การถ่ายละอองเรณู การปฏิสนธิlac

You might also like

Download as pptx, pdf, or txt
Download as pptx, pdf, or txt
You are on page 1of 35

การถ่ายละอองเรณู การปฏิสนธิ

การถ่ายละอองเรณู
(POLLINATIN)
่ เต็มทีมาตกลงบนยอดเกสรต
การนาละอองเรณู ทีแก่ ่ ัวเมีย
ปั จจ ัยทีทาให้เกิดการถ่ายละอองเรณู (ผสมพันธุ ์):
• เกสรตัวผู พ ้ ร ้อมสาหร ับการผสมพันธุ ์ = ละอองเรณู แก่ (แตก
ออกจากอ ับเรณู )
• ยอดเกสรต ัวเมียพร ้อมสาหร ับการผสมพันธุ ์ = มีขนหรือ
น้ าหวาน ออกมาทียอด/ต่ ่ อมน้ าหวาน
วิธกี าร :

• เกิดขึนโดยมนุ ษย ์
• ผสมเพือให้ ่ เกิดการติดผล
• ผสมเพือปร ่ ับปรุงพันธุ ์

• เกิดขึนโดยธรรมชาติ
• แมลง/นกมาดู ดน้ าหวาน ซึงพาเกสรติ ่ ดมาด้วย
• ลมพัดละอองเกสรจะต้นหนึ่ งสู ่อก ี ต้นหนึ่ ง
• แรงดู ดของละอองเรณู เมืออ ่ ับเรณู แตก
การถ่ายละอองเรณู
(POLLINATIN)
ถ่ายละอองเรณู ภายในดอกเดียวกัน/ข้ามดอก
ในต้นเดียวกัน (Self pollination): ส่งผลให ้
ลักษณะทางพันธุกรรมของพืชรุน ่ ลูกเหมือนต ้นเดิม ใน
ธรรมชาติมวี ธิ ป
ี ้ องกันการผสมกันเองโดยทาให ้ละออง
เรณู และเซลล ์ไข่เจริญไม่พร ้อมกัน
ถ่ายละอองเรณู ข้ามต้นในพืชชนิ ดเดียวกัน
(Cross pollination): ส่งผลให ้ลักษณะทาง
พันธุกรรมของพืชรุน ่ ลูกแตกต่างไปจากพืชต ้นเดิม ทา
ให ้พืชมีลก
ั ษณะต่างๆ หลากหลายและอาจได ้พืชพันธุ ์
ใหม่เกิดขึน้
การปฏิสนธิของพืชดอก
(FERTILIZATION)
1.หลอดละอองเรณู งอกไปตามก้านเกสรตัวเมีย
ภายในบรรจุ

2. generative nucleus (n) แบ่งแบบ mitosis


1 ครง้ั ได้ sperm nucleus 2 ตัว
3. tube nucleus สลายตัว และ sperm
nucleus ผ่านรู micropyle ของออวุลเข้าไป
4. sperm nucleus ต ัวที่ 1 รวมกับเซลล ์ไข่ได้
เป็ น
5. sperm nucleus ต ัวที่ 2 รวมกับโพลาร ์นิ วคลี
การปฏิสนธิของพืชดอก
(F ERTILIZATION)
Sperm (n) + egg (n)  zygote (2n) 
embryo (2n)
Sperm (n) + polar nuclei (n + n) 
endosperm (3n)
เรียกการปฏิสนธิแบบนี ว่้ า การปฏิสนธิซ ้อน
(double Fertilization)

