102325954 การควบคุมกระบวนการ Process Control

You might also like

Download as pptx, pdf, or txt
Download as pptx, pdf, or txt
You are on page 1of 197

การควบคุมกระบวนการ (

Process Control )

การควบคุมกระบวนการ ( Process Control )


คือ ความพยายามทีจะท่ าการควบคุมและ
ปร ับแต่ง สภาพการทางาน
ของกระบวนการ หรือ ระบบ ให้มค
ี า
่ เป็ นไป
่ องการ
ตามเป้ าหมายทีต้
การควบคุมกระบวนการ (
Process Control )

• กลไกหลักในการควบคุมกระบวนการ คือ
การเฝ้าสังเกตปริมาณใดปริมาณหนึ่ง แล้ว
เปรียบเทียบปริมาณนันกับค่ ้ า
่ องการ จากนันพยายามท
ทีต้ ้ าการปร ับแต่ง

หรือเปลียนแปลงปริ มาณนัน้
ให้มคี า
่ เข้าสู ่คา ่ องการ
่ ทีต้

หลักการทางานพืนฐานของ
กระบวนการ


• หลักการทางานพืนฐานของกระบวนการ
ประกอบด้วยความสัมพันธ ์ระหว่างต ัวแปร
สาค ัญ 3 ตัว คือ
1 ) ตัวแปรปร ับแต่ง ( Manipulated
Variable )
2 ) ตัวแปรรบกวน หรือ สัญญาณรบกวน (
Disturbance )
3 ) ตัวแปรถูกควบคุม ( Controlled
Variable )

แสดงการทางานพืนฐานของ
กระบวนการ
สัญญาณ
รบกวน

กระบวน
ตัวแปรถู ก
ตัว การ ควบคุม
(
ปร ับแต่ง ( สภาพ
Process กระบวนการ )
)
ตัวอย่างของตัวแปรปร ับแต่งในกระบวนการ
ทางอุตสาหกรรม

• ตาแหน่ งวาล ์วควบคุม ( Value Position )

• ความเร็วมอเตอร ์ ( Motor Speed )

• ตาแหน่ งลู กสู บ ( Damper Position )


่ นสภาพ
ตัวแปรถู กควบคุม ซึงเป็
กระบวนการทีได้่

• อุณหภู ม ิ ( Temperature )
• ระดับของเหลว ( Liquid )
• ความดัน ( Pressure )
• ตาแหน่ ง ( Position )
• ความเร็ว ( Speed )
• น้ าหนัก ( Weight )
องค ์ประกอบสาคัญในการควบคุม
กระบวนการ

• กระบวนการทีต้ ่ องการควบคุม ( Process )


• อุปกรณ์ตรวจวัดระด ับของเหลว ( Level
Transmitter ) LT
• อุปกรณ์ควบคุมระด ับของเหลว ( Level
Controller ) LC
• วาล ์วควบคุม ( Control Valve ) LV
การควบคุมกระบวนการต้องประกอบด้วย
องค ์ประกอบสาค ัญ 4 ส่วน

1 ) กระบวนการ ( Process )
2 ) การวัด ( Measurement )
3 ) การเปรียบเทียบ ( Comparison ) และการ
ประเมินค่า ( Evaluation )
4 ) การควบคุม ( Control )
บล็อกไดอะแกรมแสดงองค ์ประกอบสาคัญในการ
ควบคุมกระบวนการ

สัญญาณรบกวน

่ งไว้
ค่าทีตั ้ การเปรียบเทียบ การควบคุม
กระบวนการ สภาพกระบวนการ
( Set point ) ( Comparison ) ( Control ) (
Process ) ( Out put )

การว ัด
( Measurement )
กระบวนการ ( Process )

• กระบวนการ หมายถึง
การทางานอ ันประกอบด้วยการนาเอา

เครืองมื ่
อ เครืองจักร อุปกรณ์
วัตถุดบ ่
ิ มาใช้งานร่วมกัน เพือให้บรรลุ
เป้ าหมาย หรือว ัตถุประสงค ์
ทีต้่ องการ
การวัด ( Measurement )

่ กคือ
• องค ์ประกอบในการวัดมีหน้าทีหลั
คอยตรวจวัดค่าของสภาพกระบวนการจริง
ทางด้านเอาต ์พุตของระบบ

จากนันจะท ่
าการเปลียนค่ ่
าทีวัดได้ ให้อยู ่ใน
รู ปของสัญญาณ แอนะล็อก
( Analog Signal ) หรือ สัญญาณดิจท ิ ล ั (

Digital Signal ) เพือให้
กระบวนการนาไปเปรียบเทียบกับค่าทีต ่ งไว้
้ั
การเปรียบเทียบ ( Comparison ) และ
การประเมินค่า ( Evaluation )


• ขันตอนการประเมิ นค่า เกิดจากการนาเอา
่ จากการวัดมาเปรียบเทียบกับค่าทีต
ค่าทีได้ ่ งไว้
้ั

แล้วสร ้างเป็ นสัญญาณควบคุมทีเหมาะสม
• องค ์ประกอบสาค ัญในการประเมินค่า คือ
- อุปกรณ์เปรียบเทียบสัญญาณ (
Comparator )
- อุปกรณ์ควบคุม ( Controller )
องค ์ประกอบสาค ัญในการเปรียบเทียบและ
ประเมินค่า

การเปรียบเทียบ
การ อุปกรณ์
่ ้ เปรียบเทียบ ควบคุม ่ ้
ค่าทีตงไว้
ั การเปรียบเทียบ ค่าทีตงั
ไว้ อุปกรณ์ควบคุม
( Comparison )

อุปกรณ์เปรียบเทียบสัญญาณ
การควบคุม ( Control )

• การควบคุมเป็ นอุปกรณ์ต ัวสุดท้าย ( Final


Control Equipment )


ทาหน้าทีคอยควบคุ ่ กระบวนการ
มและสังให้
ทางานตามเป้ าหมาย
โดยร ับสัญญาณอินพุตมาจากอุปกรณ์

ควบคุม แล้วเปลียนเป็ นสัญญาณที่ เหมาะสม
สาหร ับควบคุมกระบวนการ
แผนภาพการวัดและกระบวนการ

• แผนภาพการว ัดและกระบวนการ ( Process


and Instrumentation Drawing ) หรือ
แผนภาพ P & ID

• เป็ นแผนภาพทีใช้่ อธิบายการทางานของ


กระบวนการผลิตทางอุตสาหกรรมทุกชนิ ด

ซึงจะช่วยให้ผูค
้ วบคุมกระบวนการสามารถ
ทางานได้อย่างมีประสิทธิภาพมากขึน้
วิธก
ี ารควบคุมกระบวนการ (
Process Controlling )
• ระบบควบคุมกระบวนการ คือ
ความพยายามทาให้ระบบ หรือกระบวนการ
ภายใต้การควบคุมมีการทางานเป็ นไปตาม
่ องการอย่างมีเสถียรภาพ และ
เป้ าหมายทีต้
ประสิทธิภาพมากทีสุ ่ ด หรือ
ต้องพยายามทาให้ผลตอบสนองของระบบต่อ
สัญญาณอินพุต มีความรวดเร็วและต้อง
สามารถขจัดค่าความคลาดเคลือนที ่ ่ ดขึนใน
เกิ ้
ระบบ ให้มค
ี า่ เป็ นศูนย ์หรือ ใกล้เคียงกับศูนย ์
ให้ได้

ค่าความคลาดเคลือนของระบบ (
System Error )


ค่าความคลาดเคลือนของระบบ คือ
ค่าผลต่างระหว่างค่าเป้ าหมายทีตั ้
่ งไว้ กับค่า
สภาพกระบวนการจริงทีได้ ่ จากการควบคุม
บล็อกไดอะแกรมของการควบคุม
กระบวนการ
อุปกรณ์เปรียบเทียบสัญญาณ สัญญาณ
รบกวน

อุปกรณ์ กระบวนก
่ งไว้
้ั ควบคุม าร
ค่าทีต
สภาพกระบวนการ

( ผลตอบสนองของกระบวนการ )
การวัด

การวัด
ผลตอบสนองของกระบวนการ (
System Response )

• ผลตอบสนองของระบบทีดี ่ และมีเสถียรภาพ
แบ่งได้เป็ น 2 ลักษณะ

่ มก
1 ) ผลตอบสนองทีไม่ ี ารหน่ วง (
Undamped )

่ การหน่ วง ( Damped )
2 ) ผลตอบสนองทีมี
การออกแบบลู ปควบคุมกระบวนการ
( Control Loop Design )

• ลู ป ( Loop )
หมายถึง การทากิจกรรมใด ๆ ทีมี ่ ลก
ั ษณะ
่ น และ จุดท้าย มาบรรจบกัน หรือ
ของจุดเริมต้
่ กจ
การทากิจกรรม ทีมี ่
ิ กรรมเคลือนที ่ น
เป็
วงกลม
การออกแบบลู ปควบคุมกระบวนการ
( Control Loop Design )

่ นปั จจัย ทีต้


• ตัวแปรสาคัญทีเป็ ่ องนามา
พิจารณาประกอบในการออกแบบ
ประกอบด้วย
ค่าความคลาดเคลือน่ ( Maximum Error )

ค่าความคลาดเคลือนออฟเซต ( Offset
Error )
บริเวณความคลาดเคลือน ่ ( Error Area )
ช่วงเวลาปร ับสมดุล ( Setting Time )
วิธก
ี ารควบคุมกระบวน

• วิธกี ารควบคุมกระบวนการ แบ่งได้


เป็ น 2 ลักษณะ

1 ) การควบคุมกระบวนการด้วยมือ (
Manual Control )

2 ) การควบคุมแบบอ ัตโนมัต ิ ( Automatic


วิธก
ี ารควบคุมกระบวน
• วิธก
ี ารควบคุมกระบวนการแบ่งได้ 5 วิธ ี
1 ) การควบคุมแบบปิ ด – เปิ ด ( On/Off Control )
2 ) การควบคุมแบบพี ( Proportional Control
หรือ P Control )
3 ) การควบคุมแบบพีไอ ( Proportional plus
Integral Control
หรือ PI Control )
4 ) การควบคุมแบบพีด ี ( Proportional plus and
Derivative Control
หรือ PD Control )
5 ) การควบคุมแบบพีไอดี (Proportional -
Integral - Derivative Control
ลู ปควบคุมกระบวนการ ( Process
Control Loop )

• ลู ปควบคุมกระบวนการแบ่งได้เป็ น 2 รู ปแบบ
คือ
1 ) ลู ปควบคุมป้ อนกลับ ( Single – loop
Feedback Control )
้ ง ( Advanced Control
2 ) ลู ปควบคุมขันสู
Loop )
2.1 ) ลู ปควบคุมแบบคาสเคด (
Cascade )
ลู ปควบคุมแบบป้ อนกลับ ( Single – loop
Feedback Control )

• สภาพกระบวนการ ( Process
Variable / PV )
จะถูกตรวจสอบด้วยเซนเซอร ์ และส่งกลับมา

เพือเปรี
ยบเทียบกับค่าทีต ่ งไว้
้ั ( Set Point /
่ าการสร ้างให้เกิดเป็ นสัญญาณ
SP ) เพือท
คลาดเคลือน่ ของกระบวนการ เพืออุ ่ ปกรณ์

ควบคุมกระบวนการจะสังการให้ วาล ์วควบคุม
ทาการปร ับแต่งให้สภาพกระบวนการเป็ นไป
บล็อกไดอะแกรมของลู ปควบคุม
ป้ อนกลับ
สัญญาณปร ับแต่ง
อุปกรณ์
วาล ์ว กระบว
ควบคุ
( Manipulated ม
Variable ) ควบคุ น
กระบวนกา
ม การ
่ งไว้
้ั ร
ค่าทีต
สภาพกระบวนการ
อุปกรณ์ส่ง
สัญญาณ เซนเซอร ์

อุปกรณ์ส่งสัญญาณ
เซนเซอร ์
อุปกรณ์ควบคุมกระบวนการ (
Process Controller )

• อุปกรณ์ควบคุมกระบวนการมีดว้ ยกัน 3 แบบ


ตามลักษณะโครงสร ้าง
1 ) แบบทางกล ( Mechanical )
2 ) แบบนิ วเมติก ( Pneumatic )
3 ) แบบอิเล็กทรอนิ กส ์ ( Electronic )

บล็อกไดอะแกรมแสดงหน้าทีการท างานภายใน
อุปกรณ์ควบคุมกระบวนการของลู ปป้ อนกลับ
อุปกรณ์ควบคุมกระบวนการ
สัญญาณปร ับแต่ง ระบบ
่ั
ฟั งก ์ชน
ส่งผ่าน
การ
สัญญาณ สภาพ
ควบคุม
output
ระบบ กระบวนก
อุปกรณ์ าร
ส่งผ่าน
เปรียบเทียบ
สัญญาณ
สัญญาณ
Input กระบ
วาล ์ว
วนกา
่ งไว้
้ั ควบคุม
ค่าทีต อุปกรณ์ ร
ส่ง เซนเซ
สัญญา อร ์

