป่ าไม้สเี สียด
ใกล้สุงสุมารคีรใี นภัคคฏฐี
มะม่วง
มะม่วง ชือสามัญ Mango
่ ทยาศาสตร ์ Mangifera indica L.
มะม่วง ชือวิ
จัดอยู ่ในวงศ ์มะม่วง (ANACARDIACEAE)
มะม่วงจัดเป็ นไม้ยน ่ ตน
ื ต้นทีมี ้ กาเนิ ดใน
ประเทศอินเดีย และถือว่าเป็ นผลไม้ประจาชาติ
ของประเทศอินเดีย ในบ้านเรานันมะม่ ้ วงจัดเป็ น
ผลไม้เศรษฐกิจซึงส่ ่ งออกเป็ นอ ันด ับ 3 ของโลก

ประโยชน์ของมะม่วงทีเราเห็ นเป็ นประจาก็คง
จะไม่พน ้ การนามาร ับประทานเป็ นผลไม้สดทังดิ ้ บ
และสุก หรือมีการไปทาเป็ นอาหารว่างต่าง ๆ ไม่
ว่าจะเป็ น มะม่วงกวน มะม่วงแก้ว มะม่วงแช่อม ิ่
มะม่วงน้ าปลาหวาน ข้าวเหนี ยวมะม่วง พาย
มะม่วง และนาไปใช้ประกอบอาหาร เช่น ใส่
น้ าพริก ยา ส้มตา ส่วนยอดอ่อนหรือผลอ่อนก็
สดชืนมีชวี ต ิ ชีวาได้เหมือนกัน
• มะม่วงมีวต
ิ ามินซีสูง จึงช่วยต้านอนุ มูลอิสระได้เป็ น
อย่างดี
• มะม่วงมีวติ ามินเอ วิตามินซี ซึงมี่ ส่วนช่วยบารุง
ผิวพรรณให้เปล่งปลังสดใส ่
• ช่วยบารุงและร ักษาสายตา เพราะอุดมไปด้วยวิตามิน
เอและเบตาแคโรทีน
เป็ นผลไม้ทมีี่ ส่วนช่วยบารุงร่างกาย
• ผลมะม่วงดิบมีวต ิ ามินซีสูง จึงช่วยป้ องกันและร ักษา
โรคเลือดออกตามไรฟั น
• มีส่วนช่วยต่อต้านการเกิดโรคมะเร็งเต้านมและมะเร็ง
ลาไส้ รวมไปถึงต่อมลู กหมาก มะเร็งปอด มะเร็งเม็ด
เลือด โรคมะเร็งผิวหนัง เป็ นต้น
• ช่วยเยียวยาและร ักษาโรคเบาหวาน ด้วยการใช้ใบ
มะม่วงประมาณ 15 ใบ นามาล้างให้สะอาด แล้วนามา
้ ่
พระพุทธองค ์อยู ่ หลายครง้ั
้ั
ครงแรก ่
เมือพระพุ ทธองค ์ทรงปราบชฎิลดาบส หรือฤาษี
่ ไปก่อน
พระดาบสการาบทู ลนิ มนต ์ภัตตกิจ พระองค ์ร ับสังให้

แล้วทรงเหาะไปเก็บผลมะม่วง ผลหว้า ทีเขาหิ มาลัย แต่กลับ
เสด็จไปถึงโรงไฟก่อนพระฤาษี

พระสาวก นาพระพุทธองค ์ไปพบหมอชีวก โกมารภัจจ ์ ที่



สวนมะม่วง ซึงสวนนี ้ พระเจ้าพิมพิสารพระราชทานให้หมอ
ชีวก กาลต่อมา หมอชีวกได้ถวายเป็ นวัดสาหร ับพระพุทธ
องค ์และพระสงฆ ์

มี “นครโสเภณี ” (หญิงผู ย
้ งั พระนครให้งาม) หรือหญิงงาม
เมืองนางหนึ่ ง ชืออ
่ ัมพปาลี เมืองไพศาลี แคว้นวัชชี มีความ

เลือมใสในพระศาสนา ได้ถวายสวนมะม่วงของเธอให้เป็ นว ัด

ทีประทั ่ ่ของสงฆ ์ (นางเป็ นนครโสเภณี คนแรกที่
บและทีอยู
สร ้างว ัดถวายพระพุทธองค ์ บางทีว่่ านางถวายสวนในช่วง
ื่ ยกอีกชือว่
สวนมะม่วง อ ันเป็ นว ัดในพระศาสนามีชอเรี ่ า
“สวนอ ัมพวนาราม” หรือ “อ ัมพวัน” เนื่ องจากมีหลายผู ้
ื่ าของสวนไว้นาหน้า เช่น สวนมะม่วง
ถวาย จึงมักใส่ชอเจ้
ของหมอชีวก เรียก “ชีวกัมพวัน” สวนทีนางอ ่ ัมพปาลีถวาย

นันเรี
ยกว่า “สวนอ ัมพปาลีวน ั ”

้ั
อีกครงหนึ ่ งคือ ครงเมื
้ั อพระองค
่ ์อยู ่ในเมืองสาวีตถี แคว้น
โกศล ในวันเพ็ญกลางเดือน 8 ก่อนว ันเข้าพรรษาหนึ่ งว ัน

พวกเดียรถีย ์ท้าพระพุทธเจ้าแข่งปฏิหาริย ์ทีโคนต้ น
มะม่วง เดียรถีย ์ให้สาวกไปโค่นต้นมะม่วงเสีย แต่พระพุทธ
องค ์ก็ทรงแสดงปาฏิหาริย ์จนได้

โดยมีผูน ้ าผลมะม่วงสุกมาถวาย เมือฉั่ นเสร็จแล้ว ทรงมี


่ ปลู กเมล็ดลงดิน ทรงใช้น้ าทีล้
ร ับสังให้ ่ างพระหัตถ ์รด ต้น
่ านไปสู งถึง 50 ศอก จน
มะม่วงเติบโตอย่างรวดเร็ว แตกกิงก้

พระองค ์ทรงแสดงยมกปาฏิหาริย ์ทีโคนต้ นมะม่วงได้
จันทร ์แดง
่ ทยาศาสตร ์: Pterocarpus santalinus
ชือวิ
ไม้ในสกุล “Pterocarpus” ได้แก่พวกประดู ่ ประดู ป ่ ่า
จันทน์แดงเป็ นไม้ยน ื ต้นขนาดกลาง เปลือกต้นสี
น้ าตาลดา ยางสีแดงเข้ม ใบประกอบ ไม่มห ี ูใบ ก้านใบมี