การเปลียนแปลงหลั
งการปฏิสนธิ
ส่วนประกอบ ่
การเปลียนแปลง

กลับเลียง ่
เหียวแห้งหลุดไป แต่ในพืชบาง
กลีบดอก / ยอด ชนิ ดยังคงอยู ่

เหียวแห้งและร่วงหลุดไป
เกสรต ัวเมีย / ก้าน
เกสรตัวเมีย เมล็ด
Ovule ผล
Ovary ้
เปลือกและเนื อของผล
ผนังหุม
้ ร ังไข่ เอ็มบริโอหรือต้นอ่อน
Sperm + egg -> ้
อาหารเลียงเอ็มบริโอหรือต้น
Zygote อ่อน
ผล (FRUIT)
ผลแท้ เกิดจากร ังไข่ได ้ร ับการปฏิสนธิ
ผลเทียม มีสว่ นอืนๆ ่ ของดอกเจริญร่วมขึนมา ้
เป็ นส่วนหนึ่ งของผล
• ฐานรองดอกพัฒนาเป็ นผล: แอปเปิ ้ล สาลี่ ฝรง่ ั
ชมพู่
้ ฒนาเป็ นส่วนหนึ่ งของผล: มังคุด
• กลีบเลียงพั
มะเขือ ทับทิม
ผลบางชนิ ดมาจากร ังไข่ทไม่ ี่ ได ้ร ับการปฏิสนธิ
เรียกว่า ผลลม(parthenocarpic fruit) วิธก ี าร
โครงสร ้างของผล
ผลเจริญมาจากร ังไข่
ผนังผล (pericarp) เจริญมาจากผนังร ังไข่ แบ่งเป็ น 3
ชน้ั
Exocarp : เนื อเยื้ อช ่ นนอกสุ
้ั ดหรือเปลือก
ประกอบด ้วยepidermis ชนเดี ้ั ยว
Mesocarp ; ชนกลาง ้ั มีทอ่ ลาเลียง มีโซคาร ์ปในพืช
บางชนิ ดอ่อนนุ่ มเป็ นส่วนเนื อผลไม้ ้
Endocarp : ชนในสุ ้ั ดของผนังผล พืชบางชนิ ดเอนเมล็ด
โดคาร ์ป สามารถร ับประธานได ้
ผนังผล
ผลบางชนิ ดโครงสร ้างทังสามไม่ ้ สามารถ
แยกออกจากกันได ้ เช่น ถัวเหลื ่ อง พริก
ชนิ ดของผล
่ (SIMPLE FRUIT)
• ผลเดียว
• ผลกลุ่ม (AGGRE GATE FRUIT)
• ผลรวม (MULTIPLE FRUIT)
่ (SIMPLE FRUIT)
ผลเดียว

ผลทีเกิ่ ดจากร ังไข่เดียวในดอก


เดียว
1 ก ้านดอกมี ≥ 1 ดอก แต่ละดอก

ไม่เชือมติดกัน
ดอก
ภายในดอกมี 1 ร ังไข่ (Ovary)
ภายในร ังไข่มี ≥ 1 ออวุล

ตัวอย่างผลเดียว่ เช่น ตะขบ ทุเรียน


้ ่ เงาะ ลาไย องุ ่น กระถิน สละ
ลินจี
มะพร ้าว ข ้าวโพด ส ้ม ผล
ผลกลุ่ม (AGGRE GATE FRUIT)

่ ดจากหลายร ังไข่ในดอกเดียว
 ผลทีเกิ
1 ก ้านดอกมี 1 ดอก
ภายใน 1 ดอก มีหลายร ังไข่
ภายในร ังไข่มี 1 ออวุล ดอก

ผลเป็ นกลุ่มหรือกระจุกอยู ่
บนแกนกลางเดียวกัน
เนื่ องจากร ังไข่อด
ั แน่ น เช่น สต
รอเบอร ์รี จาปี จาปา การเวก
กระดังงา กุหลาบ บัวหลวง
น้อยหน่ า ลูกจาก หวาย ผล
ผลรวม (MULTIPLE FRUIT)
ผลทีเกิ่ ดจากดอกช่อก้านสัน(มากกว่
้ า1ดอก)

มาเชือมติ ดกันแน่ นจนเหมือนเป็ นผลเดียว ่
1 ก ้านดอกมี หลายดอกย่อย
ภายในดอกมี 1 ร ังไข่
ดอก
ภายในร ังไข่มี 1 หรือ หลายออวุล
้ ยวคล ้ายเป็ นผลเดียว
ผลย่อยรวมกันเป็ นเนื อเดี ่
เช่น ขนุ น สาเก ยอ มะเดือ่ สับปะรด หม่อน

ผล
จานวนร ังไข่ใน จานวนร ังไข่ท ี่ ชนิ ดของ
1 ดอก เจริญเป็ น 1 ผล
ผล
• ผลเดียว ่ ผลทีเจริ
่ ญมาจากรงั ไข่ของดอก 1 ดอกที่