ผลตอบสนองเชิงเวลาของลู ปควบคุม
ป้ อนกลับ

• ผลตอบสนองเชิงเวลา ( Time Response )


เกิดจากผลรวมของผลตอบสนองเชิงเวลา
ขององค ์ประกอบต่าง ๆ เข้าด้วยกันไว้ เช่น
เซนเซอร ์ อุปกรณ์ควบคุม หรือ กระบวนการ
้ ง ( Advanced
ลู ปควบคุมขันสู
Control Loop )

้ งแบ่งได้เป็ น 3 แบบ
• ลู ปควบคุมขันสู
คือ
1 ) ลู ปควบคุมแบบคาสเคด ( Cascade
Control Loop )
2 ) ลู ปควบคุมแบบสัดส่วน ( Ratio Control
Loop )
3 ) ลู ปควบคุมแบบส่งผ่าน ( Feedforward
Control Loop )
ลู ปควบคุมแบบคาสเคด ( Cascade
Control Loop )

• ลู ปควบคุมแบบคาสเคด
ดัดแปลมาจากลู ปควบคุมแบบป้ อนกลับ โดย
่ ปป้ อนกลับเข้าไปในกระบวนการอีกลูป
เพิมลู
หนึ่ง เพือช่
่ วยในการตรวจสอบสภาพ
กระบวนการรอง ( Intermediate Controlled
Variable )
การควบคุมอุณหภู มแ
ิ ละความดันโดยใช้
ลู ปควบคุมแบบคาสแคด
TE
10
TIC SP 0
10
0

Outfl
PT PV ow
10 10
0 0

Furna
Fue ce
Inflo
l
w
การควบคุมอุณหภู มแิ ละอ ัตราการไหลโดยใช้
ลู ปควบคุมแบบคาสแคด
TE
10
FIC TIC SP 0
10 10
0
0
Outfl
FT FV ow
10 10
0 0

Furna
Fue ce
Inflo
l
w
FE
10
0
ลู ปควบคุมแบบสัดส่วน (
Advanced Control Loop )

• ลู ปควบคุมแบบสัดส่วน
ใช้กระบวนการทีต้ ่ องเอานาปริมาณทาง
ฟิ สิกส ์ 2 ชุด หรือมากกว่ามาผสมกัน แล้วทา
การร ักษาสถานะของส่วนผสมทีได้ ่ นนไว้
้ั
ลู ปควบคุมแบบสัดส่วน
Uncontrolled Flow
Air
Air200
FE FT
20 FFI
0
C
FT 10
FE 0 FV
10
100 0 100

Fuel
Fuel
ลู ปควบคุมแบบส่งผ่าน (
Feedforward Control Loop )

• ลู ปควบคุมแบบส่งผ่าน ระบบการว ัดภายใน


ประกอบด้วยเซนเซอร ์เป็ นอุปกรณ์สาคัญ ทา

หน้าทีตรวจสอบการเปลี ่
ยนแปลงค่ าโหลดของ
กระบวนการ หรือสัญญาณรบกวน และส่งให้
หน่ วยประมวลผลของระบบ ซึงทั ่ วไปคื
่ อ
่ านวณประมวลผล และ
คอมพิวเตอร ์ เพือค
ต ัดสินใจสร ้างสัญญาณควบคุมเอาต ์พุตที่
เหมาะสมต่อการปร ับสภาพกระบวนการที่

เปลียนแปลง

บล็อกไดอะแกรมพืนฐานของ
ลู ปควบคุมแบบส่งผ่าน
การ

เปลียนแปลค่
าโหลด
ระบบการวัด
ส่วนการ (
(
Load Change )
คานวณและ
Measurem
ต ัดสินใจ
ent )
่ งไว้
ค่าทีต ้ั
อิน กระบวนก
( Set Point ) าร
พุต
Inp ( Process เอาต ์
ut ) พุต
Outp
วาล ์วควบคุม ut
การตรวจวัดความดันและการ
ประยุกต ์ใช้


• หลักพืนฐานในการตรวจว ัด คือ

ความพยายามทีจะเปลี ่
ยนความด ันที่
ตรวจวัดได้ให้กลายเป็ นสัญญาณทางกล หรือ

สัญญาณทางไฟฟ้า ทีสามารถน าไปบ่งชี ้

แสดงผล หรือประมวลผลในขันตอนต่ อไป
คุณสมบัตค
ิ วามดัน
• ความดัน ( Pressure ) คือ
ปริมาณทางฟิ สิกส ์ประเภทหนึ่ง ซึงเกิ
่ ดจาก
ผลของแรงกระทาทางกล ต่อ พืนผิ ้ วของวัตถุ
หรือ
อธิบายความสัมพันธ ์ด้วยสมการได้ด ังนี ้
P = F/A

่ P คือ ความดัน / F คือ แรงกระทาทาง


เมือ
้ หน้
กล / A คือ พืนที ่ าต ัด
หน่ วยวัดความดัน

• หน่ วยว ัดความด ัน


ในระบบอ ังกฤษ ( English System ) มี

หน่ วยเป็ น ปอนด ์ต่อตารางนิ ว
ในระบบ SI ( International System of
Units ) มีหน่ วยเป็ น
นิ วตันต่อตารางเมตร N/M2
ความดันของของเหลว

ความด ันของของเหลว

ณ จุดต่างๆ เมือเที ยบความสู งกับ
ระด ับน้ าทะเล ( Sea Level ) จะมีคา
่ ความดัน
ต่างๆ ก ัน คือ หากระด ับความสู งมากกว่า
ระด ับน้ าทะเล ความด ันอากาศจะตา ่ ในทาง

กลับกัน หาก ระด ับความสู งตากว่ า
ระด ับน้ าทะเล ความด ันอากาศจะสู งมากขึน ้
ความดันของก๊าซ
่ ดจากการขยายต ัวของก๊าซมี
• ความด ันซึงเกิ
สาเหตุจาก 2 ปั จจัย คือ
1 ) ปริมาตรของภาชนะทีบรรจุ่ กา๊ ซ
2 ) อุณหภู มข ิ องก๊าซ
กฎของ
บอยล ์
่ ณหภู มข
“ เมืออุ ิ อง
่ ว ความด ันของ
ก๊าซคงทีแล้

ก๊าซทีกระท ากับผนังภายในภาชนะบรรจุ
จะมีคา่ แปรผกผันก ับ
ความดันของก๊าซ

• ความสัมพันธ ์ระหว่างความด ันของก๊าซ กับ



อุณหภู มเิ มือปริ มาตรมีคา ่ น
่ คงทีนั ้ จะมี
คุณสมบัตเิ ป็ นไปตามกฎของชาร ์ล

คือ เมือปริ มาตรของก๊าซมีคา ่ ว
่ คงทีแล้
ความด ันของก๊าซจะแปรเป็ นสัดส่วนโดยตรง
กับอุณหภู มข ้
ิ องก๊าซนัน
ความดังสัมบู รณ์ และ ความดน
ั เกจ

• ความด ันสัมบู รณ์ ( Absolute Pressure , Pa )



คือ ความด ันทีวัดอ้ างอิงจากระด ับความด ัน ณ
อุณหภู มศ
ิ ูนย ์สัมบู รณ์ ( Zero Absolute )
หรือ ความด ันในสภาวะสุญญากาศ ( Total
Vacuum )

• ความด ันเกจ ( Gauge Pressure ) คือ ความ



ด ันทีวัดอ้
างอิงกับความด ันบรรยากาศ (
Atmospheric Pressure , Patm )
มาโนมิเตอร ์ ( Manometer )

• มาโนมิเตอร ์
ื้
เป็ นอุปกรณ์พนฐานที ่ สาหร ับตรวจวัด
ใช้
ความด ัน หรือใช้เป็ นอุปกรณ์สาหร ับ
เปรียบเทียบ ( Calibration ) อุปกรณ์ความ

ด ันชนิ ดอืนในกระบวนการทางอุ ตสาหกรรม
เกจตรวจวัดความดัน ( Pressure
Gauge )
• เกจตรวจวัดความดัน คือ เซนเซอร ์หรือ
่ ในกระบวนการ
อุปกรณ์ตรวจวัดความด ันทีใช้
อุตสาหกรรม
• ประกอบด้วยโครงสร ้างหลัก 2 ส่วน คือ
1 ) ส่วนแสดงผล ( Indicator )
2 ) อุปกรณ์ความดัน ( Pressure Element )
ทาหน้าทีเปลี ่
่ ยนความดันที ่
มากระท ากับตัว
มันให้กลายเป็ นแรงทางกล
่ าให้เกิดการเปลียนแปลงระยะกระจั
เพือท ่ ด

เกจตรวจวัดความดัน
อุปกรณ์ความดัน มีอยู ่ดว้ ยกัน 3 ชนิ ด
คือ
1 ) ท่อบู ร ์ดอง ( Bourdon Tube )

2 ) แผ่นไดอะแฟรม ( Diaphragm )

3 ) เบลโล ( Bellow )
ท่อบู ร ์ดอง

• โครงสร ้างภายในท่อบู ร ์ดอง เป็ นรู ปตัว


่ ปลายด้านหนึ่งต่ออยู ่ก ับท่อร ับความดัน
ซึงมี
และปลายอีกด้านหนึ่งยึดติดลายไกของเข็มชี ้
แสดงผล


ดังนัน ่ การป้ อนความดันจากภายนอก
เมือมี
ให้ก ับเกจ จึงทาให้ท่อบู ร ์ดอง

มีการเปลียนรู ปทรงตามสัดสัดของความดน ั
่ าลังตรวจอยู ่ และส่งผลให้เกิดเป็ นระยะ
ทีก
แผ่นไดอะแฟรม
• เป็ นอุปกรณ์ ความดันชนิ ดหนึ่ งทีมี
่ ลก
ั ษณะเป็ นแผ่น

บางทีสามารถยื ดหยุ่นได ้ตามแรงกระทาทางกลอัน
เกิดจากความดัน

• สาหร ับการนาไปใช ้งานโดยนาแผ่นไดอะแฟรมสอง


้ ปในลักษณะแคปซูล แล ้วนามาเชือมต่
แผ่นมาขึนรู ่ อ
่ ้ทาหน้าทีคล
กันหลายแคปซูล เพือให ่ ้ายสปริงทีมี
่ การ

ยืดตัวตามความดันทีมากระท า
เบลโล ( Bellow )
• เบลโล เป็ นอุปกรณ์ความดันทีส่ าคัญอีกแบบ มี
ลักษณะการขึนรู้ ปเป็ นทรงกระบอก คล้ายหีบ
เพลง ( Accordion ) โดยระยะกระจ ัดของตัว

เบลโล จะมีการเปลียนแปลงไปตามความดัน

ทีมากระท า หลักการตรวจวัดความด ันโดยใช้
่ ความด ันมากระทากับตัวเบลโล จะ
เบลโล เมือมี

ทาให้เกิดการเปลียนแปลงระยะกระจัดขึ ้ ่
นที

ตัวเบลโล และมีการเชือมต่ อไปยังหน่ วย
แสดงผล
อุปกรณ์ส่งค่าความดัน

• อุปกรณ์ส่งค่าความด ันส่วนใหญ่มก ั อาศ ัยวงจร


อิเลคทรอนิ กส ์ในการสร ้างสัญญาณไฟฟ้า
เอาต ์พุต ให้อยู ่ในรู ปของกระแสไฟฟ้า หรือ
แรงด ันไฟฟ้า มีขอ ้ ดี คือ สามารถส่งสัญญาณ
การตรวจวัดไปยังอุปกรณ์บน ั ทึกผล และ
แสดงผล หรือห้องควบคุมทีอยู ่ ่ห่างออกไปได้
พร ้อมก ัน
อุปกรณ์ส่งค่าความดัน

• อุปกรณ์ส่งค่าความด ันมีหลายแบบ เช่น


แบบโพเทนชิออมิเตอร ์ ( Potentiometer
Type )
แบบแปรค่าความจุไฟฟ้า ( Variable
Capacitance Type )
แบบแปรค่าความเหนี่ยวนา ( Variable
Inductance Type )
แบบสเตรนเกจ ( Strain Gauge Type )
อุปกรณ์สง่ ค่าความด ันแบบโพเทนชิออ
มิเตอร ์