ขนนุ่ ม เนื อใบคล้ายแผ่นหนัง ดอกช่อ สีเหลือง ผลรู ป
กลมแบนมีปีก เมล็ดเกลียง ้ สีน้ าตาลแดง พบเฉพาะใน
ร ัฐอานธรประเทศ และบริเวณใกล้เคียงเมืองมัทราสและ
ไมซอร ์ ปัจจุบนั เป็ นพืชปลู กในศรีลงั กา อินเดีย
ฟิ ลิปปิ นส ์
คุณค่าทางยา
จันทน์แดงใช้เป็ นยาร ักษาได้หลายอย่าง เช่น แก้อ ักเสบ
โรคบิด ตกเลือด บารุงกาลัง เป็ นต้น แก่นจันทน์แดง มี
สารสีแดงหลายชนิ ดเป็ นองค ์ประกอบ เช่น วานทาลินเอ
วานทาลินบี ไอโซบเทอโรคาร ์โพโลน เทอโรคาร ์ปไทร
ออล ไอโซปเทอร ์โรคาร ์พีนเทอร ์โรคาร ์พอล เทอร ์
พระพุทธศาสนา
กล่าวว่า มีเศรษฐีในกรุงราชคฤห ์ ได้
ปุ่ มไม้จน
ั ทน์แดงจึงนามาทาเป็ นบาตร
แล้วนาไปแขวนไว้บนยอดเสาซึงท ่ าขึน

จากไม้ไผ่ตอ ่ ๆ ก ันจนสู งถึง 60 ศอก และ
ประกาศว่าผู ใ้ ดสามารถเหาะมาเอา
บาตรไปได้ จะเชือว่ ่ าท่านผู น ้ั
้ นเป็ นองค ์
อรหันต ์ พระปิ ณโฑลภารทวาชเถระได้
แสดงปาฏิหาริย ์ไปนาเอาบาตรมาได้
ความทราบถึงพระพุทธเจ้า ทรงตาหนิ
ในการกระทาเช่นนันแล้ ้ วทาลายบาตร

หญ้ากุศะ
หญ้ากุศะ ชือสามั
่ ญ Kush, Kusha grass, Halfa
grass, Big cordgrass, Salt reed-grass
่ ทยาศาสตร ์ Desmostachya bipinnata L.
ชือวิ
จัดอยู ่ในวงศ ์หญ้า (POACEAE หรือ GRAMINEAE)
มีถนกิ่ าเนิ ดในประเทศเนปาลและอินเดีย นอกจากนียั ้ งยัง
ื่ นซึ
มีชออื ่ งเป็
่ นภาษาบาลีอก ี ว่า กสะ (กะสะ), กุส (กุสะ), กุโส,
พริหส ิ (พะ-ริ-หิ-สะ), ทพฺภ (ทับ-พะ) เป็ นต้น ส่วน กุศะ หรือ

หญ้ากุศะ นันเป็ ่ ยกของไทย บ้างก็เรียกว่า “หญ้ากุสะ“
นชือเรี
สรรพคุณของหญ้ากุศะ
• รากมีรสหวานเป็ นยาเย็น ช่วยแก้อาการกระหายน้ า (ราก)
้ น)
• ช่วยขับเสมหะ (ทังต้
้ น)
• ใช้เป็ นยาขับปั สสาวะ (ทังต้
้ นใช้เป็ นยาฝาดสมาน (ทังต้
• ทังต้ ้ น)
พระภิกษุในพุทธศาสนาจะนิ ยม
ใช้แกนก้านหรือสันใบของหญ้า
่ จ ัด นามาใช้ทาเป็ น “กาคา” ทีใช้
กุศะทีแก่ ่ สาหร ับ
่ ลงในน้ าพระพุทธมนต ์ แล้วนาขึนประให้
จุม ้ น้ าทีอยู
่ ่

ติดกับ “กาคา” นันกระจายออกไปยั งตัวบุคคล
สถานที่ หรือวัตถุตา ่
่ ง ๆ เพือประสงค ์ให้เกิดความสิร ิ
มงคล หรือทีเรี่ ยกว่า “ประพรมน้ าพระพุทธมนต ์” ซึง่
วิธกี ารทา “กาคา” ก็ให้ใช้แกนก้านหรือสันใบของ
หญ้ากุศะแก่จ ัด นามาต ัดให้เหนื อโคนใบขึนมาเพี ้ ยง
เล็กน้อยแล้วนามารู ดออก ก็จะเหลือแกนก้านที่
ค่อนข้างแข็งแรง หลังจากนันก็ ้ ให้นามาผึงแดดพอ ่
ให้คายน้ าเพือป้
่ องกันไม่ให้เน่ าหรือขึนรา ้ แล้วนาไป
่ อในทีร่
ผึงต่ ่ มให้แห้งสนิ ท เมือแกนหญ้
่ ากุศะแห้งดี
แล้วก็ให้ค ัดขนาดของก้านทีอวบ ่ ไม่มต ี าหนิ และ

ความเกียวเนื ่ องก ับพระพุทธศาสนา
หญ้ากุศะ เป็ นหญ้าทีมี ่ ความสาค ัญต่อ
พระพุทธศาสนามาก โดยถือกันว่าเป็ นหญ้า
์ ทธิ ์ โดยปรากฏในพุทธประวัติวา
ศ ักดิสิ ่ ในช่วงวัน

ก่อนทีพระพุ ทธเจ้าจะตร ัสรู ้ เจ้าชายสิทธ ัตถะได้ร ับ
ถวายหญ้าชนิ ดนี จ ้ านวน 8 กามือจากพราหมณ์
โสตถิยะ และเจ้าชายสิทธ ัตถะก็ได้นาหญ้ากุศะมาปู
รองนั่ง เป็ นพุทธบัลลังก ์ในวันทีพระองค
่ ์ตร ัสรู ้ จึง
ทาให้ชาวพุทธถือว่าหญ้ากุศะนี มี ้ ความสาคัญ

นาเต้า
น้ าเต้า มีชอวิ
ื่ ทยาศาสตร ์ว่า Lagenaria siceraria
Stand L. อยู ่ในวงศ ์ Cucurbitaceae เป็ นไม้เถาล้มลุก
ขนาดใหญ่ ลาต้นเป็ นเหลียม ่ เมือเถาอ่
่ อนจะมีสเี ขียว