มีเ กสรเพศเมีย เพีย ง 1 อัน ซึงดอก 1 ดอกนั้ นจะเป็ น

ดอกเดียวหรื อดอกช่อ ทีร่ งั ไข่ของดอกย่อยแต่ละดอก

เจริญเป็ นผลเดียวก็ ได ้
• ผลกลุ่ ม ผลที่เจริญ มาจากร งั ไข่ ข องดอก 1
่ เกสรเพศเมียมากกว่า 1 อัน รงั ไข่แต่ละ
ดอกทีมี
อันเจริญเป็ นผลย่อย แต่ละผลย่อยติดอยู่บ นฐาน
ดอกเดียวกัน
่ ญมาจากร ังไข่ของดอกย่อยในดอกช่อ
• ผลรวม ทีเจริ
่ ญเป็ นผลนั้นร ังไข่ของดอกย่อยแต่ละดอก
โดยขณะทีเจริ

อาจเชือมเป็ ้ ยวกันหรือเบียดชิดกันมากจนมอง
นเนื อเดี
เมล็ด (SEED)

ส่วนทีเปลี ่
ยนแปลงมาจาก หลังจาก
เกิดการปฏิสนธิแล้ว
่ ่ของ embryo ซึงจะเจริ
เป็ นทีอยู ่ ญเป็ นพืชต้น
ใหม่
เมล็ดเป็ นส่วนสาค ัญต่อการดารงพันธุ ์ของพืช
ดอก
โครงสร ้างของเมล็ดประกอบด้วย
• เปลือกเมล็ด (Seed coat)
• เอ็มบริโอ (embryo)
• เอนโดสเปิ ร ์ม (endosperm)
เปลือกเมล็ด (SEED COAT)

เปลียนแปลงมาจาก ผนังออวุล (integument)
หน้าทีป้่ องกันอันตรายให ้เอ็มบริโอ
เมล็ดมีเปลือกหุ ้ม 2 ชน้ั
้ั
• ชนนอก ่
: เปลียนแปลงมาจากผนั ้ั
งชนนอกของ
ออวุล แข็ง และเหนี ยว = testa
• ชนใน ้ั ่
: เป็ นเยือบางสี ่
ขาว เปลียนแปลงมาจากผนั ง
้ั
ชนในของออวุ ล = tegmen
รอยแผลเป็ นเล็กๆ เกิดจากก ้านออวุลหลุดออก =
hilum มีเนื อเยื ้ ออวบสี
่ ้ ดอยู่ =
ขาวคล ้ายฟองนาติ
caruncle ช่วยอุ ้มน้าไว ้ใช ้ในการงอก
เปลือกหุ ้มเมล็ดของ กระเทียมเถา แคแสด และ

ทองอุไร เปลียนแปลงไปเป็ ่ วยให ้
นแผ่นบาง ทาหน้าทีช่
เอ็มบริโอ (EMBRYO)
เกิดจากการปฏิสนธิระหว่างเซลล ์ ไข่กบั สเปิ ร ์ม
1.ใบเลียง ้ (cotyledon) : ป้ องกันอันตรายให ้กับยอด
อ่อนขณะงอก ย่อยและดูดซึมอาหารจากเอนโดสเปิ ร ์มมาเก็บ

ไว ้ทีใบเลี ้
ยง
2.คอลิเคิล (caulicle) : ลาต ้นอ่อนหรือเอ็มบริโอ
้ ปลายสุดเรียกว่า ยอดแรก
• Epicotyl : อยู่เหนื อใบเลียง
เกิด (plumule) เจริญเป็ นลาต้นยอด และใบแท้

เมล็ดพืชใบเลียงเดี ่
ยวมี ้ อพิ
เนื อเยื ่ เศษ เรียก coleoptile
ห่อหุ ้มปลายยอดแรกเกิด
• Hypocotyls : อยู่ใต ้ใบเลียง ้ ส่วนปลายเรียกว่า
radicle จะพัฒนาไปเป็ นรากอ่อน ในพืชใบเลียงเดี้ ่
ยว