• หลักการทางานของอุปกรณ์ส่งค่าความด ัน

แบบใช้โพเทนชิออมิเตอร ์ ซึงประกอบด้ วย
เกจตรวจวัดความดันโดยใช้แคปซูลไดอะแฟร

มต่อเชือมกับโพเทนชิออมิเตอร ์ ผลจากความ

ด ันทีตรวจวัดทางอิ
นพุตของเกจทาให้เกิดการ

เปลียนแปลงระยะกระจัดขึ ้ ต
นที ่ ัวแคปซูล
ไดอะแฟรม
อุปกรณ์สง่ ค่าความด ันแบบแปรค่า
ความจุไฟฟ้า


• หลักการพืนฐาน จะอาศ ัยแผ่นเพลตตัวนาสอง
่ นต ัวเก็บความจุไฟฟ้า ทีมี
แผ่น ทาหน้าทีเป็ ่ คา ่

ความจุไฟฟ้าแปรเปลียนไปตามระยะห่ าง
ระหว่างแผ่นเพลตทังสอง ้ เนื่องจากระยะห่าง
ระหวางแผ่นเพลตต ัวนาทังสองมี ้ คา ้
่ ขึนอยู ่ก ับ

การาเปลียนแปลงระยะกระจัดของเบลโล ไป
ตามค่าความด ันจากภายนอก จึงทาให้คา ่
่ มค
ความจุไฟฟ้าทีได้ ี า ่
่ เปลียนแปลงเป็ นสัดส่วน
กับค่าความด ันทีก่ าลังตรวจวัด
อุปกรณ์สง่ ค่าความด ันแบบแปรค่า
ความเหนี่ ยวนา

• โครงสร ้างหลัก คือ แม่เหล็กถาวรทาหน้าที่


สร ้างสนามแม่เหล็ก และแผ่นไดอะแฟรมทา

หน้าทีเปลี ่
ยนแปลงการเหนี ่ยวนา การทางาน

จะอาศ ัยผลต่างระหว่างความด ัน อินพุต เพือ
ทาให้ไดอะแฟรมเกิดการโค้งงอ หรือมีการ

เปลียนแปลงระยะกระจัดขึ ้

อุปกรณ์สง่ ค่าความด ันแบบสเตรนเกจ

• สเตรนเกจ ( Strain Gauge ) คือเซนเซอร ์ที่


ใช้ตรวจวัดความเครียดบนวัตถุ อ ันเนื่องมาก
่ ดจากความด ัน
จากแรงกระทาทางกล ซึงเกิ
อุปกรณ์สง่ ค่าความด ันแบบสเตรนเกจ

• โครงสร ้างของสเตรนเกจ ทาจากขดลวด


ตัวนาประกบด้วยแผ่นฟิ ล ์มบาง แล้วนาไปยึด
ี่ องการตรวจสอบค่าความเครียด
ติดกับวัตถุทต้
่ ดจากแรงกระทาต่อพืนที
ทีเกิ ้ ่ เมือเกิ
่ ด

ความเครียดขึนบนวัตถุ ค่าความต้านทาน
ภายในของสเตรนเกจจะมีการเปลียนแปลง่
ตามไปด้วย
การตรวจว ัดระด ับของเหลวภายในถ ัง
บรรจุแบบเปิ ด
กินไก่ปิ้ง
กันคร ๊าบ
?
การตรวจวัดระดับของเหลวในถังบรรจุแบบ
เปิ ดโดยใช้อป
ุ กรณ์ส่งค่าความดันผลต่าง

ติดตังในแนวเดียวกับเซนเซอร ์ตัวล่าง
ความดน
ั บรรยากาศ

เซนเซอร ์ต ัวบน
LMax

Transmitter
SG = 0.95
เซนเซอร ์ตัว
ล่าง 4mA- 20mA
LMin

High
การตรวจวัดระดับของเหลวภายในถังบรรจุ
แบบเปิ ด โดยใช้อป
ุ กรณ์ส่งค่าความดัน

ผลต่างติดตังในแนวต ่
ากว่
าเซนเซอร ์ต ัวล่าง
ความดันบรรยากาศ
เซนเซอร ์ตัวบน
Lmax

SG = 0.95 เซนเซอร ์ตัวล่าง

4 mA – 20 mA
Lmin
d
dP Trasmitter High Low
การตรวจวัดระด ับของเหลวภายในถ ังบรรจุแบบ
ุ กรณ์ส่งค่าความด ันผลต่างติดตง้ั
ปิ ด โดยใช้อป
ในแนวเดียวกับเซนเซอร ์ตัวล่าง
ความดันสถิตย ์

เซนเซอร ์ตัว
บน
LMax

SG = 0.95
เซนเซอร ์ตัว
ล่าง dP Transmitter
LMin

High
Low
การตรวจวัดระด ับของเหลวภายในถ ังบรรจุแบบ
ปิ ด โดยใช้ SGw และอุปกรณ์ส่งค่าความดัน
้ั
ผลต่างติดตงในแนวเดี ยวกับเซนเซอร ์ต ัวล่าง
ความดันสถิตย ์

เซนเซอร ์ตัว
บน SGw = 1.2
LMax

SG = 0.95
เซนเซอร ์ตัว
ล่าง dP Transmitter
LMin

High
Low
การตรวจวัดระด ับของเหลวภายในถ ังบรรจุแบบ
ปิ ด โดยใช้ SGwและอุปกรณ์ส่งค่าผลต่างติดตง้ั

ในแนวตากว่ าเซนเซอร ์
ความดันสถิต
Lmax
SGw

SG = 0.95 h

Lmin
d
dP Transmitter
High Low
การวัด และ การควบคุมอุณหภู ม ิ

• อุณหภู ม ิ ( Temperature ) คือ



หน่ วยการวัดและบ่งชีระดับพลั
งงานความ
่ ดจากการ
ร ้อน ( Thermal Energy ) ซึงเกิ

เคลือนที ่
ของโมเลกุลภายในสสาร อ ัน
เนื่องมาจากพลังงานจลน์ ( Kinetic Energy )
ของสสารเอง
การตรวจวัดอุณหภู ม ิ

• การตรวจวัดอุณหภู มใิ นระบบควบคุมอ ัตโนมัต ิ


่ การป้ อนกลับสัญญาณนัน
ทีมี ้ สามารถกระทา
้ั
ได้โดย การติดตงเซนเซอร ่
์ หรือเครืองมื
อวัด
ี่
อุณหภู ม ิ ไว้ทแหล่ งกาเนิ ดความร ้อน หรือ
อุปกรณ์ควบคุมกระบวนการ ( Controller )
หรือโหลดของระบบ ( System Load )
หน่ วยการวัดอุณหภู ม ิ

• หน่ วยการว ัดอุณหภู มม


ิ ด
ี ว้ ยก ัน 4
รู ปแบบ คือ
1 ) ฟาเรนไฮต ์ ( Farenheit )
2 ) เซียลเซียส ( Celsius )
3 ) เคลวิน ( Kelvin )
4 ) แรงคิน ( Rankine )
หน่ วยการวัดอุณหภู ม ิ

• หน่ วยการวัดอุณหภู ม ิ อาศ ัย


หลักการเปรียบเทียบอุณหภู มก ิ ับ
จุดอ้างอิงคงที่ 2 จุด คือ จุดเดือด
และ จุดเยือกแข็ง
หน่ วยการวัดอุณหภู ม ิ

• การกาหนดจุดเดือด และ จุดเยือกแข็ง


ของหน่ วยวัดอุณหภู ม ิ
1 ) ฟาเรนไฮต ์ จุดเดือด = 212 ๐
จุดเยือกแข็ง = 32 ๐
2 ) เซียลเซียส จุดเดือด = 100 ๐
จุดเยือกแข็ง = 0 ๐
3 ) เคลวิน จุดเดือด = 373.15 ๐
จุดเยือกแข็ง = 273.15 ๐
สมการความสัมพันธ ์ระหว่างหน่ วย
การวัดอุณหภู ม ิ

1 ) T ( ๐K ) = T ( ๐C ) +
237.15
2 ) T ( F ) = ( 9/5 × T (
๐ ๐

C ) ) + 32 ๐
3 ) T (๐ C ) = 5/9 × ( T (๐ F
เทอร ์โมมิเตอร ์ระบบเติม

• เนื่องจากคุณสมบัตท ิ างกายภาพของสสาร

หลายชนิ ด มีการเปลียนแปลงไปตามอุ ณหภูม ิ
เทอร ์โมมิเตอร ์ระบบ ได้นาเอาคุณสมบัต ิ

ด ังกล่าวมาเป็ นหลักพืนฐานในการตรวจวัด

การเปลียนแปลงอุ ณหภู ม ิ
เทอร ์โมมิเตอร ์ระบบเติม
• โครงสร ้างของเทอร ์โมมิเตอร ์
กระเปาะเติม
( Filled – bulb Thermometer )

มีองค ์ประกอบสาค ัญ คือ กระเปาะเติมภายใน


บรรจุดว้ ยของเหลวหรือ ก๊าซ ต่อรวมกับท่อ

บู ร ์ดอง ซึงภายในเป็ นสุญญากาศ เมือ ่

อุณหภู มเิ ปลียนแปลง ก็จะเกิดความด ังส่งผ่าน

ไปยังท่อบู ร ์ดอง ทาให้เกิดการเปลียนแปลง
เทอร ์โมมิเตอร ์กระเปาะเติม
.

ท่อบู ร ์ดอง
ภายในเป็ น
สเกล
สุญญากาศ
อุณหภู ม ิ

กระเปาะภายใน
บรรจุของเหลว
หรือก๊าซ
เทอร ์โมมิเตอร ์แบบโลหะคู ่

• โครงสร ้างของเทอร ์โมมิเตอร ์แบบโลหะคู ่ (


Bimetallic Thermometer )
ประกอบด้วยแผ่นโลหะสองแผ่นทีมี ่

สัมประสิทธิในการขยายต ัวต่างๆ มาประกบ
่ ณหภู มริ อบข้างเปลียนแปล
เข้าด้วยกัน เมืออุ ่

ทาให้โลหะเกิดการโค้งงอ ซึงผลของการโค้งจะ
กระทาก ับสเกลแสดงค่าอุณหภู ม ิ
เทอร ์โมมิเตอร ์แบบโลหะคู ่
.
สเกลแสดงค่า
อุณหภู ม ิ
โลหะ A

โลหะ B
เทอร ์โมคับเปิ ล
• เทอร ์โมอิเล็กทริก ( Thermoelectric )
คือ คุณสมบัตก ่
ิ ารเปลียนพลังงานความร ้อน
ให้กลายเป็ นพลังงานไฟฟ้า เรียกว่า
ปรากฎการณ์ซเี บค ( Seebeck EffectVolt )
meter
Cu

Hot C
Junction
RTD ( Resistance Temperature
Detector )
• RTD เป็ นเซนเซอร ์ตรวจวัดอุณหภู ม ิ โดยใช้
คุณสมบัตข ิ องต ัวต้านทานไฟฟ้า
โครงสร ้าง ประกอบด้วยลวดตัวนาพันรอบ
แท่งฉนวนบรรจุอยู ่ภายในฝาครอบป้ องกัน ผล

ของการเปลียนแปลงของค่ าความต้านทาน
ของ RTD เนื่องจากอุณหภู ม ิ ทาให้แรงด ันตก

คร่อมเปลียนแปลงไปด้ ่
วย ซึงสามารถ
ตรวจสอบได้โดยใช้โวลท ์มิเตอร ์
โครงสร ้างของ RTD
. Volt สเกล
Meter แสดงผลใน
หน่ วย
แท่ง อุณหภู ม ิ
เซรามิก

ลวด
ตัวนา

อุปกรณ์ให้
ความร ้อน
เทอร ์มิสเตอร ์

• เทอร ์มิสเตอร ์ ( Thermistor )


่ ัวนา อาศ ัยคุณสมบัต ิ
ทาจากวัสดุสารกึงต
ระหว่างค่าความต้านทานทางไฟฟ้ากับ
อุณหภู มริ อบข้าง
ไอซี ตรวจวัดอุณหภู ม ิ

• ไอซี ตรวจว ัดอุณหภู ม ิ


เป็ นเซนเซอร ์ตรวจวัดอุณหภู ม ิ อีกลักษณะ
หนึ่งซึงอยู
่ ่ คา
่ในรู ปแบบวงจรรวม ซึงมี ่ ความ

เทียงตรงสู ง แม่นยามาก และใช้ง่ายและ
สะดวก
การวัดและควบคุมระดับของ
กระบวนการ
• การวัด และ ควบคุมระดบ
ั ของ
กระบวนการ
คือ หลักการตรวจวัด และ ควบคุมระดับ ของ
ผลิตภัณฑ ์ในกระบวนการทางอุตสาหกรรม
และครอบคลุมถึงวัตถุดบ ิ ในอุตสาหกรรมหลาย
ชนิ ด เช่น แป้ ง เม็ดพลาสติก หรือน้ ามัน
อุปกรณ์ตรวจวัดระดับแบบไซน์