อมเหลือง และเมือเถาแก่ ่
จะมีสเี ทา ใบเป็ นใบเดียวรู ป
หัวใจกว้าง 10-25 เซนติเมตร ออกเรียงสลับ ขอบใบ
หยัก ดอกเป็ นดอกเดียว ่ ขนาดใหญ่ สีขาว มี 5 กลีบ
ออกตามซอกใบ มีกา้ นช่อดอกยาว
สรรพคุณทางพืชสมุนไพรของน้ าเต้า
แก้ต ัวร ้อน แก้ร ้อนในกระหายน้ า แก้เริม เบาหวาน
แก้นิ่ว ขับปั สสาวะ ปอดอ ักเสบ ลดกรดในกระเพาะ
อาหาร บรรเทาอาการอาหารไม่ย่อย แผลใน
กระเพาะอาหาร และความดันโลหิต เป็ นต้น

ผลน้ าเต้านันเมื
้ ่
อแก่ ้
และขูดเนื อในออกหมดแล้

ใช้กระโหลกน้ าเต้าเทียวบิ
่ ณฑบาต ชาวบ้านเพ่ง
โทษ ติเตียน โพนทะนาว่าเหมือนพวกเดียรถีย ์

เมือความทราบถึ งพระพุทธองค ์ จึงทรงตร ัสเพือ ่
บัญญัตเิ ป็ นพระวินย ่
ั เรืองบาตรส าหร ับภิกษุไว้ว่า
้ั
“ดู กรภิกษุทงหลาย ภิกษุไม่พงึ ใช้กระโหลกน้ าเต้า

เทียวบิณฑบาต รู ปใดใช้ ต้องอาบัตท ิ ุกกฏฯ”

ใน โพธิราชกุมารสู ตร พระพุทธองค ์ได ้ตร ัสกับโพธิ



ราชกุมาร ถึงเมือคร ้ั
งทรงบ าเพ็ญทุกรกิรยิ า โดยเปรียบพระ
เศียรของพระองค ์ว่า

“...ผิวศีรษะของอาตมภาพทีร่ ับสัมผัสอยู ่ก็



เหียวแห้ ง ดุจดังผลน้ าเต้าทีตั
่ ดมาสดๆ อน
ั ลม

ตาล ทีมาของตาลปั ตร
วิทยาศาสตร ์ว่า Borassus flabellifer Linn. อยู ่ในวงศ ์
ื่ นเมื
Palamae มีชอพื ้ ่ ยกต่างก ันไปในแต่ละท้องถิน
องทีเรี ่
ของไทย เช่น ตาลโตนด, ตาลใหญ่, ตาลนา
ประโยชน์ของต้นตาล
• ลาต้น ใช้ในการก่อสร ้าง ทาเครืองเรื่ ่
อนเครืองใช้ ตา
่ งๆ
และใช้ทาเรือขุด ทีเรี ่ ยกว่าเรืออีโปง
• ใบอ่อน ใช้ในการจักสาน เช่น ทาหมวก ทาของเล่นเด็ก
, ส่วนใบแก่ ใช้มุงหลังคา ทาพัด
• ราก ใช้ตม ้ กินแก้โรคตานขโมย, ผล ใช้เปลือกหุม ้ ผล
อ่อน ปรุงเป็ นอาหาร และคันน ้ าจากผลแก่ใช้ปรุงแต่งกลิน ่
ขนม

• ใยตาล ใช้ทาเครืองจั กสาน และทาเป็ นเชือก
• งวงตาล ให้น้ าหวานทีเรี ่ ยกว่าน้ าตาลสด นามากินสดๆ
หรือใช้ทาน้ าตาล
่ กเรียกก ันว่าลู กตาล นามาร ับประทานสดหรือ
• เมล็ด ทีมั
ไปโปรดพระเจ้าพิมพิสาร ผู ค ้ รองเมืองราชคฤห ์
แต่เนื่ องจากในเวลานันพระเจ้
้ าพิมพิสารทรงนับ
ถือ ชฎิลสามพีน้ ่ อง คือ อุรุเวลก ัสสป นทีก ัสสป

และคยากัสสป ดงั นันพระพุ ทธองค ์จึงทรงไป
โปรดชฎิลสามพีน้ ่ องก่อน เมือทรงแสดงธรรม

จนกระทังชฎิ่ ลสามพีน้่ องละความเชือด ่ งั เดิม
ของตน ยอมเป็ นสาวกของพระองค ์แล้ว

พระองค ์ก็ทรงพาชฏิลทังสามพร ้อมสาวกอีกพัน
รู ป เสด็จไปประทับยัง ลัฏฐิวน ั (สวนตาลหนุ่ ม)

ซึงอยู ่ทางทิศตะวันตกเฉี ยงใต้ของเมืองรา
ชคฤห ์


เมือพระเจ้
าพิมพิสารได้สดบ
ั ข่าว จึงเสด็จพร ้อม
ภาษาบาลีวา ่ ‘ตาลปตฺต’ ซึงแปลว่าใบตาลนันเอง ซึง
ปั จจุบน
ั พระสงฆ ์บ้านเราไม่นิยมใช้ตาลปั ตรทีท ่ าจาก
ใบตาลแล้ว แต่พระสงฆ ์ในประเทศอืนที ่ นั
่ บถือ
พระพุทธศาสนา เช่น พม่า, ศรีลงั กา, ก ัมพู ชา และ
่ าจากใบตาลอยู ่ และถือ
ลาว ยังนิ ยมใช้ตาลปั ตรทีท
เป็ นพัดสารพัดประโยชน์ใช้พด ั วีโบกไล่แมลง รวมทัง้
ใช้บงั แดดด้วย

และด้วยลักษณะของต้นตาลซึงเมื ่ อต ่ ัดยอดไป
แล้วกลายเป็ น “ตาลยอดด้วน” ไม่สามารถ
เจริญเติบโตได้อก ่
ี ต่อไป ด ังคาทีพระพุ ทธองค ์ได้ตร ัสไว้