• เมล็ดถัวเหลื อง = สะสมโปรตีน
• เมล็ดข ้าว ข ้าวโพด = สะสม ่ นนา+เนื

• เอนโดสเปิ ร ์มทีเป็ อ้ =
คาร ์โบไฮเดรต มะพร ้าว ตาล หมาก
เอ็มบริโอ (EMBRYO)
Pro embryo: ไซโก
ตแบ่งตัวออกเป็ น 2 เซลล ์
เซลล ์ด ้านล่างใหญ่ แบ่งตัวช ้า
กว่าจะฝังตัวในเอนโดสเปิ ร ์ม
Globular stage: เซลล ์
ข ้างบนแบ่งตัวต่อไปจนเป็ น
ก ้อนกลม
Heart-shaped stage:
เอ็มบริโอก ้อนกลมจะพัฒนา
ไปเป็ นกลุม่ เซลล ์รูปหัวใจ
Torpedo stage:
การงอกของเมล็ด (SEED
GERMINATION)

1. พืชดูดนาเข ้าสูเ่ มล็ด

2. ต ้นอ่อน (embryo) ผลิตฮอร ์โมนจิบเบอเรลลิน (GA)
ฮอร ์โมนจิบเบอเรลลินไปกระตุนเซลล
้ ์ให ้ผลิตเอนไซม ์
amylase

3. เอนไซม ์ amylase ย่อยแป้ งภายในเอนโดสเปิ ร ์มเป็ น
กลูโคส

4. กลูโคสเข ้าไปสูก
่ ระบวนการไกลโคไลซิส ได ้พลังงานใช ้ใน
การงอก

5. มีการพัฒนาของ รากแรกเกิด (radicle) เป็ นรากงอก
ลักษณะการงอก

การงอกทีใบเลี ้
ยงชู ึ้
ขนมาเหนื ้ น
อพืนดิ
(epigeal gemination):
ไฮโพคอทิลเจริญและยืดตัวเร็วมาก จึงดึงเอาใบ

เลียงและส่ วนของ

เอพิคอทิลออกจากเมล็ดและชูต ัวขึนมาเหนื อดิน
่ ยว มะขาม
เช่น ถัวเขี
ลักษณะการงอก

การงอกทีใบเลี ้
ยงจมอยู ่ใต้พนดิื ้ น (hypogeal
gemination):
• เอพิคอทิลเจริญเติบโตดีกว่าไฮโพคอทิล ด ังนัน ้
เอพิคอทิลและพลู มูลจะงอกขึนมาอยู ้ ่บนดิน
โดยมีโคลีออพไทด ์หุม ่ องกันอ ันตราย
้ อยู ่เพือป้

• ซึงโคลี
ออพไทล ์จะหยุดเจริญเมือได้ ่ ร ับแสง
่ ผลต่อการงอกของเมล็ด :
ปั จจัยทีมี
ปั จจัยภายนอก
ความชืน: ้ เปลือกหุ ้มเมล็ดอ่อนนุ่ ม ทาให ้ออกซิเจน
แพร่เข้า
ี่ ก ิรยิ า hydrolysis : amylase : แป้ ง
วัสดุทปฏิ
maltoseglucose , protease: proteinamino
acid
ลาเลียงสารจากการย่อยให ้ต ้นอ่อน
ออกซิเจน : จาเป็ นต่อการสลายสารอาหารระดับ

เซลล ์ พืชนางอกได ้แม้ O2 ตา่
อุณหภู ม ิ : พืชแต่ละชนิ ดต ้องการอุณหภูมท ี่
ิ เหมาะสมใน

การงอกทีแตกต่ างกัน
่ ผลต่อการงอกของเมล็ด :
ปั จจัยทีมี
ปั จจัยภายใน
สภาพพักตัวของเมล็ด (seed dormancy) เมล็ด

พืชทัวไปเมื ่ ้ร ับสิงแวดล
อได ่ ่
้อมทีเหมาะสมสภาพพั กตัวจะ
หมดไป ทาให ้เอ็มบริโอสามารถเจริญเติบโตได ้ บางชนิ ดมี

สภาพพักตัวสันมาก เช่น ขนุ น มะละกอ มะขามเทศ, บาง
ชนิ ดไม่มส
ี ภาพพักตัวเลย เช่น โกงกาง, บางชนิ ดมีสภาพ
พักตัวนานมาก แต่เมล็ดพืชบางชนิ ดแม้อยู่ใน