• อุปกรณ์ตรวจวัดระด ับแบบไซน์ ( Sight-


type Instrument )
มีอยู ่ 3 ชนิ ด 1 ) เกจไซต ์กลาส ( Sight
Glass Gauge )
2 ) แบบดิสเพลชเซอร ์ (
Displacer )
3 ) แบบลู กลอย ( Float
Type )
เกจไซต ์กลาส ( Sight Glass
Gauge )

• เกจไซต ์กลาสเป็ นเซนเซอร ์สาหร ับตรวจวัด



ระด ับของเหลวทีบรรจุ อยู ่ภายในถัง
กระบวนการ ( Process Tank )
อาศ ัยหลักการทางานเช่นเดียวกับ มาโน

มิเตอร ์ คือ เมือระด ับของเหลวในถัง

เปลียนแปลง ระด ับของเหลวในท่อเกจก็จะ

เปลียนแปลงไปด้ วย
เกจไซต ์กลาส ( Sight Glass
Gauge )

• มีอยู ่ 2 แบบ คือ


แบบทิวบู ลา ( Tubular ) และ แบบแฟลต (
Flat )
ทามาจากวัสดุจาพวกแก้ว หรือพลาสติก ที่
มีลก ั ษณะโปร่งใส สามมารถมองเห็นของเหลว

ทีบรรจุ อยู ่ภายในได้ และทนต่อความด ันภายใน
ได้ด ี
เกจไซต ์กลาสแบบทิวบู ลา
. ปลายท่อ สเกล
เปิ ด อ่านค่า

แบบถัง แบบถัง
เปิ ด ปิ ด
เกจไซต ์กลาสแบบแฟลต
.
วาล ์ว
มือ

เกจไซต ์กลาส
แบบแฟลต

ท่อ
ระบาย
อุปกรณ์ตรวจวัดระกับแบบเพลซ
เซอร ์

• หลักการทางานของอุปกรณ์ตรวจวัดระดับ
แบบดิสเพลซเซอร ์
อาศ ัยทฤษฎีของอาร ์คีมด
ี ส
ิ ( Archimedes
Theory )
ี่ ม
คือ แรงลอยตัวหรือแรงกระทากับวัตถุทจุ ่
่ วต
ลงไปในของเหลวเพือให้ ั ถุลอยตัวได้ใน

ของเหลวจะมีคา่ เท่ากับนาหนั กของของเหลว

นัน
หลักการตรวจวัดระดับแบบดิส
เพลซเซอร ์
. สเกล
อ่านค่า

ดิสเพลซ
เซอร ์
อุปกรณ์ตรวจวัดระดับแบบลู กลอย


• การใช้ลูกลอยเพือตรวจว ัดระด ับของ
กระบวนการ
่ ในกระบวนการนันมี
ลู กลอยทีใช้ ้ ทงแบบที
้ั ่
เป็ นทรงกระบอก และทรงกลม

ซึงการใช้ งานจะนาลู กลอยไปลอยใน

กระบวนการเพือตรวจสอบระด ับของ
กระบวนการโดยตรง
อุปกรณ์ตรวจวัดระดับแบบลู กลอย
. สเกล (
้ )
นิ ว

High
Level Low
Level
อุปกรณ์ตรวจวัดระดับแบบใช้ความ
ดัน

อุปกรณ์ตรวจวัดระด ับแบบใช้ความดัน(
Pressure – Type Instrument )

โดยอาศ ัยเทคนิ คพืนฐานของการวัดค่าความ
ดัน 3 เทคนิ ค คือ
1 ) แบบใช้คา่ ความดันผลต่าง (
Differential Pressure )
2 ) แบบใช้ฟองอากาศ ( Bubbler )
3 ) แบบใช้แผ่นไดอะแฟรม ( Diaphragm )
การตรวจวัดระดับแบบใช้ความดัน
ผลต่าง


• ความด ันของของเหลวทีบรรจุ อยู ่

ภายในถ ังกระบวนการนันจะมี คา
่ แปร
ผันเป็ นสัดส่วนโดนตรงก ับค่าความ
ถ่วงจาเพาะ และระด ับความสู งของ
ของเหลวเอง
การตรวจวัดระดับของเหลวภายใน
ถังเปิ ด
. ความด ัน
บรรยากาศ

dP สัญญาณเอาต ์พุต
Transmitte ่ คา
ทีมี ่ เป็ นสัดส่วน
r โดยตรงกับระดับ
ของของเหลว
ภายในถัง
ความดัน
บรรยากาศ
High Low
การตรวจวัดระดับของเหลวภายใน
ถังปิ ด
.

dP
Transmit สัญญาณ
ter ่ คา
เอาต ์พุตทีมี ่
เป็ นสัดส่วน
โดยตรงกับระดับ
ของเหลว
Hig
Low
ภายในถัง
h
การตรวจวัดระดับแบบใช้
ฟองอากาศ

• หลักการตรวจวัดอาศ ัยคุณสมบัตท
ิ ว่ ่ ด
ี่ า เมือเกิ
ฟองอากาศผุดออกมาจากท่อส่งความดัน นัน ่
หมายความว่า ความดันภายในท่อส่งมีคา่

เท่ากับความดันของของเหลวทีบรรจุภายในถัง

และเมือระดั ่
บของเหลวมีการเปลียนแปลงก็จะ

ทาให้คา่ ความดันเปลียนแปลงตามไปด้
วย
การตรวจวัดระดับของเหลวแบบใช้
ฟองอากาศ
. วาล ์วปร ับ
ความดัน
ปั๊ม
ความ สัญญาณ
ดัน ไฟ
เอาต ์พุตไป
ยังระบบ
ควบคุม
L
T
ความดัน
บรรยากาศ
การตรวจวัดระดับแบบใช้แผ่นไดอะ
เฟรม


• หลักพืนฐาน จะใช้กล่องไดอะเฟรมจุม ่ ลงในถัง
กระบวนการ และเมือระด่ ้
ับของเหลวสู งขึนแรง
กระทากับแผ่นไดอะเฟรมเนื่องจากความดัน
อากาศภายในกล่องก็จะมีคา ่ นด้
่ เพิมขึ ้ วย ทา
ให้อป ุ กรณ์ความด ันสามารถตรวจสอบค่า
ความด ันเนื่องจากระด ับของของเหลวที่

เปลียนแปลงไป
การตรวจวัดระดับแบบใช้แผ่นไดอะ
เฟรม
. ความด ัน LT LT
LT บรรยากาศ
LT 1 1
1 1 0 0
0 0 2 2
1 1
ท่อ
อากาศ
แผ่นไดอะ
เฟรม

กล่องไดอะเฟรมอยู ่ในถัง กล่องไดอะเฟรมอยู ่นอกถัง


กระบวนการ กระบวนการ
อุปกรณ์ตรวจวัดระดับแบบใช้
คุณสมบัตท
ิ างไฟฟ้า

• อุปกรณ์ตรวจวัดระด ับโดยอาศ ัยคุณสมบัตท ิ าง


ไฟฟ้า แบ่งได้ด ังนี ้
1 ) แบบค่าความจุไฟฟ้า ( Capacitance )
2 ) แบบค่าความนาไฟฟ้า ( Conductance
)
่ ัลต้าโซนิ ก ( Ultrasonic )
3 ) แบบคลืนอ
โพรบค่าความจุไฟฟ้า (
Capacitance Probe )

• หลักการของค่าความจุไฟฟ้า อาศ ัยคุณสมบัต ิ


ของต ัวเก็บประจุไฟฟ้า
คือ โครงสร ้างหลักของตัวเก็บประจุ
ประกอบด้วยตัวนาสองต ัววางขนานก ัน โดยมี
้ั
ฉนวนทางไฟฟ้าเป็ นวัสดุกนกลางระหว่ าง

ต ัวนาทังสอง

ซึงหากค่ ่
าไดอิเล็กตริกเปลียนแปลง ก็จะทา
ให้คา ่
่ ความจุเปลียนแปลงไปด้ วย
การตรวจวัดระด ับของเหลวแบบใช้โพ
รบค่าความจุไฟฟ้า
. LT สัญญาณ
30
โพรบวัดทา 0 เอาต ์พุต

หน้าทีเหมือน ตัวถังทาหน้าที่
เพลตต ัวนาด้าน เหมือนเพลต
ตัวนาอีกด้าน
หนึ่ง
หนึ่ง
โพรบค่าความนาไฟฟ้า

• หลักการพืนฐาน้ อาศ ัยสภาพการนาไฟฟ้า (


Conductivity ) ของของเหลว โดยการติดตง้ั
โพรบสองชุดไว้ในกระบวนการ ให้ทาหน้าที่
เป็ นสวิตซ ์ ปิ ด – เปิ ด หากระดับของเหลวไม่สูง
จนท่วมโพรบต ัวบน สวิตซ ์จะไม่ตอ ่
่ วงจร เมือ
ของเหลวมีระด ับสู งจนท่วมโพรบต ัวบน ก็จะต่อ
วงจร เกิดการนากระแสให้ปั๊มทางาน
การตรวจว ัดระด ับของเหลวแบบใช้โพ
รบค่าความนาไฟฟ้า
. ปั๊ม

LSH ของเหลว
400 ่ สภาพ
ทีมี
ความนา
ไฟฟ้า
โพรบค่าความ
นาไฟฟ้า
่ ัลต
การตรวจวัดระดับโดยใช้คลืนอ
ร ้าโซนิ ก

่ ัลตร ้าโซนิ ก (
• การตรวจวัดระด ับโดยใช้คลืนอ
Ultrasonic Level Measurement )
อาศ ัยหลักการตรวจสอบช่วงเวลาหนึ่ง (
Delay Time , t ) ของคลืนเสี่ ยง ( Sound

Wave ) ทีเคลื ่
อนที ่ านต ัวกลางซึงเป็
ผ่ ่ นสภาพ
กระบวนการ หรือระดับกระบวนการ โดยปกติ
้ องออกแบบให้ทางานในช่วง
อุปกรณ์ชนิ ดนี ต้
ความถีที่ มนุ
่ ษย ์ไม่สามารถได้ยน ้ เพื
ิ ได้ ทังนี ้ อ

ความปลอดภัย และไม่กอ ่ ให้เกิดความราคาญ
บล็อกไดอะแกรมแสดงหลักการ
ทวงจร
างาน
. ควบคุม
และ
วงจร วงจร
แสดงผล
กาเนิ ดฐาน ตรวจสอบ
เวลา ่
รู ปคลืน
วงจร ่
ตัวร ับคลืน
กาเนิ ดคลืน่
และ
และต ัวส่ง วงจรขยาย
คลืน่ สัญญาณ

เซนเ
ซอร ์ ระดับของ
กระบวนการที่
ต้องการตรวจวัด
การตรวจวัดระดับแบบนิ วเคลียร ์

• การตรวจวัดระด ับแบบแผ่ร ังสี คือมีเซนเซอร ์


หรืออุปกรณ์ตรวจวัดทีใช้่ ในกระบวนการ
สามารถติดตงไว้้ั นอกถังบรรจุ โดยไม่
จาเป็ นต้องสัมผัสก ับสภาพกระบวนการ
โดยตรง ทาให้ซอ ่ มบารุงได้สะดวก
• การตรวจวัดระด ับแบบนิ วเคลียร ์แบ่งได้ 2 แบบ
คือ
1 )แบบใช้แผ่ร ังสีแกมมาชุดเดียว ( Single
Gamma Source )
หลักการตรวจวัดระดับแบบ
นิ วเคลี ยร ์
สัญญา

. เอาต
ตัวร ับ์พุ

การแผ่
ร ังสี

แหล่งกาเนิ ดร ังสี แหล่งกาเนิ ดร ังสี


ชุดเดียว หลายชุด
แหล่งกาเนิ ด
ร ังสีแกมมา
การตรวจวัดระดับแบบเรดาร ์

• การทางานของอุปกรณ์ตรวจวัดระดับแบบ

เรดาร ์อาศ ัยการแผ่ร ังสีแม่เหล็กไฟฟ้าทีมี
ความถีสู่ งมากในย่าน GHZ ซึงเรี่ ยกว่า(
Transmitted Signal ) ไปยังผิวหน้าของ
สภาพกระบวนการ เพือให้ ่ เกิดการสะท้อนของ
สัญญาณกลับมายังอุปกรณ์ตรวจวัด
เรียกการสะท้อนว่า สัญญาณสะท้อน (
Reflected Signal )
หลักการตรวจวัดระดับแบบเรดาร ์
4-
. 4- 20mA
20mA
อากาศ
(k=1.0) สัญญา
ณส่ง ท่อนา