ในพระสู ตรต่างๆ ในพระไตรปิ ฎก ซึงขอยกมาบาง
ตอนด ังนี ้

่ รส โผฏฐ ัพพะ
“...สมบัต ิ คือ รู ป เสียง กลิน
ต้นไผ่ใหญ่ (ต้นมหาเวฬุ)
ว่า “เวฬุวน ่
ั ” ทีเรารู ้จักกันดีกแ ็ ปลว่า “ป่ าไผ่”
นั่นเอง พันธุ ์ไม้ไผ่ในโลกมีจานวน ถึง 1,250
ชนิ ด ไม้ไผ่เป็ นพวกพืชยืนต้น จัดอยู ่ในวงศ ์
Gramineae แต่เมือพิ่ จารณาจาก
พระไตรปิ ฎกดังกล่าว ต้นไผ่ใหญ่ ซึงในภาษา ่
บาลีเรียกว่า “ต้นมหาเวฬุ” น่ าจะอยู ่ในสกุล
Dendrocalamus เพราะไผ่สกุลนี มี ้ ขนาด
กลางถึงขนาดใหญ่ ไม่มห ้
ี นาม ลาตังตรง
กาบมีขนาดใหญ่ และมักหลุดร่วงเร็ว ใบยอด

กาบเป็ นรู ปสามเหลียมเรี ยว
ต้นไผ่เป็ นพืชทีมี ่ การใช้ประโยชน์อย่าง
กว้างขวาง ทังบริ้ โภค ทังเป็ ้ นวัตถุดบ ่
ิ เพือการ
อุตสาหกรรม เช่น ทาเยือกระดาษ ่ ทาเครือง่

หลังจากทีพระเจ้ าพิมพิสารได้ฟังธรรมที่
สวนตาลหนุ่ มแล้ว ได้ทูลอาราธนาพระพุทธ
องค ์พร ้อมพระสาวก ไปร ับพระกระยาหารเช้า

ทีพระราชนิ เวศน์ในว ันรุง่ ขึน ้ หลังจากทีพระ

พุทธองค ์เสวยเสร็จ พระเจ้าพิมพิสารได้ทูลว่า

ทีสวนตาลหนุ ้
่ มนันอยู ่นอกเมือง การเดินทาง
ลาบาก ทรงใคร่ถวายพระราชอุทยานสวนไม้ไผ่

ให้เป็ นทีประทั บของพระพุทธองค ์ และทีอยู่ ่
ของสงฆ ์
พระพุทธองค ์ทรงร ับด้วยพระอาการดุษณี
พระเจ้าพิมพิสารจึงหลังน ่ ้ าจากพระเต้าบนพระ
หัตถ ์พระพุทธองค ์ เพือเป็่ นการถวายสวนไผ่
ให้เป็ นวัดในพุทธศาสนาแห่งแรก
นอกจากนี ้ พระเจ้าพิมพิสารยังโปรดให้ขด ุ สระน้ ากา
ร ันธะขึน้ เพือให้
่ พระพุทธองค ์ได้สรงน้ าด้วย
เกด ต้นไม้สุดท้ายแห่งการเสวย
วิมุตติสุข
“ราชายตนะ”
ื่
มีชอทางวิ ทยาศาสตร ์ว่า
Manilkarahexandra (Roxb.) Dubard
อยู ่ในวงศ ์ Sapotaceae
มีถนกิ่ าเนิ ดในเอเซียตะวันออกเฉี ยง
ใต้
ี่ นเกดมีเนื อไม้
ด้วยเหตุทต้ ้ ท ี่
แข็งแรง ทนทาน และพบมากตาม
เกาะแก่งต่างๆ ชาวประมงจึงนิ ยม
นามาใช้ในการทาเรือ ปั จจุบน ั ต้น
หลุดพ้นจากกิเลสทังปวง)้ เป็ นสัปดาห ์สุดท้าย อยู ่ ณ ใต้
ต้นราชายตนะ (สัปดาห ์ที่ 5 ประทับทีต ่ ้นไทร และสัปดาห ์ที่ 6
่ ้นจิก) ซึงอยู
ประทับทีต ่ ่ทางทิศใต้ของต้นพระศรีมหาโพธิ ์
เป็ นเวลา 7 วัน


ในระหว่างทีประทั บอยูน่ ้ันได ้มีพ่อค ้า 2 คน ชือว่่ า “ตปุ ส
สะ” และ “ภัลลิกะ” นาเกวียน 500 เล่ม เดินทางจากอุกกลชนบท
ผ่านมา และได้พบก ับพระศาสดา จึงบังเกิดความเลือมใส ่ ทัง้
สองจึงพร ้อมใจกันนาข้าวสัตตุกอ ้ น สัตตุผง ถวายแด่พระ
พุทธองค ์ พระศาสดาได ้ทรงแสดงธรรมแก่ทงสอง ้ั ่
และเมือจบพระ
ธรรมเทศนาแล ้ว ทังตปุ ้ สสะและภัลลิกะ ก็เปล่งวาจาถึงพระพุทธเจ ้า
และพระธรรมเป็ นสรณะตลอดชีวต ้
ิ ทังสองจึ งเป็ น “เทฺววาจิก
อุบาสก” คืออุบาสกทีถึ ่ งร ัตนะทังสอง ้ (ขณะนันยั ้ งไม่ม ี
พระสงฆ ์) เป็ นคู แ
่ รกในพระพุทธศาสนา

และก่อนทีจะเดิ นทางต่อไป ทังตปุ ้ สสะและภัลลิกะได้ทูล

ขอสิงของเพื ่ นทีระลึ
อเป็ ่ กถึงพระพุทธองค ์ พระองค ์จึงทรง
ต้นเวฬุวะ หรือ ต้น
มะตู ม
ex Roxb.

ชือสามั ญ : Bael
วงศ ์ : Rutaceae
่ น
ชืออื ่ : มะปิ น (ภาคเหนื อ) กระทันตาเถร ตุม
่ เต้ง ตู ม
(ปั ตตานี )

มะปี ส่า (กะเหรียง-แม่ ฮ่องสอน)
การใช้ประโยชน์
มะตู ม มีคุณค่าทางโภชนาการคือ ประกอบด้วย สารเพคติน
(pectin)
่ รสฝาด
สารเมือก (mucilage) และสารแทนนิ นซึงให้
นอกจากนี ยั้ งมีสารขมต่าง ๆ ได้แก่ สารคู มาริน
(coumarin)
และมีสารฟลาโวนอยด ์ (flavonoids) อีกด้วย

้ั
ผลมะตู ม ใช้ร ับประทานได้ทงแบบสดและแบบแห้ ง
น้ าจากผลเมือน่ าไปกรองและเติมน้ าตาลจะได้เครืองดื
่ ม่
ใบอ่อนและยอดอ่อนใช้ร ับประทานเป็ นผักสลัด กินกับ
น้ าพริก ลาบ และข้าวยา
ผลแก่แต่เปลือกยังนิ่ ม นามาฝานแล้วทาเป็ นมะตู ม
เชือม่
่ าไปเป็ นส่วนผสมของขนมอืนอี
ซึงน ่ กหลยอย่าง