สภาพแวดล ้อมทีเหมาะสมก็ ยงั อยู่ในสภาพพักตัว
1. เปลือกเมล็ด บางชนิ ดหนาและแข็งมากทาให ้น้ าไม่
สามารถผ่านเข้าสู ่ภายในเมล็ดได้ ในธรรมชาติจะมี
การทาลายสภาพพักตัว เช่น ย่อยสลายโดยจุลน ิ ทรีย ์
ในดิน (มะม่วง, ปาล ์ม), ผ่านระบบย่อยอาหารของสัตว ์

เลียงลู กด้วยนมหรือนกแล้วถ่ายเป็ นมู ล (โพธิ ์ ไทร
ตะขบ), ถู กไฟเผา (หญ ้า ไผ่บางชนิ ด ตะเคียน สัก)
2. เปลือกเมล็ดมีสารซึงไม่ ่ ยอมให้น้ าซึมผ่าน เช่น
ไข คิวทิน ลิกนิ น ซูเบอริน แก้ไขโดยการแช่เมล็ดในน้ า
Embryo: เมล็ดไม่สามารถงอกได ้หากเอ็มบริโอ
เจริญไม่เต็มทีจะต ่ ้องรอเวลาช่วงหนึ่ งเมล็ดจึงจะงอกได ้
้ ให้เอ็มบริโอเจริญ
เช่น มะพร ้าว วิธแี ก ้คือ ต้องทิงไว้
่ ่ในผลเป็ นระยะเวลาหนึ่ง
เต็มทีอยู
Endosperm เมล็ดพืชบางชนิ ดมีนอ้ ยมาก เช่น
กล ้วยไม้ จึงทาให ้ไม่มอ ี าหารเพียงพอสาหร ับเลียง ้
เอ็มบริโอระหว่างการงอก วิธแี ก ้คือ ในธรรมชาติ
พบว่ามีไมคอร ์ไรซาบางชนิ ดเจริญร่วมกับเมล็ด
่ วยย่อยสลายสารอินทรีย ์, นาไปเลียงใน
เพือช่ ้

อาหารเพาะเลียงและใส่ สารกระตุน ้ การงอก

สารเคมี สารเคมีบางชนิ ดจะยับยังการงอกของเมล็ ด
เช่น กรดแอบไซซิกทีมี ่ สมบัตยิ บ ้
ั ยังการท างานของ
่ ยวข
เอนไซม ์ทีเกี ่ ้องกับการงอกเคลือบอยู่ วิธแี ก ้ไขคือ

ฝนทีตกหรื อนาเมล็ดมาล้างน้ า, ใช้สารเร่งการ
การตรวจสอบคุณภาพของเมล็ด
พันธุ ์
การตรวจสอบคุณภาพของเมล็ดพันธุ ์มีหลาย
ประการ เช่น ความสามารถในการงอกหรือความ
ิ , ความแข็งแรง, ความบริสุทธิ,์ ความชืน
มีชวี ต ้
ฯลฯ
การวัดดัชนี การงอกของเมล็ดพันธุ ์ ใช้
่ ความแข็งแรงมากย่อมจะ
หลักการว่า เมล็ดใดทีมี
งอกได้เร็วกว่า

นับจานวนเมล็ดงอกทุกวันแล้วบันทึกจนกว่าจะ
่ ก
ไม่มเี มล็ดงอกเพิมอี
เปรียบเทียบกับพืชชนิ ดเดียวกัน แต่จากหลาย
ตารางการงอกของต้นกล้าถัว่
เหลืองจาก 3 แหล่ง

่ั
1.ด ัชนี การงอกของถวเหลื
องในแหล่ง A B และ C เป็ นเท่าใด
ตามลาด ับ
การวัดการเจริญเติบโตของพืช
• การนาข ้อมูลมาเขียนกราฟระหว่างมวลกับเวลา
ิ่ ้าน นับจานวนใบ
• วัดความสูง วัดเส ้นรอบวง แผ่กงก
วัดมวล

มีลก
ั ษณะกราฟเป็ นรูปตัว S หรือ S-shaped cutve

You might also like