คลืน
ระด ับ
ของเ สัญญา
หลว ณ
สะท้อน
แบบไม่สม ั ผัสก ับสภาพ แบบท่อนา
กระบวนการ ่
คลืน
สวิตซ ์ตรวจวัดระดับ

• สวิตซ ์ตรวจวัดระด ับ สามารถบ่งชีระด้ ับความ


่ ดของผลิตภัณฑ ์ทีบรรจุ
สู งสุดหรือ ระด ับตาสุ ่
ในถ ังกระบวนการ ( Process Tank )
แบ่งได้ 3 ลักษณะ
1 ) สวิตซ ์ลู กลอย ( Float Switch )
2 ) สวิตซ ์ใบพัดหมุน ( Rotating Paddle
Switch )
3 ) สวิตซ ์อ ัลตราโซนิ ก ( Ultrasonic Level
สวิตซ ์ลู กลอย ( Float Switch )

• สวิตซ ์ลู กลอย อาศ ัยการทางานของลู กลอย



ตามการเปลียนแปลงของระด ับของเหลว
ภายในกระบวนการ เพือควบคุ่ มการทางาน
ของสวิตซ ์ควบคุม ซึงท ่ างานด้วยอานาจ

สนามแม่เหล็ก ซึงอยู ่สภาวะวงจรปิ ด หากระดับ
ของเหลงในถังกระบวนเพิมขึ ่ น ้ ก็จะทาให้วงจร

เปิ ดออก เป็ นการสังการให้ ปั๊มหยุดการทางาน
การตรวจวัดระดับโดยใช้สวิตซ ์ลู ก
ลอย
สายนา
. แม่เห สัญญาณไป
ล็ก ยังวงจร
ลู ก ควบคุม
ลอย

Reed Reed
Switch Switch
ต่อวงจร เปิ ดวงจร
สภาพ
กระบวนการระดับ สภาพกระบวนการ

ตา ระดับตามกาหนด
Reed Switch ต่อ Reed Switch เปิ ดวงจร
วงจร
สวิตซ ์ใบพัดหมุน ( Rotating
Paddle Switch )

• สวิตซ ์ใบพัดหมุน จะใช้ตรวจสอบระด ับของ


กระบวนการทีมี่ ลก
ั ษณะเป็ นของแข็ง เช่น แป้ ง
หรือ ผง หากปริมาณกระบวนการยังไม่ถงึ ระดับ
่ องการใบพัดจะหมุนได้อย่างอิสระ กระทัง่
ทีต้
่ าหนด ใบพัดจะหยุดหมุน
ปริมาณถึงระด ับทีก
การตรวจวัดระดับโดยใช้สวิตซ ์
ใบพัดหมุน
.
สวิตซ ์ใบพัดหมุน
ได้อสิ ระ
สภาพ
สวิตซ ์ใบพัดหยุด
กระบวนการ
หมุน
สวิตซ ์อ ัลตราโซนิ ก ( Ultrasonic
Switch )

• ตราโซนิ ก ( Ultrasonic Switch )


่ (
มีส่วนประกอบสาค ัญ 2 ส่วนคือ ตัวส่งคลืน
่ ( Receiver )
Transmitter ) และ ตัวร ับคลืน
การทางานโดยอาศ ัยคุณสมบัตก ่
ิ ารเคลือนที ่

ของคลืนเสี ยงผ่านต ัวกลาง
การตรวจวัดระดับโดยใช้สวิตซ ์อล

ตราโซนิ ก
.

สวิตซ ์อ ั สวิตซ ์อ ั
ลตรา ลตรา
โซนิ ก โซนิ ก
ต ัวส่ง ตัวร ับ ตัวร ับ
คลืน่ ่
คลืน /ส่ง
คลืน ่

แบบตวั ส่งคลืนและต วั ร ับ ่
แบบตวั ส่งคลืนและต วั ร ับ

คลืนคนละต ัว ่ วั เดียวกน
คลืนต ั
การตรวจวัดการไหลของ
กระบวนการ

• การไหลของกระบวนการหมายถึง การส่งผ่าน
วัสดุ หรืออุปกรณ์จากจุดหนึ่งไปยังอีกจุดหนึ่ง
โดยใช้ท่อส่งจ่าย สายยาง หรือสายพาน
ลาเลียง

• ซึงวัสดุ ้ อาจหมายถึงวัตถุดบ
อุปกรณ์เหล่านัน ิ
่ ในกระบวนการ ด ังนันเพื
ทีใช้ ้ ่
อให้การควบคุม
กระบวนการมีประสิทธิภาพ การตรวจวัดการ
ไหลของกระบวนการทีแม่ ่ นยา จึงมีความ
จาเป็ นอย่างยิง่
การตรวจวัดการไหลของ
กระบวนการ
• วัตถุประสงค ์หลักของการตรวจวัดการไหล มี 3
ประการ คือ
1 ) เพือให้ ่ แน่ ใจว่า สัดส่วนขอวัตถุดบ ิ ใน

ขันตอนการผลิ ้ ความ
ตนันมี
ถูกต้อง เหมาะสม เป็ นไปตามทีก ่ าหนด
2 ) เพือให้ ่ ่ั
มนใจว่ ่
า ส่วนผสมทีจะส่ งจ่ายเข้า
้ั
สู ่ขนตอนการผสมนั ้ มี

อ ัตราการส่งจ่ายทีถู ่ กต้อง เป็ นไปตาม
กาหนด

การวัดการไหลของของแข็ง

• วัตถุดบ ่ ลก
ิ ซึงมี ั ษณะเป็ นของแข็ง ทีต้ ่ องการทา
การตรวจวัดการไหล ( Solid Flow
Measurement ) นันมี ้ ลก ั ษณะเป็ นฝุ่ นผง
หรือเม็ดขนาดเล็ก นิ ยมใช้สายพานลาเลียง
เป็ นต ัวส่งผ่านว ัตถุดบิ ด ังกล่าว จากจุดหนึ่งไป
ยังอีกจุดหนึ่งของกระบวนการผลิต
การตรวจว ัดอ ัตราการไหลของสารเคมี
ผงในระบบสายพานลาเลียงโดยใช้
โหลดเซลล
ถัง ์
. บรรจุ โหลด
เซลล ์
สารเคมี
ผง
L

มอเต
อร ์

สายพาน W
ลาเลียง
การตรวจวัดอ ัตราการไหลในระบบ
สายพานลาเลียงโดยใช้ LVDT
.
วัตถุ
ดิบ

โพรบ
วัด
สายพาน
ลาเลียง
ขดลวด
ขดลวด ทุตย
ิ ภู ม ิ 1
ปฐมภู ม ิ ขดลวด
ทุตยิ ภู ม ิ 2
LVDT
การตรวจวัดการไหลของของไหล

• การวัดและควบคุมอ ัตราการไหลของของไหลที่
ถูกต้อง แม่นยา นับว่ามีความสาคัญเป็ นอย่าง
มาก สาหร ับกระบวนการทางอุตสาหกรรมต่าง
่ ว ัตถุดบ
ๆ ทีใช้ ่ สภาพเป็ นของไหลเป็ น
ิ ทีมี
องค ์ประกอบ
การไหลของกระบวนการภายในท่อ
ส่งจ่าย


• หลักการพืนฐานของการไหลภายในท่ อ ซึง่
้ หน้
ขนาดพืนที ่ าต ัด จะมีผลต่อความด ัน
ระหว่างการไหลเข้า และการไหลออก คือ
ขนาดของพืนที ้ หน้
่ าต ัดของท่อจะเป็ นผลทา
ให้เกิดการไหลของของไหลในท่อ
การไหลของกระบวนการภายในท่อ
ส่งจ่าย

• การไหลเชิงปริมาตร ( Volumetric Flow )



คือ ปริมาตรของของไหล ทีไหลภายในท่ อผ่าน
จุดจุดหนึ่ง ต่อหน่ วยเวลา
• การไหลเชิงมวล หมายถึง น้ าหนักหรือมวล

ของของไหล ทีไหลผ่ านภายในท่อ ณ จุด
สังเกตต่อหน่ วยเวลา

• ตัวเลขเรย ์โนลด ์ ใช้ในการบ่งชีและอธิ
บาย
พฤติกรรมการไหลของกระบวนการภายในท่อ
เทคนิ คการตรวจวัดการไหล
• อ ัตราการไหลในการควบคุมกระบวนการ แบ่ง
ได้ 4 วิธ ี
1 ) โดยใช้ผลต่างความดัน ( Differential
Pressure )
2 ) โดยใช้ความเร็ว ( Velocity )
3 ) โดยใช้ป ริมาตร ( Volumetric ) หรือระยะ
กระจัดบวก ( Positive –
Displacement , PD )
4 ) โดยใช้มวล ( Mass )
เทคนิ คการตรวจวัดการไหลโดยใช้
ผลต่างความดัน

• โดยอาศ ัยหลักการจากัดพืนที ้ ่ ( Restriction


Area ) ในการไหลของของเหลวภายในท่อส่ง
่ าให้เกิดค่าความแตกต่างของความ
จ่าย เพือท

ด ันขึนบริ ่ การจากัดพืนที
เวณทีมี ้ ่ ซึงความเร็
่ ว
ในการไหลจะมีคา ่ น
่ เพิมขึ ้ แต่ขณะเดียวกัน
ความดันกลับมีคา ่ ลดลง มี 4 วิธ ี
1 ) แผ่นเพลตออริฟิช 2 ) ท่อ
เวนจูร ี
3 ) ท่อนอชเชิล 4 ) ท่อ
เทคนิ คการตรวจวัดโดยใช้ความเร็ว


• เทคนิ คนี อาศ ัยความสัมพันธ ์ระหว่างค่า
ความเร็วในการไหล กับพืนที ้ ในการไหลของ

กระบวนการ อุปกรณ์ทใช้ ี่ หลักการแบบนี ้
ได้แก่ มิเตอร ์ตรวจวัดการไหลแบบก ังหัน (

Turbine Flowmeter ) เครืองตรวจวัดการ
ไหลแบบวอร ์เท็ก ( Vortex Shedding )
มิเตอร ์การว ัดการไหลแบบสนามแม่เหล็ก (
Megnetic Flowmeter ) และ มิเตอร ์ตรวจวัด
การไหลแบบอ ัลตราโซนิ ก ( Ultrasonic
เทคนิ คการตรวจวัดการไหลแบบ
กังหัน

• อาศ ัยหลักการสร ้างสัญญาณพัลส ์ ทีมี ่



ค่าความถีแปรผั นตรงกับอ ัตราการไหลทีก่ าลัง
่ การไหลของกระบวนการ
ตรวจวัดอยู ่ เมือมี

ผ่านต ัวมิเตอร ์ จะทาให้ก ังหันเกิดการหมุนขึน
โดยมีจานวนรอบ แปรผันเป็ นสัดส่วนโดยตรง
กับความเร็วในการไหล
โครงสร ้างของมิเตอร ์ตรวจวัดการ
ไหลแบบกังหัน
แหล่งกาเนิ
. ดแสง

ใบกังหัน
หมุน
การไหล

อ ัตราการ
ไหล
วงจรนับ
จานวนพัลล ์ ปริมาตร
เทคนิ คการตรวจวัดการไหลแบบ
วอร ์เท็ก

• อาศ ัยหลักการง่ าย ๆ โดยการติดตงแท่้ั งโลหะ


หรือพลาสติกไว้ในท่อส่งจ่ายให้กด ี ขวางทิศ
ทางการไหลของกระบวนการ เพือท ่ าให้เกิด
การหมุนวนของการไหลขึน ้ ทังนี
้ เรื
้ องจาก

ลักษณะการหมุนวนทีเกิ ่ ดขึนจะเปลี
้ ่
ยนแปลง
เป็ นสัดส่วนโดนตรงกับความเร็วในการไหล

ด ังนันเราจึงสามารถตรวจวัดอ ัตราการไหลได้
จากความสัมพันธ ์ด ังกล่าว
เทคนิ คการตรวจวัดการไหลแบบ
วอร ์เท็ก
. เซนเซอร ์ตรวจวัด
ความดน ั

แท่งโลหะขวาง
การไหล
เทคนิ คการตรวจวัดการไหลแบบ
สนามแม่เหล็ก

• มิเตอร ์ตรวจวัดอ ัตราการไหลแบบใช้


สนามแม่เหล็ก ( Magnetic Flowmeter )
อาศ ัยหลักการของฟาราเดย ์ ( Faraday’ s
Law ) กล่าวคือ เมือต่ ัวนาเคลือนที
่ ผ่่ าน
สนามแม่เหล็ก จะทาให้เกิดแรงด ันไฟฟ้า
เหนี่ยวนาขึนที
้ ต
่ ัวนานัน
้ โดยมีคา ้
่ ขึนอยู ่ก ับ
ความเร็วในการเคลือนที่ ่
ของต ัวนา และ
ปริมาณเส้นแรงแม่เหล็ก ด ังนัน ้ เมือของไหล