มะตู มสุก เนื อเละใช้ร ับประทานเป็ นผลไม้ และใช้เป็ น
ยาร ักษาอาการท้องร่วง
ท้องเดิน โรคลาไส้ ตาแห้งไข้หวัดธรรมดา และยังใช้
ร ักษาอาการท้องผู กเรือร ้ ังได้เป็ นอย่างดี
เปลือกของรากและลาต้นของมะตู ม สามารถลดไข้
และใช้เป็ นยาร ักษาไข้มาลาเรียในสมัยก่อน ขับลมใน
ลาไส้
ราก แก้พษ ิ ฝี พิษไข้ ร ักษาน้ าดี
ใบสด แก้ไอ ขับเสมหะ หากมีอาการหลอดลมอ ักเสบ
้ ัง
เรือร
มะตู ม ในพุทธประวัต ิ ตอนทีพระพุ่ ทธเจ้า
ประทับ ณ นิ โครธาราม เขตกบิลพัสดุ ์ เช้า
วันหนึ่งพระพุทธองค ์เสด็จเข้าสู พ ่ ระนคร
่ ณฑบาต เมือเสด็
กบิลพัสดุ ์ เพือบิ ่ จกลับ ได้

เสด็จเข้าไปยังป่ ามหาวันเพือทรงพั กผ่อนใน
เวลากลางวัน และทรงประทับ ณ โคนต้น
มะตู มหนุ่ ม

ชือของ ต้นเวฬุวะ หรือ ต้นมะตู ม นี ้
ปรากฏเป็ นชือหมู่ ่ า้ นแห่งหนึ่งในแคว้นวัช

ชี เขตเมืองเวสาลี
คือ "เวฬุวคาม" หรือ "เพฬุวคาม"

มณฑารพ ดอกไม้ทพิ ย์
แห่งสวรรค ์
จาปี และยีหุ่ บ เป็ นไม้พ่ม
ุ สูงราว 3-10 เมตร เปลือกสีเทา ใบ

เป็ นใบเดียวเรียงสลับ มีขนาดใหญ่ รูป รี ปลายใบแหลม

ขอบใบเรียบ เนื อใบหนา ่
มักเป็ นคลืนหรือเป็ นลอน ดอกมี
ขนาดใหญ่ เป็ นดอกเดียว ่ ออกตามซอกใบ หรือส่วนยอด
ของลาต ้น มีสเี หลืองนวล
“ดอกมณฑารพ” ดอกไม้ทพ ิ ย ์แห่งสวรรค ์ ทีไม่

มีในโลกมนุ ษย ์
และจะปรากฏเฉพาะตอนทีมี ่ สงใดสิ
ิ่ ่
งหนึ ่งเกิดขึนกับ

พระพุทธเจ้า
เช่น ประสู ต,ิ ตร ัสรู ้, ปลงอายุสงั ขาร, ดับขันธป ริ
นิ พพาน,

วันจาตุรงคสันนิ บาต, วันทีทรงแสดงพระธ ัมมจัก
กัปปวัตนสู ตร
องค ์จะเสด็จดับขันธป รินิพพาน ได้ตร ัสกับพระอานนท ์ว่า
“ดู กรอานนท ์ ไม้สาละทังคู ้ ่ เผล็ดดอกบานสะพรงนอก่ั
ฤดู กาล ร่วงหล่นโปรยปราย ลงยังสรีระของตถาคตเพือบู ่ ชา
แม้ดอกมณฑารพอ ันเป็ นของทิพย ์ ก็ตกลงมาจากอากาศ
ดอกมณฑารพเหล่านัน ้ ร่วงหล่นโปรยปรายลงยังสรีระของ
ตถาคตเพือบู ่ ชา แม้จุณแห่งจันทน์อ ันเป็ นของทิพย ์ ก็ตกลง
มาจากอากาศ จุณแห่งจันทน์เหล่านัน ้ ร่วงหล่นโปรยปราย
ลงยังสรีระของตถาคตเพือบู ่ ชา ดนตรีอ ันเป็ นทิพย ์เล่า ก็
ประโคมอยู ่ในอากาศ เพือบู ่ ชาตถาคต แม้สงั คีตอ ันเป็ นทิพย ์
ก็เป็ นไปในอากาศเพือบู ่ ชาตถาคต
ดู กรอานนท ์ ตถาคตจะชือว่ ่ าอ ันบริษท
ั สักการะ
เคารพ นับถือ บู ชา นอบน้อม ด้วยเครืองสั ่ กการะประมาณ

เท่านี หามิ ได้ ผู ใ้ ดแลจะเป็ นภิกษุ ภิกษุ ณี อุบาสก หรือ
อุบาสิกาก็ตาม เป็ นผู ป ้ ฏิบตั ธิ รรมสมควรแก่ธรรม ปฏิบต ั ิ
ชอบ ปฏิบต ั ต
ิ ามธรรมอยู ่ ผู น ้ั อมชือว่
้ นย่ ่ าสักการะ เคารพ
นับถือ บู ชาตถาคต ด้วยการบู ชาอย่างยอด เพราะเหตุนน ้ั
ทุกหนแห่งในเมืองกุสน ิ าราเต็มไปด้วยดอกมณฑารพ “...
สมัยนัน้ เมืองกุสนิ าราเดียรดาษไปด้วยดอกมณฑารพโดย
ถ่องแถวประมาณแค่เข่า จนตลอดทีต่ ่ อแห่งเรือน บ่อของ
โสโครกและกองหยากเยือ ่ ครงนั
้ั นพวกเทวดาและพวกเจ้
้ า
มัลละเมืองกุสนิ ารา สักการะ เคารพ นับถือ บู ชาพระสรีระ
พระผู ม
้ พ
ี ระภาค ด้วยการฟ้อนรา ขับร ้อง ประโคมมาลัยและ
ของหอม ทังที้ เป็
่ นของทิพย ์ ทังที
้ เป็
่ นของมนุ ษย ์...”
ต้นกุม
่ (ต้นกักกุธะ)
และปิ ยทัสสีพุทธวงศ ์ กล่าวไว้วา

พระพุทธเจ้า 3 พระองค ์ คือ พระพุทธเจ้าองค ์ที่ 10


พระนามว่า พระอโนมทัสสีพุทธเจ้า ทรงบาเพ็ญเพียรอยู ่
10 เดือนเต็ม, พระพุทธเจ้าองค ์ที่ 23 พระนามว่า พระสิขี
พุทธเจ้า ทรงบาเพ็ญเพียรอยู ่ 8 เดือนเต็ม
และ พระพุทธเจ้าองค ์ที่ 16 พระนามว่า พระปิ ยทัสสีพุทธ

เจ้า ทรงบาเพ็ญเพียรอยู ่ 6 เดือนเต็ม ทังสามพระองค ์จึงได้
ประทับตร ัสรู ้ ณ ควงไม้กม
ุ่ เช่นเดียวกัน

ต้นกุม
่ (ต้นกุม
่ บก) ในภาษาบาลีเรียกว่า “ต้นก ัก
กุธะ” หรือ “ต้นกกุธะ” เป็ นพันธ ์ไม้ในสกุล Crateva วงศ ์
Capparidaceae ชาวฮินดู เรียกกันว่า “มารินา” ตามพระ
พุทธประว ัติกล่าวว่า พระพุทธเจ้านาผ้าบังสกุลห่อศพ
มามณพาสี ในอามกสุสาน (ป่ าช้าผีดบ ่
ิ ) ไปทรงซ ัก เมือ
่ ผ้
ซ ักเสร็จแล้วก็มาทีที ่ าบังสกุลดังกล่าว พฤกษเทวาซึงสิ่ ง
Jacobs” และ ต้นกุม ่ น้ า มีชอวิ
ื่ ทยาศาสตร ์ว่า
“Crateva magna (Lour.) DC. และ Crateva
Religiosa Forst.f.”
คนไทยสมัยก่อนนิ ยมปลู กต้นกุม ่ ไว้เป็ น
อาหารและเป็ นยาร ักษาโรค โดยนาใบอ่อนและ

ดอกอ่อน ซึงออกในช่ วงฤดูฝน มาดองก่อนแล้วจึง
นาไปร ับประทาน
สาหร ับสรรพคุณด้านพืชสมุนไพรนัน ้
เปลือก ใช้ เป็ นยาขับลม แก้ปวดท้อง แก้ลงท้อง
คุมธาตุ ขับผายลม ขับน้ าดี ขับนิ่ว แก้บวม แก้
อาการสะอึก แก้อาเจียน บารุงไฟธาตุ กระตุน ้ ลาไส้
ให้ย่อยอาหาร บารุงหัวใจ แก้โรคผิวหนัง ใช้เป็ น
ยาระงับประสาท และยาบารุง แก่น ใช้แก้โรค
ริดสีดวงทวาร โรคนิ่ว บารุงเลือด ราก ใช้ขบ ั หนอง

ปาริชาต ต้นไม้สวรรค ์ชน ั
ดาวดึงส ์
พระไตรปิ ฎกบอกไว้วา ่ นปาริชาติใน
่ เมือต้
่ ว เทวดาชนดาวดึ
ดาวดึงส ์บานเต็มทีแล้ ้ั งส ์ต่าง

พาก ันดีใจ เอิบอิมพร ่ั
งพร ้อมด้วยกามคุณ ๕
บารุงบาเรออยู ่ตลอดระยะ ๕ เดือนทิพย ์ ณ ใต้ตน ้
่ อบานเต็
ปาริชาต ซึงเมื ่ ่ ว แผ่ร ัศมีไปได้ ๕๐
มทีแล้
โยชน์ ในบริเวณรอบๆ และจะส่งกลินไปได้ ่ ๑๐๐
โยชน์ตามลม

พระพุทธองค ์ได้ตร ัสสอนว่า “...สมัยใด อริยสาวก


คิดจะออกบวชเป็ นบรรพชิต สมัยนัน ้ อริยสาวก
เปรียบเหมือนปาริฉต ั ตกพฤกษ ์ของเทวดาชน ้ั
ดาวดึงส ์มีใบเหลือง สมัยใด อริยสาวกปลงผมและ
หนวด นุ่ งห่มผ้ากาสาวพัสตร ์ ออกบวชเป็ น
้ ทรงบาตรและจีวรครบ เหมือนต้นปาริฉต
นัน ั ร
คือ ต้นทองหลาง มีใบหนา มีรม
่ เงาชิด

้ ต้นปาริชาตหรือปาริฉต
ด ังนัน ั ร เปรียนเปรย
ื ต้น ‘ทองหลาง’ นั่นเอง ชือวิ
ก็คอ ่ ทย ์ Erythrina
variegata Linn. อยู ่ในวงศ ์ Leguminosae เป็ นไม้
ยืนต้น สู งประมาณ 10-20 เมตร เรือนยอดเป็ นพุ่ม
กลม ตามกิงหรื่ อลาต้นอ่อนมีหนามแหลมคม แต่
จะค่อยๆ หลุดไป เมือต้่ นมีอายุมากขึน ้ ใบเป็ นใบ
ประกอบแบบขนนก มีใบย่อย 3 ใบ เรียงสลับ ใบ
หนา ดอกคล้ายดอกแคแต่มส ี แ
ี ดงเข้มออก
รวมกัน เป็ นช่อยาวประมาณ 30-40 ซม. จะออก
ดอกในเดือนมกราคม-กุมภาพันธ ์ เวลาออกดอก

จะทิงใบหมดต้ น ส่วนผลเป็ นฝั กยาวโค้งเล็กน้อย
แก้ขอ ้ บวม
ราก ใช้แก้พยาธิในท้อง ตาฟาง ไข้หวัด พอก
บาดแผล แก้ปวดแสบปวดร ้อน นอกจากนี คนไทยยั ้ ง
นิ ยมนาใบอ่อนของทองหลางมาร ับประทานร่วมกับ

เมียงค ้ ้ าพริก เพราะใบทองหลางเป็ น
า หรือเป็ นผักจิมน
ผักทีมี่ ธาตุอาหารคือโปรตีน แคลเซียม ฟอสฟอร ัส
วิตามินเอ และวิตามินซีสูงมาก จึงเป็ นอาหารทีช่่ วย
บารุงสุขภาพ บารุงตา และบารุงกระดู ก

ในวรรณกรรมอิงพุทธประวัติและหลักธรรม
่ ‘กามนิ ต-วาสิฏฐี’ ได้บอกไว้วา
เรือง ่ ไปเกิด
่ กามนิ ตซึงได้
่ กลินหอมจากต้
ในสวรรค ์ เมือได้ ่ นปาริชาต ก็สามารถ
ระลึกชาติของตนครงที ้ั อยู
่ ่ในโลกมนุ ษย ์ได้