เคลือนที ่ วยความเร็วผ่านสนามเหล็ก จะได้
ด้
หลักการทางานของมิเตอร ์ตรวจว ัด
การไหลแบบสนามแม่เหล็ก
ขดลวดสนามแม่เหล็ก

สนามแม่เ
หล็ก
การ
ไหล อิเล็กโท
รด

ขดลวด
สนามแม่เหล็ก
เทคนิ คการตรวจวัดการไหลแบบอ ัล
ตราโซนิ ก

• การตรวจวัดการไหลโดยใช้คลืนอ ่ ัลตราโซนิ ก
อาศ ัยการตรวจวัดความเร็วของคลืนซึ ่ ง่

เคลือนที ่ านต ัวกลางซึงเป็
ผ่ ่ นของภายในท่อส่ง
จ่าย

• ประกอบด้วยต ัวส่งคลืนและต ่ ว่างห่าง
ัวร ับคลืน
ในระยะทีก ่ าหนด เมือของไหลไหลผ่
่ านต ัวส่ง
และต ัวร ับในระยะทีก่ าหนดก็สามารถตรวจจับ
อ ัตราการไหลได้
มิเตอร ์ตรวจวัดการไหลแบบใช้
่ ัลตราโซนิ ก
คลืนอ
. ต ัวร ับ ตัวส่ง
่ A ่
คลืน
คลืน
ผนัง
ท่อ

การไหล

ตัวร ับ
ตัวส่ง B ่
่ คลืน
คลืน
เทคนิ คการตรวจวัดการไหลโดยใช้
ปริมาตร
หรือโดยใช้ระยะกระจัดบวก
• วิธน ้ การวัดปริมาตรของกระบวนการที่
ี ี จะใช้

ไหลผ่านต ัวมิเตอร ์โดยตรง ซึงอาศ ัยการด ักจับ
ปริมาตรของกระบวนการทีไหลผ่ ่ านต ัวมิเตอร ์

จากทีทราบปริ ่ นอน และการตรวจ
มาตรทีแน่
้ั
นับจานวนครงในการไหลผ่ านต ัวมิเตอร ์ ทาให้
สามารถคานวณหาปริมาตรของของไหลที่
ไหลผ่านมิเตอร ์ในช่วงเวลาหนึ่ง ๆ ได้
มิเตอร ์ตรวจวัดการไหลโดยใช้ระยะ
กระจด ั บวกแบบเกียร ์

• มิเตอร ์ตรวจวัดการไหลโดยใช้ระยะกระจัดบวก
แบบเกียร ์ ถูกนามาใช้ในกรณี ทต้ ี่ องการ
ตรวจวัดอ ัตราการไหลของของไหลทีมี ่ ความ
่ เตอร ์แบบอืนไม่
หนื ดสู ง ซึงมิ ่ สามารถใช้งานได้
มิเตอร ์ตรวจวัดการไหลโดยใช้ระยะ
กระจด ั บวกแบบเกียร ์
.
ปริมาตรทีถู่ ก
ดักจับ

ตาแหน่ ตาแหน่ ตาแหน่


งที่ 1 งที่ 2 งที
ปริ
่3 ่ ก
มาตรทีถู
ดักจับ
มิเตอร ์ตรวจวัดการไหลโดยใช้ระยะ
กระจัดบวกแบบโรตารี

้ หลักการทางานเช่นเดียวกับ
• มิเตอร ์แบบนี มี
้ โครงสร ้างหลัก
แบบเกียร ์ แต่มเิ ตอร ์ชนิ ดนี มี
่ ใบพัด ดังนันเมื
ภายในเป็ นโรเตอร ์ทีมี ้ ่ การ
อมี
ไหลของกระบวนการผ่านมิเตอร ์ ก็จะทาให้โร
เตอร ์เกิดการหมุน โดยมีความเร็วเชิงมุมแปร
ผันตรงก ับอ ัตราการไหลของกระบวนการ
มิเตอร ์ตรวจวัดการไหลโดยใช้ระยะ
กระจัดบวกแบบโรตารี
โร
เตอร ์

การ
ไหล
เทคนิ คการตรวจวัดการไหลโดยใช้
มวล


• เทคนิ คนี อาศ ัยตรวจวัดน้ าหนักทีได้
่ จากการ
ไหลโดยตรง โดยใช้หลักการของท่อคอริโอลิส
( Coriolis Mass Flowmeter ) ซึงเป็ ่ นรู ปตัวยู
ผลจากความเร็วในการไหลในท่อ จะทาให้เกิด

แรงสันสะเทื อ และเกิดเป็ นแรงบิดตรงต ัวอยู ่ ซึง่
มีเซนเซอร ์ตรวจวัดระยะกระจัดไว้ตรงมุมทัง้
สอง และนาข้อมู ลทีได้่ ไปปร ับแต่งให้กลายเป็ น

รู ปแบบทีเหมาะสม
การตรวจวัดการไหลโดยใช้ท่อคอริ
โอลิส
เซนเซอร ์ระยะ
. กระจัดบวก

ท่อตัว
ยู

การ การ
ไหล ไหล
การวัดและการควบคุมกระบวนการ
เชิงวิเคราะห ์

• กระบวนการเชิงวิเคราะห ์ ( Analytical
Process )

หมายถึง ขันตอนของกระบวนการที ่ าเป็ น

ต้องการมีการตรวจวัด และควบคุมคุณสมบัติ
่ นสภาพกระบวนการและนาผลที่
ทางเคมี ซึงเป็
่ งการให้

ได้ไปทาการวิเคราะห ์ เพือสั
กระบวนการปร ับสภาพการทางานต่อไป
การตรวจวัดค่าความนาไฟฟ้า

• การตรวจวัดค่าความนา ( Conductivity
Measurement )
หมายถึง การวัดความสามารถในการ
นากระแสไฟฟ้า ของสภาพกระบวนการทีมี ่
ลักษณะเป็ นสารสละลายอิเล็กโทรไลต ์ ซึง่

ขึนกับปั จจัยหลัก 3 ปั จจัย คือ ชนิ ดของอิเล็ก
โทรไลต ์ ความเข้มข้นของสารละลาย
อุณหภู มข ิ องสารละลาย
การตรวจวัดค่าความนาทางไฟฟ้า

• โครงสร ้างสาค ัญประกอบด้วยแผ่นเพลตตัวนา


( Plate ) 2 แผ่น วางขนานก ันและจุม ่ อยู ่ใน
สารละลายของกระบวนการ เรียกว่าแผ่น
่ ดมีความต่าง
อิเล็กโทรด ( Electrode ) เมือเกิ

ศ ักย ์ไฟฟ้าระหว่างแผ่นเพลตทังสอง จะทาให้
เกิดกระแสไฟฟ้าไหลจากด้านหนึ่งไปยังอีกด้าน
หนึ่ง โดยมีสารละลายทาหน้าทีเป็ ่ นต ัวนา
กระแสไฟฟ้า ทาให้สามารถวัดค่าความนา
ไฟฟ้าของสภาพกระบวนการได้
หลักการทางานของอิเล็กโทรดวัด
ค่าความนาไฟฟ้า
. ปริมาตรของ
่ าการ
สารละลายทีท
ตรวจวัด
้ ่
พืนที
ผิวหน้าของ
ขัว้
อิเล็กโทรด สัญญาณ
เอาต ์พุตส่ง
ต่อไปยังวงจร
บริดจ ์
การตรวจวัดและการควบคุมค่า pH

• การตรวจวัดและควบคุมค่า pH ( pH
Measurement and Control )
มีความสาคัญเป็ นอย่างมากสาหร ับ
กระบวนการทางอุตสาหกรรม เพราะสภาพ
กระบวนการทางเคมีทมี ี ่ ลก
ั ษณะเป็ นสารสะ
ลาย โดยค่า pH คือ จะมีน้ าเป็ นองค ์ประกอบ
้ งจาเป็ นต้องตรวจค่าความเป็ น
หลัก ด ังนันจึ
กรด
( Acid ) และด่าง ( Alkaline ) โดยค่า pH

หลักการพืนฐานของค่
า pH

• โดยทัวไปองค ์ประกอบหลักของประจุไฟฟ้า
หรืออิออน ( Ion ) ในน้ าแบ่งได้เป็ น 2 ชนิ ด
คือ อิออนไฮโดรเจน ( ประจุบวก ) และ อิออน
ไฮดรอกไซด ์ ( ประจุลบ ) ซึงปกติ ่ ป ริมาณทัง้
สองจะเท่ากัน ทาให้มส ่ า
ี ภาพเป็ นกลาง เมือน

สารประกอบอืนมาผสมน ้ าจึงทาให้สภาพ

เปลียนไป คือ
• ถ้าอิออนบวกมีคา ่ มากกว่าอิออนลบ จะมีสภาพ
เป็ นกรด และ
• ถ้าอิออนลบมีคา ่ มากกว่าอิออนบวก จะมีสภาพ
อิเล็กโทรดสาหร ับวัดค่า pH
• อุปกรณ์สาหร ับวัดค่า pH ประกอบด้วยขัว้
อิเล็กโทรด 2 ชุด และวงจรขยาย
้ เล็กโทรดชุดแรก คือ อิเล็กโทรดแอกทีฟ (
• ขัวอิ
Active Electrode ) ทาหน้าที่ ตรวจวัด
่ คา
แรงด ันเอาต ์พุต ทีมี ่ แปรผันตรงกับ อิออน
ไฮโดรเจน
้ เล็กโทรดอ้างอิง คือ ( Reference
• ขัวอิ
Electrode ) ทาหน้าทีสร ่ ้างแรงด ันไฟฟ้า เพือ

ใช้เป็ นศ ักย ์ไฟฟ้า อ้างอิงให้ก ับแรงด ันไฟฟ้าที่
ได้จากอิเล็กโทรดแอกทีฟ
อิเล็กโทรดแอกทีฟ
สายนาสัญญาณไปยังวงจรขยาย
ฝาครอบ

หลอดแก้วบาง
หลอดแก้วชนใน ้ั
ซิลเวอร ์-ซิลเวอร ์คลอไรด ์
สารละลายบัฟเฟอร ์
กระเปาะแก้วไวต่อค่า pH
อิเล็กโทรดอ้างอิง
สายนาสัญญาณไปยัง
วงจรขยาย
ฝาครอบ
หลอดแก้วบาง
้ั
หลอดแก้วชนใน
ลวดตัวนาทาจากเงิน
โปรแตสเซียมคลอไรด ์
( KCI )

ไฟเบอร ์เซรามิก

หลักการพืนฐานส าหร ับตรวจวัดค่า
pH
วงจรขยาย
. สัญญาณ
อุปกรณ์
p ควบคุม
H
pH
Meter

อิเลคโทรด
อ้างอิง

อิเลคโทรด
แอกทีฟ
การตรวจวัดค่าความถ่วงจาเพาะ
และความหนาแน่ น

• ในการควบคุมกระบวนการ สภาพกรพบวน
่ องการควบคุมค่าให้เป็ นไปตามต้องการ
การทีต้
ทักอยู ่ในรู ปของ อ ัตราการไหล ( Flow Rate )
อุณหภู ม ิ ( Temperature ) หรือ ความดัน
อากาศ ( Pressure ) การตรวจวัดค่าความ
ถ่วงจาเพาะเป็ นวิธท ี่
ี เหมาะสม และถูกเลือก
นามาใช้ในการควบคุมกระบวนการ
การตรวจวัดค่าความถ่วงจาเพาะ
และความหนาแน่ น

• เทคนิ คการตรวจวัดค่าความถ่วงจาเพาะ และ


ความหนาแน่ น แบ่งได้เป็ น 4 ลักษณะ ด ังนี ้
1 ) ไฮโดรมิเตอร ์ ( Hydrometer )
2 ) เทคนิ คปริมาตรคงที่ ( Fixed – volume
Method )
3 ) เทคนิ คผลต่างความร ้อน ( Differential
Pressure Method )
4 ) เทคนิ คนิ วเคลียร ์ ( Nuclear Method )
ไฮโดรมิเตอร ์


• หลักการทางานพืนฐานของไฮโดรมิ
เตอร ์
( Hydrometer )
ประกอบด้วยลู กลอยและแถบสเกลทีจุ ่ ม
่ ลงใน
่ านค่าได้นนจะ
สารละลาย โดยระด ับสเกลทีอ่ ้ั
สัมพันธ ์โดยตรงกับค่าความถ่วงจาเพาะ ของ
สารละลายเอง
การใช้ไฮโดรมิเตอร ์ตรวจว ัดค่าความ
ถ่วงจาเพาะของสารละลายในแบตเตอรี่
.
1.280 1.150

ลู ก
ลอย
ไฮโดรมิเตอร ์แบบโฟโต้อเิ ล็กทริก
. เซลล ์โฟโต้อ ิ
LED
แหล่งกาเนิ เล็กทริก
ดแสง ( ตัวร ับแสง )

ไหล
เข้า
เทคนิ คปริมาตรคงที่

• เทคนิ คปริมาตรคงที่ ( Fixed-Method ) หรือ


มิเตอร ์ระยะกระจัด ( Displacement
) โครงสร ้างประกอบด้วย ดิสเพรสเชอร ์จุม ่ อยู ่
ในถังกระบวนการแบบปิ ด ทีมี ่ ป ริมาตรคงที่
การเคลือนที่ ่
ของตาแหน่ งดิสเพรสเชอร ์

ขึนอยู ่ก ับ ค่าความถ่วงจาเพาะ ( SG ) ของ
สารละลาย
การตรวจวัดความหนาแน่ นโดยใช้
เทคนิ คปริมาตรคงที่
. ไหล
เข้า
ดิสเพรส จุด
เชอร ์ หมุน
หัวฉี ด
ความดัน

ไหล เบลโล ความดัน


ออก ร ักษา อินพุต
สมดุล

ความดัน
เอาต ์พุต
เทคนิ คผลต่างความดัน

• ผลต่างความด ัน ( Differential Pressure )


ระหว่างระด ับความสู ง
อาศ ัยคุณสมบัตข ิ องการใช้ฟองอากาศ
ทางานร่วมด้วย กล่าวคือ ความด ันอากาศที่
่ าให้เริมเกิ
ต้องใช้เพือท ่ ดฟองอากาศขึนใน ้
สารละลายจะมีคา ่ เท่ากับความดันของ

สารละลายทีปลายท่ ้
อ ด ังนันผลต่ างความด ัน

ทางด้านปลายทังสองของท่ อ สามารถ
ตรวจวัดและส่งผ่านสัญญาณได้ดว้ ยอุปกรณ์
หลักการตรวจวัดความหนาแน่ นโดยใช้
เทคนิ คผล
ต่างความดัน สัญญาณ
. ระดับ เอาต ์พุต
AI
กระบวนการ T สอดคล้องกับ
ค่าความ
dP
ระด ับ หนาแน่ น
h1
Transmitte
1 r
h2
h
ระด ับ h
2
เทคนิ คนิ วเคลียร ์
โครงสร ้าง ประกอบด้วย แหล่งกาเนิ ดร ังสีแกมม่า
้ั ทผนั
ติดตงไว้ ี่ งจ่ายด้านนอก และต ัวร ับร ังสี
แกมม่า ติดตงไว้้ั อกี ด้านหนึ่ง ดดยมีสภาพ
กระบวนการไหลผ่านระหว่างแหล่งกาเนิ ดร ังสี
กับต ัวร ังสี

การทางานของอุปกรณ์โดยอาศ ัยคุณสมบัตด ิ ูด
ซ ับพลังงานจากการแผ่ร ังสีของสภาพ

กระบวนการซึงเปลี ่
ยนสภาพไปตามค่ าความ
หนาแน่ นของสภาพกระบวนการ จากนัน ้
การตรวจวัดความหนาแน่ นโดยใช้
เทคนิ ค
การแผ่ร ังสีนิวเคลียร ์
.
สภาพ
กระบวนการ

สัญญาณ
แหล่งกาเนิ เอาต ์พุต
ดร ังสี สอดคล้องกับ
แกมม่า ค่าความ
หนาแน่ น

ท่อส่งจ่าย ตัวร ับร ังสี


กระบวนการ แกมม่า
ทิศ
ทางการ
ไหล

การตรวจวัดความชืน
• ความชืน ้ ( Humidity ) หมายถึง หน่ วยการ
่ งชีถึ
วัดทีบ่ ้ งปริมาณความชืนในอากาศ
้ ก๊าซ
หรือของไหลทีมี ่ ลก
ั ษณะเป็ นไอ หรือควัน


• ความชืนแบ่ งได้ 3 รู ปแบบ คือ
้ มบู รณ์ ( Absolute
1 ) ความชืนสั
Humidity )
้ มพัทธ ์ ( Relative Humidity
2 ) ความชืนสั
, RH )


การตรวจวัดความชืน
้ อ
้ มบู รณ์ หมายถึง มวลของไอนาต่
• ความชืนสั
หน่ วยของปริมาตรอากาศ

้ ง
้ มพัทธ ์ หมายถึง ปริมาณไอนาจริ
• ความชืนสั
่ ยบกับปริมาณไอนาสู
เมือเที ้ งสุดในอากาศ ณ
ค่าอุณหภู มท ี ่ าหนด
ิ ก

่ ัว หมายถึง ค่าอุณหภู มท
• จุดกลันต ี่
ิ อากาศหรื

่ วเป็ นหยดนา้
ก๊าซเกิดการกลันตั
้ มบู รณ์
การตรวจวัดความชืนสั

• อุปกรณ์ตรวจวัดความชืนสั ้ มบู รณ์ คือ


เซนเซอร ์อะลู มเิ นี ยมออกไซด ์
( Aluminum Oxide Sensor ) ผลจาก
ปริมาณไอน้ าทีก ่ าลังตรวจสอบจะทาให้คา ่ คงที่
ไดอิเล็กตริกของต ัวเก็บประจุไฟฟ้าภายใน

เซนเซอร ์มีการเปลียนแปลง และส่งผลให้คา ่

ความจุไฟฟ้าทีจากเซนเซอร ์มีคา ่
่ เปลียนแปลง
ตามไปด้วย
เซนเซอร ์อะลู มเิ นี ยมออกไซด ์
.
แผ่นอะลู มเิ นี ยม
ออกไซด ์

แผ่น
ทองคา
้ มพัทธ ์
การตรวจวัดความชืนสั

• การตรวจวัดความชืนสั ้ มพัทธ ์ อาศ ัย


คุณสมบัตท ิ างกายภาพหรือทางไฟฟ้าของ
ี่
วัสดุทเปลี ่
ยนแปลงไป ่ าไปสัมผัสกับ
เมือน
ความชืน ้ ซึงอุ่ ปกรณ์ทใช้
ี่ สาหร ับตรวจวัดค่า
ความชืนสั ้ มพัทธ ์ทีนิ
่ ยมใช้ก ันทัวไปนั
่ ้ อยู ่
นมี
ด้วยกัน 3 ชนิ ด คือ แบบไซโครเมตริก (
Psychrometric ) แบบไฮโกรเมตริก (
Hygrometric ) และแบบค่าความจุไฟฟ้า
อิเล็กทรอนิ กส ์
อุปกรณ์ตรวจวัดแบบไซโครเมตริก

• อุปกรณ์ตรวจวัดแบบไซโครเมตริก หรือ ไซโคร



มิเตอร ์ มีโครงสร ้างทีประกอบด้วย
เทอร ์โมมิเตอร ์แบบปรอท เรียก เทอร ์โมมิเตอร ์
กระเปาะแห้ง และเทอร ์โมมิเตอร ์กระเปาะเปี ยก
ตรวจวัดโดยให้อากาศไหลผ่านเข้าฝาครอบ

เพือให้เกิดการระเหยของสภาพกระบวนการ
ค่าอุณหภฒิจะถูกวัดโดยเทอร ์โมมิเตอร ์
กระเปาะเปี ยก ส่วนเทอร ์โมมิเตอร ์กระเปาะแห้ง
จะทาการตรวจวัดอุณหภู มส ิ ภาวะปกติ และ
ไซโครมิเตอร ์สาหร ับตรวจวัด
ความชืนสั้ มพัทธ ์
. ่
เทอร ์โมมิเตอร ์
เครืองบั
นทึก
อุณหภู ม ิ
กระเปาะแห้ง
( Dry Bulb ) ฝา
เทอร ์โมมิเตอร ์ ครอบ
กระเปาะเปี ยก
ถัง
( Wet Bulb )
พัก

ไหล
เข้า
อุปกรณ์ตรวจวัดแบบไฮโกรเมตริก
• อุปกรณ์ตรวจวัดแบบไฮโกรเมตริก (
Hygrometric Detector )
อาศ ัยคุณสมบัตก ิ ารขยายตัวหรือการ

เปลียนแปลงขนาดของวัสดุ จาพวก ไฮโกรส
โคปิ ก ( Hygroscopic ) เช่น เส้นผม ฝ้าย
้ เส้
โดยระด ับความชืนที ่ นผมดูดซ ับได้จาก
สภาพอากาศจะเป็ นบ่งบอกถึงปริมาณไอน้ าใน
อากาศ ผลจากไอน้ าในอากาศจะทาให้เกิด

การขยายต ัวของเส้นผม ซึงจะต่ ่
อเชือมไปยัง
เข็มชี ้ หรือปากพล็อตกราฟ ทาให้เกิดการ
อุปกรณ์ตรวจวัดแบบค่าความจุ
ไฟฟ้าอิเล็กทรอนิ กส ์

• อุปกรณ์ตรวจวัดแบบค่าความจุไฟฟ้า
อิเล็กทรอนิ กส ์ ( Electronic Capacitance
Detector ) อาศ ัยคุณสมบัตพ ื้
ิ นฐานของต ัว
เก็บประจุไฟฟ้า โดยมีว ัสดุจาพวกไฮโกรสโคปิ ก
่ นฉนวนกันกลางระหว่
ทาหน้าทีเป็ ้ างแผ่น
้ ่ แผ่นอิเล็กโทรดทังสองจะมี
อิเล็กโทรดทังคู ้

ลักษณะเป็ นรู พรุน เพือให้ ไอน้ าสามารถซึม
ผ่านเข้าไปยังฉนวนได้ ผลของไอน้ าจะทาให้

ค่าคงทีของไดอิ เล็กทริกของไฮโกรสโคปิ กมีคา ่
อุปกรณ์ตรวจว ัดความชืนสั้ มพัทธ ์แบบ
ค่าความจุไฟฟ้าอิเล็กทรอนิ กส ์
.

แผ่น
อิเล็กโทรด
วัสดุไฮโกรส
โคปิ ก
สัญญาณไฟฟ้า
แผ่น
เอาต ์พุต
อิเล็กโทรด
่ ว
การตรวจวัดจุดกลันตั

• อุปกรณ์ตรวจวัดอุณหภู มจ ิ ะถูกห่อหุม้ ด้วยใย


แก้ว ( Glass Fiber ) โดยมีสารละลายเกลือ
่ ัว หรือลิเทียมคลอไรด ์ ทาหน้าทีเป็
อิมต ่ นต ัวนา
่ อนกระแสไฟฟ้าจะทาให้เกิดความ
ไฟฟ้า เมือป้
ร ้อนขึน้ น้ าในสารละลายจึงเกิดการระเหย
อุณหภู มจ ิ ะถูกตรวจวัดและส่งข้อมู ลไปยัง
หน่ วยประมวลผล
่ ว
การตรวจวัดจุดกลันตั
แหล่งจ่ายไฟ
. สลับ 25 V
สารละลาย
่ วั
อิมต

เครืองบั
นทึก
อุณหภู ม ิ
ใยแก้ว
เทอร ์โมมิเตอ
ร์
การออกแบบควบคุมแบบแอนะล็อก

• อุปกรณ์ควบคุมในระบบควบคุมกระบวนการ
่ าหน้าทีน
อ ัตโนมัต ิ เป็ นองค ์ประกอบซึงท ่ า
่ ไปควบคุมและสังการให้
ข้อมู ลทีได้ ่ กระบวนการ
หรือระบบภายใต้การควบคุมมีสภาพการ
ทางานเป็ นไปตามเป้ าหมายทีต้ ่ องการ
• อุปกรณ์ควบคุมนัน ้ เปรียบด ังหัวใจสาค ัญที่
คอยจัดการควบคุมกระบวนการให้ทางานอย่าง
อ ัตโนมัต ิ
หลักการทางานของอุปกรณ์
ควบคุมกระบวนการ
• การควบคุมกระบวนการให้มค ี า
่ เป็ นไปตาม
่ องการนัน
เป้ าหมายทีต้ ้ สามารถอธิบายเป็ น

ขันตอนการท างานของระบบได้ด ังนี ้
1 ) อุปกรณ์ว ัด ( Measuring Unit ) ทาหน้าที่
ตรวจสภาพกระบวนการ
2 ) อุปกรณ์เปรียบเทียบสัญญาณ (
Comparator ) ทาหน้าทีเปรี่ ยบเทียบค่าวัด

ของกระบวนการทีตรวจวัดได้
3 ) อุปกรณ์ควบคุม นาค่าความคลาดเคลือน ่
มาสร ้างสัญญาณควบคุม C(t)
แสดงการทางานของอุปกรณ์
ควบคุมกระบวนการ