เดือนมกราคมนี ปาริ ่
ชาตเริมออกดอกแล้
ว แต่อย่า
สมอ
Terminalia
วงศ ์ Combretaceae เช่น สมอไทย, สมอพิเภก, สมอ
ื่ ยกทางภาษาบาลี
ดีงู, สมอจีน เป็ นต้น มีชอเรี
ว่า ‘หรีตกะ’
ประโยชน์ของสมอ อาทิเช่น เปลือกและ
ผลดิบมีสารฝาด จึงใช้ในการย้อมแห อวน หรือย้อม
้ า เนื อไม้
ผ้าให้เป็ นสีเขียวขีม้ ้ ใช้สร ้างบ้านเรือน ทา

เครืองเรื อน ทาเกวียน เป็ นต้น

สรรพคุณด้านสมุนไพร คือ ดอก ช่วยแก้


โรคตา แดง ตาอ ักเสบ, เปลือกต้น ช่วยบารุงหัวใจ
ขับน้ าเหลืองเสีย ขับปั สสาวะ, ผลอ่อนหรือผลดิบ
ใช้เป็ นยาระบาย ขับเสมหะ ทาให้ชม ุ่ คอ แก้บด
ิ แก้
ไข้ แก้โลหิตเป็ นพิษ แก้โรคตา แก้ธาตุกาเริบ บารุง
้ั
ภิกษุ ทงหลายจึ งกราบทู ลเรืองนี ่ ้ พระพุทธเจ้า พระองค ์จึง
แด่
ตร ัสอนุ ญาตแก่ภก ้ั
ิ ษุ ทงหลายว่ ้ั
า “ดู กรภิกษุ ทงหลาย เรา
ื่
อนุ ญาตให้ดมยาผลสมอดองน ้ ามู ตรโค”
และในพระไตรปิ ฎก ก็ได้เล่าถึงอดีตชาติของพระสัมมาสัม
้ั
พุทธเจ้า ครงเสวยพระชาติ เป็ นพระหรีตกิทายกเถระ ซึง่
ท่านได้กล่าวถึงผลแห่งการถวายลู กสมอไว้ใน ‘หรีตกิ
ทายกเถราปทานที่ 8’ ว่า
ท่านได ้นาผลสมอถวายแด่พระสยัมภูพุทธเจ ้า (พระพุทธเจ ้าที่
ทรงตร ัสรู ้ด ้วยพระองค ์เอง) ทาให ้พระพุทธเจ ้าพระองค ์นั้นทรง
บรรเทาพยาธิทงปวง ้ั พระสยัมภูพุทธเจ ้าได ้ทรงทาอนุโมทนาว่า ด ้วย
การถวายเภสัชอันเป็ นเครืองระงั ่ บพยาธินี ้ ท่านเกิดเป็ นเทวดา เป็ น
มนุ ษย ์ หรือจะเกิดในชาติอน ื่ จงเป็ นผูถ้ งึ ความสุขในทีทุ ่ กแห่ง และ
ท่านอย่าถึงความป่ วยไข ้ ฉะนั้น เพราะการถวายสมอนี่ เอง ความป่ วย
ไข ้จึงมิได ้เกิดแก่ท่านเลย นี เป็ ้ นผลแห่ง เภสัชทาน ส่วนใน
ตานานได้เล่าไว้วา ่ ขณะทีองค ่ ์พระสัมมาสัมพุทธเจ้า
ประทับเสวยวิมุตติผลสุขสมบัตอ ิ ยู ่ใต้ตน
้ ไม้ พระอินทร ์ทรง
ต้นกากะทิง (ต้นนาคะ)
“Calophylum inophyllum Linn.” อยู ่ในวงศ ์
“Guttiferae” ในภาษาบาลีเรียกว่า “ต้นนา
่ าเนิ ดอยู ่ในอินเดียและฝั่ งตะวันตก
คะ” ถินก
ของแปซิฟิค ในบ้านเรานันเรี ้ ่ างกันไป
ยกชือต่
ได้แก่ กากะทิง, กระทิง (ภาคกลาง) เนาวกาน,
สารภีแนน (ภาคเหนื อ) ทิง, สารภีทะเล
(ภาคใต้) เป็ นต้น
ส่วนสรรพคุณด้านพืชสมุนไพรนัน ้ ใบ
สดนามาขยาแช่น้ า ใช้น้ าล้างตา แก้ตาฝ้า
ตามัว ตาแดง, สาหร ับน้ ามันทีได้ ่ จากเมล็ด
นามาใช้ทาถู นวด แก้ปวดข้อ เคล็ดบวม

ร ักษาโรคเรือน, ดอกปรุงเป็ นยาหอม บารุง

หัวใจ, รากเป็ นยาเบือปลา แก้ซาง, เปลือกใช้
นิ กาย พุทธวงศ ์ มังคลพุทธวงศ ์, สุมนพุทธวงศ ์, เรวตพุทธ
วงศ ์ และโสภิตพุทธวงศ ์ กล่าวไว้วา

พระพุทธเจ้า 4 พระองค ์ คือ พระพุทธเจ้าองค ์ที่ 6 พระนาม


ว่า พระมังคลพุทธเจ้า ผู ท ้ รงชูดวงไฟคือพระธรรมให้สว่าง

ไสว ซึงทรงบ าเพ็ญเพียรอยู ่ 8 เดือนเต็ม, พระพุทธเจ้าองค ์
ที่ 7 พระนามว่า พระสุมนพุทธเจ้า ผู ไ้ ม่มใี ครเสมอเหมือน

โดยธรรมทังปวง ่
ซึงทรงบ าเพ็ญเพียรอยู ่ 10 เดือนเต็ม,
พระพุทธเจ้าองค ์ที่ 8 พระนามว่า พระเรวตพุทธเจ้า ผู ท ้ รง

ยศ มีพระปั ญญามาก ซึงทรงบ าเพ็ญเพียรอยู ่ 7 เดือนเต็ม
และพระพุทธเจ้าองค ์ที่ 9 พระนามว่า พระโสภิตพุทธเจ้า ผู ้

ทรงมีพระทัยมันคงสงบระงั บไม่มใี ครเสมอเหมือน ซึงทรง่
บาเพ็ญเพียรอยู ่ 7 วัน ทังสี ่
้ พระองค ์จึงได้ประทับตร ัสรู ้ ณ
ควงไม้กากะทิง เช่นเดียวกัน