อุปกรณ์ควบคุมอ ัตโนมัต ิ
อุปกรณ์เอุปรี
ปกรณ์
ยบเทียบสัญญาณ
กระบวนก
ค่า ควบคุม สภาพ
่ งไว้
้ั าร กระบวนก
ทีต (
( Process าร
( SP ) Controll
) ( PV )
er )
อุปกรณ์วด ั
(
Measure
ment )
การออกแบบและสังเคราะห ์อุปกรณ์
ควบคุมกระบวนการแบบแอนะล็อก

• อุปกรณ์ควบคุมอ ัตโนมัต ิ ( Automatic


Controller ) สามารถจาแนกได้
ตามคุณสมบัตก ิ ารทางานในการควบคุมเป็ น 4
ชนิ ด ดังนี ้
1 ) การควบคุมแบบปิ ด – เปิ ด ( On – off
Control )
2 ) การควบคุมแบบพี ( Proportional Control
หรือ P Control )
3 ) การควบคุมแบบพีไอ ( Proportional plus
Integral Control
อุปกรณ์เปรียบเทียบสัญญาณ

• อุปกรณ์เปรียบเทียบสัญญาณ ทาหน้าทีน ่ าค่า


วัดของกระบวนการ มาทาการเปรียบเทียบกับ
ค่าเป้ าหมายของการควบคุม แล้วสร ้างเป็ นค่า
ความคลาดเคลือน่ ่ อนให้ก ับอุปกรณ์
เพือป้
ควบคุมนาไปควบคุมกระบวนการต่อไป
อุปกรณ์ควบคุมแบบปิ ด - เปิ ด

• การควบคุมแบบ ปิ ด – เปิ ด เป็ นลักษณะการ


ควบคุมกระบวนพืนฐาน้ ่ สภาวะการ
ซึงมี
ทางานอยู ่สองสภาวะ คือ จ่ายสัญญาณ
ควบคุม ( On ) และหยุดจ่ายสัญญาณควบคุม

( Off ) ให้ก ับกระบวนการ เมือสภาพของ

กระบวนการคลาดเคลือนจากค่ ่ งไว้
าทีต ้ั
อุปกรณ์ควบคุมแบบพี ( P Control
)

• การควบคุมแบบพี จะสร ้างสัญญาณควบคุมที่


่ าเป็ นสัดส่วน
มีความเป็ นเชิงเส้น และมีค่
โดยตรงกับสัญญาณคลาดเคลือน ่ ้ งทา
ด ังนันจึ
ให้สภาพกระบวนการเข้าสู ่คา ่ ทีต้่ องการได้โดย
ไม่ทาให้เกิดการแก่วงของผลตอบสนองของ
กระบวนการ
อุปกรณ์ควบคุมแบบพีไอ

• การควบคุมแบบไอ ( Integral Control หรือ I


Control ) จะถูกออกแบบเพือจุ่ ดประสงค ์ใน
การขจัดออฟเซตทียั่ งอยู ่ในกระบวนการโดย
การสร ้างสัญญาณควบคุม ให้มค ี า
่ เป็ นสัดส่วน
โดยตรงก ับค่าออฟเซต หรือค่าความตลาด

เคลือนในการควบคุ ม เพือปร่ ับให้ความ

คลาดเคลือนในกระบวนการลดลงอย่ างรวดเร็ว
การออกแบบอุปกรณ์ควบคุมแบบ
พีไอ

• การออกแบบอุปกรณ์ควบคุมแบบพีไอ คือ การ


รวมเอาคุณสมบัตเิ ด่นในการควบคุมแบบพี
และแบบไอเข้าด้วยกัน ด ังนี ้
1 ) มีผลการตอบสนองชวขณะ ่ั ( Transient
Response ) ทีดี่ สามารถเข้าสู ่เป้ าหมายใน
การควบคุมได้รวดเร็ว เป็ นคุณสมบัตแ ิ บบพี
2 ) สามารถขจัดค่าความคลาดเคลือน ่ ณ
สภาพสมดุลใหม่ ( Steady State , Error ,SSE
่ ดขึนในกระบวนการลง
) เป็ นค่าออฟเซต ทีเกิ ้
อุปกรณ์ควบคุมแบบพีไอดี

• อุปกรณ์ควบคุมแบบดี ( Derivative
Controller หรือ D – Controller )
ทาหน้าทีสร ่ ้างสัญญาณเอาต ์พุต ให้มค ี า
่ เป็ น

สัดส่วนโดยตรงกับอ ัตราการเปลียนแปลงของ
สัญญาณคลาดเคลือน ่ คือ ถ้าสัญญาณ

คลาดเคลือนมี ่
การเปลียนแปลงรวดเร็ ว
สัญญาณเอาต ์พุตจากอุปกรณ์ควบคุมแบบดี ก็
จะมีคา่ มากตามไปด้วย
การออกแบบอุปกรณ์ควบคุมแบบ
พีไอดี

• อุปกรณ์ควบคุมแบบพีไอดี คือการนาเอา
คุณสมบัตข ิ องการทางานแบบพี แบบไอ และ
แบบดี เข้าด้วยกัน
1 ) การควบคุมแบบพี จะขจัดความคลาด

เคลือนที ่ ดขึนในกระบวนการ
เกิ ้

2 ) การควบคุมแบบไอ ทาหน้าทีขจัดค่ า

ออฟเซตทีหลงเหลื อใน
กระบวนการ

3 ) การควบคุมแบบดี จะทาหน้าทีขจัดค่ า
่ ่
เทคนิ คและแนวทางในการปร ับแต่ง
ระบบควบคุม

• การวิเคราะห ์และออกแบบระบบควบคุมต่างๆ ผู ้
ควบคุมจาเป็ นต้องความรู ้จักและศึกษา
พฤติกรรม ตลอดจนคุณสมบัตใิ นการทางาน
ของกระบวนการนัน ้ ๆ รวมถึงอุปกรณ์ตา ่ ง ๆ ที่

ต้องใช้ในการควบคุมทังหมด ่
เพือใช้เป็ น
ข้อมู ลในการวิเคราะห ์ผลกระทบทีเกิ่ ดขึนต่้ อ
กระบวนการ อ ันเนื่องมาจากการรบกวนจาก
สภาพแวดล้อมภายนอก
เทคนิ คและแนวทางในการปร ับแต่ง
ระบบควบคุม

• เพือให้ ระบบมีผลตอบสนองของกระบวนการที่
ดีทสุี่ ดและมีประสิทธิภาพสู งสุด วิธก ี ารศึกษา
ถึงพฤติกรรม ตลอดจนคุณลักษณะของ
กระบวนการ มีอยู ่ 2 วิธ ี ดังนี ้
1 ) ศึกษาพฤติกรรมและคุณลักษณะของ
กระบวนการโดยใช้วธ ิ ที ดสอบ วิธน ้
ี ี จะใช้

เครืองมื อวัดและอุปกรณ์ควบคุมทาการ
วิเคราะห ์
2 ) ศึกษาพฤติกรรมและคุณลักษณะของ
กระบวนการโดยใช้วธ ิ กี ารวิเคราะห ์ด้วยสมการ
แนวทางในการเลือกชนิ ดอุปกรณ์
ควบคุม

• การปร ับแต่งค่าพารามิเตอร ์ในระบบควบคุม


่ องนามาพิจารณา
กระบวนการ มีปัจจัยทีต้
ประกอบการต ัดสินใจอยู ่ 3 ปั จจัย คือ
1 ) คุณสมบัตข ิ องกระบวนการ (
Characteristic of the Process )
2 ) การเลือกชนิ ดของอุปกรณ์ควบคุม
กระบวนการ ( Selection of Controller
Mode )
3 ) สมรรถนะของลู ปควบคุม ( Performance
ผลตอบสนองของกระบวนการต่อ
ชนิ ดการควบคุม

• จากการทาการป้ อนสัญญาณอินพุต หรือ ค่า


่ งไว้
ทีต ้ั ให้ก ับระบบควบคุมป้ อนกลับแต่ละชนิ ด

ซึงจะได้ ผลตอบสนองของกระบวนการ หรือ

สภาพกระบวนการ ซึงแสดงผลการ

เปลียนแปลงไปจากค่ ่ น
าเริมต้
• หากกระบวนการปราศจากการควบคุม จะทา

ให้จาเป็ นต้องใช้เวลานานมากเพือปร ับสภาพ
กระบวนการให้เข้าสู ่สภาวะสมดุลใหม่
เทคนิ คการปร ับแต่งระบบควบคุม

• การปร ับแต่งค่าพารามิเตอร ์ของกระบวนการก็


จะได้ผลตอบสนองทีมี ่ ความเหมาะสมในสภาวะ
ของการทางานสภาวะใดสภาวะหนึ่ง ทังนี ้ ้

เพือให้ได้ผลตอบสนองของการควบคุมทีดี ่
่ ด และมีประสิทธิภาพทีสุ
ทีสุ ่ ดอีกด้วย
การปร ับแต่งระบบควบคุมโดยใช้วธ
ิ ี
Ziegler - Nichols

• การปร ับแต่งระบบควบคุมโดยใช้วธ ิ ี Ziegler –


Nichols คือ พยายามทีจะปร ่ ับแต่งเพือให้่
ผลตอบสนองของกระบวนการต่อสัญญาณ
อินพุตแบบสัญญาณระด ับหนึ่งหน่ วยมี
้ั
อ ัตราส่วนระหว่างค่าพุ่งเกินสู งสุด ครงแรกกับ
้ั สอง
ครงที ่ เท่ากับ 4 ต่อ 1 หรือ มีอ ัตราเสือม ่
เท่าก ับ 25%
การปร ับแต่งระบบควบคุมโดยใช้วธ
ิ ี
Damped Oscillation

• การปร ับแต่งระบบควบคุมโดยใช้วธ ิ ี Damped


Oscillation เป็ นวิธท ี่ ปร ับปรุงมาจากวิธ ี
ี ได้
Ultimate Method เพือน ่ ามาใช้ในกรณี ทไม่ ี่
ต้องการให้ผลตอบสนองของกระบวนการเกิด
การแก่วงอย่างต่อเนื่อง
การปร ับแต่งระบบควบคุมโดยใช้วธ
ิ ี
ลองผิดลองถู ก
• การปร ับแต่งระบบควบคุมแบบลองผิดลองถูก (
Trail and Error Tuning ) โดยอาศ ัยการ
สังเกตผลของการควบคุมจากการพิจารณา
ค่าวัดของสภาพกระบวนการทีเกิ่ ดขึน้ ด ังนี ้

1 ) ปร ับอุปกรณ์ควบคุมให้กระบวนการอยู ่ใน
สภาวะสมดุล โดย

ปราศจากการเปลียนแปลงค่ าของสภาพ
กระบวนการ และ
สัญญาณควบคุม
การปร ับแต่งระบบควบคุมโดยใช้วธ
ิ ี
ลองผิดลองถู ก

2 ) ทาการเปลียนค่ าเป้ าหมายการควบคุม
และสังเกตการเปลียนแปลง ่
ของสภาพกระบวนการจากค่าวัด
3 ) ปร ับอ ัตราขยายการควบคุมแบบพี
จนกระทังได้ ่ ผลตอบสนองของ

กระบวนการมีผลการควบคุมทีเหมาะสม
่ ด
ทีสุ
่ นอินทิเกรด จนกระทัง่
4 ) ปร ับช่วงเวลาเริมต้
ได้ผลตอบสนองของ
กระบวนการมีผลการควบคุมทีเหมาะสม ่


ผลการตอบสนองของกระบวนการเมือ
ปร ับค่า KP ของ
C(t การควบคุมแบบพี
. ) ก . การปร ับค่า kP ที่
0 t เหมาะสม
C(t
)
ข . การปร ับค่า kP ที่
0 t
มากเกินไป

C(t
)
ค. การปร ับค่า kP ที่
0 t น้อยเกินไป
ผลการตอบสนองของกระบวนการเมือ่
ปร ับค่า TP ของ
C(
การควบคุ ม แบบพี ไ อ
t) ก.การปร ับค่า Ti ที่
0 เหมาะสม
t
C(
t)
ข.การปร ับค่า Ti ที่
0 t มากเกินไป
C(
t)
ค.การปร ับค่า Ti ที่
0 t น้อยเกินไป

ผลการตอบสนองของกระบวนการเมือ
ปร ับค่า Td ของ
การควบคุมแบบพีไอดี
. C(t
)
ก.การปร ับค่า Td ที่
0 t เหมาะสม
C(t
)
ข.การปร ับค่า Td ที่
0 t มากเกินไป
C(t
)
ค.การปร ับค่า Td ที่
0 t น้อยเกินไป

You might also like