ในพระไตรปิ ฎกเล่มที่ 84 ของ ส.ธรรมภักดี กล่าวไว้วา


่ ต้น
“กระทุ่ม” ต้นไม้ประจาอมรโคยานทวีป
ในมนุ สสภู ม ิ
ื่
บาลี มีชอทางวิ ทยาศาสตร ์ว่า
Anthocephalus chinensis (Lamk.) A. Rich. ex
Walp. อยู ่ในวงศ ์ Rubiaceae
และมีชอพื ื่ นเมื
้ ่ ยกต่างกันไปในแต่ละ
องทีเรี

ท้องถินของไทย เช่น กระทุ่มบก, โกหว่า, ตะกู
, ตะโกส้ม, ตุม ้ ก้านยาว, ตุม ้ เนี่ ยง, ตุม
้ หลวง,
ตุม
้ พราย เป็ นต้น
ปั จจุบน ่
ั นิ ยมปลู กเป็ นสวนป่ าเพือการใช้
สอย เพราะเนื อไม้ ้ ของกระทุ่มมีความละเอียด
มีสเี หลืองหรือขาว และมีคณ ุ สมบัตแ ิ ห้งเร็ว
มาก อีกทังมี ้ ลาต้นตรง เหมาะในการทาฝา
บ้าน ทาประตู หน้าต่าง เพดาน กระดาน ทา
มี 4 ทวีป คือ
1. ปุ พพวิเทหทวีป อยู ่ทางทิศตะวันออกของ
ภู เขาสิเนรุ

2. อมรโคยานทวีป อยู ่ทางทิศตะวันตกของ


ภู เขาสิเนรุ

3. ชมพู ทวีป (คือโลกนี )้ อยู ่ทางทิศใต้ของ


ภู เขาสิเนรุ

4. อุตตรกุรุทวีป อยู ่ทางทิศเหนื อของภู เขา


สิเนรุ
ต้นหมากเม่า หรือ มะ
เม่า

ชือวงศ ์ Euphorbiaceae
มะเม่าหรือหมากเม่า ยังมีแยกย่อยเป็ นอีก
หลายพันธุ ์
เพราะว่าพืชตระกูลมะเม่านี มี้ ดว้ ยกัน ๑๗๐ ชนิ ด
กระจายอยู ่ในเขตร ้อนของอ ัฟ ริกา เอเซีย
ออสเตรเลีย
หมู ่เกาะของอินโดนี เซีย เกาะต่างๆ ในมหาสมุทร
แปซิฟิก

ทีพบมากในประเทศไทยมี อยู ่ดว้ ยกัน ๕ พันธุ ์
คือ
มะเม่าสร ้อย มะเม่าไข่ปลา มะเม่าควาย มะเม่าดง
และมะเม่าหลวง
ประโยชน์และสรรพคุณ
ต้นกับราก มีรสจืด แก้กษัย ขับปั สสาวะ บารุงไต แก้
พระพุทธศาสนา
ใน "เตมียชาดก" บรรยายความ
เป็ นอยู ่อย่างนักบวช
ขององค ์พระโพธิสต ั ว ์เจ้าไว้ว่า
ทรงนุ่ งห่มผ้าเปลือกไม้สแ ี ดงแล้วเสด็จ
เข้าบรรณศาลา
ประทับนั่งบนทีลาดด้่ วยใบไม้ ยังอภิญญา
ห้าและสมาบัตแ ิ ปดให้เกิด เสด็จออกจาก
บรรณศาลาในเวลาเย็น เก็บใบหมากเม่า
่ ดอยู ่ทา้ ยทีจงกรม
ทีเกิ ่ นึ่ งในภาชนะทีท้่ าว
ต้นตีนเป็ ดขาว (ต้น
สัตตบรรณ)
“Alstonia scholaris R. Br.” ถินกาเนิ ดอยู ่ทหี มู ่เกาะ
โซโลมอนและมาเลเซีย และป่ าดงดิบภาคใต้
ตะวันออกเฉี ยงใต้ และภาคตะวันตกเฉี ยงใต้ของ
ประเทศไทย
ต้นตีนเป็ ดขาว มีสรรพคุณทางยา ดังนี ้
- เปลือก ใช้แก้ไข้หวัด หลอดลมอ ักเสบ ขับระดู ขับ
พยาธิ ขับน้ าเหลืองเสีย ขับน้ านม ร ักษามาเลเลีย
แก้ทอ ้ งเสีย แก้บดิ แก้ไอ เบาหวาน
- น้ ายางจากต้น ใช้อด ุ ฟั น แก้ปวดฟั น แก้แผล
อ ักเสบ หยอดหู แก้ปวด
- ใบ ใช้พอกด ับพิษต่างๆ ส่วนใบอ่อนใช้ชงดืม ่
ร ักษาโรคลักปิ ดลักเปิ ด แก้ไข้หวัด
สัตตบรรณได้ชอว่ ื่ าเป็ นไม้มงคลชนิ ดหนึ่ง ซึง่
บางครงก็ ้ั เรียกว่า “พญาสัตตบรรณ” โดยเชือกัน ่
มาลีปกรณ์ กล่าวไว้ว่า พระพุทธเจ้าองค ์แรก
พระนามว่า “พระตัณหังกรพุทธเจ้า” ได้
ประทับตร ัสรู ้ ณ ควงไม้สต
ั ตบรรณ

ต้นตีนเป็ ดขาว ในภาษาบาลี


เรียกว่า “ต้นสัตตบรรณ” หรือ “ต้นสัตต
ปั ณณะ” มีชอเรี ื่ ยกในอินเดียว่า “สตฺตปณฺ ณ

รุกข” ซึงแปลว่ ี่ 7 ใบ เป็ นต้นไม้ท ี่
าเป็ นไม้ทมี

ขึนปากถ ้ เมื
าที ่ องราชคฤห ์ จึงเรียกถานี ้ ว่
้ า
“สตฺตปณฺ ณคู หา” ในบริเวณนี เป็ ้ นทีท่ าการ
สังคายนาพระไตรปิ ฎกครงแรก ้ั โดยพระเจ้า
อชาตศ ัตรู ทรงร ับเป็ นผู อ ้ ปุ การะในการ

จบการนาเสนอ
ขอบคุณคร ับ
ขอขอบคุ

สวนพืชอาทิวราห ์
พันธุ ์ไม้แปลก
พันธุ ์ไม้หายาก
ร ับจัดสวนสมุนไพร
โทร 0993137562

You might also like