Download as pptx, pdf, or txt
Download as pptx, pdf, or txt
You are on page 1of 41

คุณครูวสันต์ ใจบุญมา

เสนอ

5
บทที่
พื้นฐานประชาธิปไตย
ในสมัยสมบูรณาญาสิทธิราชย์
5
บทที่
พื้นฐานประชาธิปไตย
ในสมัยสมบูรณาญาสิทธิราชย์

เสนอ
คุณครูวสันต์ ใจบุญมา
บทที่ 5 พื้นฐานประชาธิปไตยในสมัยสมบูรณาญาสิทธิราชย์

ชนชาติไทยได้ก่อร่างสร้างตัวอยู่ร่วมกันเป็นปึกแผ่น พัฒนามาจากชุมชน แว่นแคว้น อาณาจักร


และ ประเทศไทยในปัจจุบันมีระบบการปกครองแบ่งออกได้ 3 ลักษณะ คือ

ระบอบการปกครองแบบผู้นามีความใกล้ชิดกับราษฎร

ระบอบการปกครองแบบสมบูรณาญาสิทธิราชย์

ระบอบการปกครองแบบประชาธิปไตย

วิชา ประวัติศาสตร์ ส30101


บทที่ 5 พื้นฐานประชาธิปไตยในสมัยสมบูรณาญาสิทธิราชย์

ระบอบการปกครองแบบผู้นามีความใกล้ชิดกับราษฎร

ระบบการปกครองนี้เริ่มใช้ตั้งแต่ชนชาติไทยเริ่มอพยบเข้ามาตั้งถิ่นฐานในประเทศไทยระยะแรก
คนไทยอยู่กันเป็นชุมชน มีหัวหน้าชุมชนเป็นผู้อาวุโสเป็นที่ยอมรับของสมาชิก เรียกผู้นาว่า “ พ่อขุน ” เมื่อ
ผู้นามีภาระงานมากขึ้นจาเป็นต้องใช้ระเบียบกฎเกณฑ์เพื่อสร้างความสงบเรียบร้อย

ระบอบการปกครองแบบสมบูรณาญาสิทธิราชย์

ระบอบการปกครองแบบประชาธิปไตย

พ่อขุน ระเบียบ
วิชา ประวัติศาสตร์ ส30101
บทที่ 5 พื้นฐานประชาธิปไตยในสมัยสมบูรณาญาสิทธิราชย์

ระบอบการปกครองแบบสมบูรณาญาสิทธิราชย์

พระมหากษัตริย์ทรงมีอานาจสูงที่สุด ทรงเป็นเจ้าชีวิตของประชาชน
พระมหากษัตริย์ทรงห่างเหินกับราษฎร เพราะ อยู่ในฐานะที่แตกต่างกันอย่างสิ้นเชิง
ประชาชนปฏิบัติตามกฎหมายอย่างเคร่งครัด แต่ก็ยังมีเสรีภาพในการประกอบอาชีพและการดารงชีวิต
พระมหากษัตริย์ทรงปกครองอาณาจักรด้วยหลัก “ ทศพิศราชธรรม ” ไม่ใช่อานาจตามอาเภอใจ
ระบอบนี้สิ้นสุดลงเมื่อคณะราษฎรยึดอานาจสาเร็จ และ เปลี่ยนผ่านไปสู่การปกครองระบอบ
ประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัระบอบการปกครองแบบประชาธิ ปไตย ญ
ตริย์ทรงเป็นประมุขภายใต้รัฐธรรมนู

วิชา ประวัติศาสตร์ ส30101


บทที่ 5 พื้นฐานประชาธิปไตยในสมัยสมบูรณาญาสิทธิราชย์

ระบอบการปกครองแบบประชาธิปไตย
ความหมายของระบอบการปกครองแบบประชาธิปไตย
“ การปกครองแบบประชาธิปไตยเป็นการปกครองของประชาชน โดยประชาชน และเพื่อประชาชน ”

การปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นพระประมุข
ประชาชนเป็นเจ้าของอานาจการปกครอง ซึ่งเรียกว่า อานาจอธิปไตย มี 3 อานาจดังนี้
1.อานาจนิติบัญญัติ คือ อานาจในการออกกฎหมายผ่านรัฐสภา
2.อานาจบริหาร คือ อานาจในการใช้กฎหมายเพื่อบริหารประเทศ
3.อานาจตุลาการ คือ อานาจในการพิพากษาคดีความให้เป็นไปตามกฎหมาย

“ พระมหากษัตริย์ทรงใช้ อานาจอธิปไตย แทนปวงชนชาวไทย ”


วิชา ประวัติศาสตร์ ส30101
บทที่ 5 พื้นฐานประชาธิปไตยในสมัยสมบูรณาญาสิทธิราชย์

ปัจจัยของการเปลี่ยนแปลงการปกครองเพื่อก้าวสู่สมัยใหม่

พระมหากษัตริย์ทรงสนใจความเจริญก้าวหน้าแบบสมัยใหม่ของชาติตะวันตก
ครั้งหนึ่งพระมหากษัตริย์ได้เจริญสัมพันธไมตรีกับฝรั่งเศส ซึ่ง ฝรั่งเศสก็ได้นาความเจริญสมัยใหม่มาเผยแพร่ เช่น การก่อสร้าง
การประปา การใช้อาวุธ การที่ผู้ปกครองประเทศและชาวไทยไม่รังเกียจชาวตะวันตก และยอมรับความเจริญก้าวหน้าแบบ
ตะวันตก จึงเป็นปัจจัยพื้นฐานในการพัฒนาประเทศไปสู่สมัยใหม่

วิชา ประวัติศาสตร์ ส30101


บทที่ 5 พื้นฐานประชาธิปไตยในสมัยสมบูรณาญาสิทธิราชย์

ปัจจัยของการเปลี่ยนแปลงการปกครองเพื่อก้าวสู่สมัยใหม่

พระมหากษัตริย์และเจ้านายไทยทรงได้รับการศึกษาแบบตะวันตก
พระมหากษัตริย์ไทยทรงตระหนักถึงความจาเป็นในการเป็นมิตรกับชาติตะวันตก พระองค์จึงโปรดเกล้าให้พระราชโอรสและ
พระบรมวงศานุวงศ์ ได้ศึกษาภาษาอังกฤษอย่างแตกฉาน ปัจจัยดังกล่าวจึงมีผลต่อการตัดสินพระทัยในการกาหนดพระบรม-
ราโชบายทั้งในและต่างประเทศได้อย่างถูกต้อง ช่วยให้ประเทศไทยรอดพ้นจากการเป็นอาณานิคมของชาติตะวันตก

วิชา ประวัติศาสตร์ ส30101


บทที่ 5 พื้นฐานประชาธิปไตยในสมัยสมบูรณาญาสิทธิราชย์

ปัจจัยของการเปลี่ยนแปลงการปกครองเพื่อก้าวสู่สมัยใหม่

พระมหากษัตริย์ไทยทรงทราบถึงความล้าหลังของประเทศเมื่อเทียบกับชาติตะวันตก
กฎหมายบางข้อเป็นสิ่งที่ชาวต่างชาติไม่ยอมรับและเป็นหวั่นเกรงต่อชาวตะวันตก เช่น การลงโทษอย่างรุนแรง การพิจารณาคดี
ที่ขาดความยุติธรรม การทรมานผู้ต้องหาให้รับสารภาพ เป็นต้น สาหรับชาวไทยมีสภาพยากจน ด้อยการศึกษา ขาดคุณภาพใน
การดารงชีวิต ด้วยเหตุนี้จึงจาเป็นต้องพัฒนาประเทศและประชาชนให้ก้าวไปสู่ความทันสมัย

การทรมานผู้ต้องหา ไม่เป็นที่ยอมรับของชาวตะวันตก

วิชา ประวัติศาสตร์ ส30101


บทที่ 5 พื้นฐานประชาธิปไตยในสมัยสมบูรณาญาสิทธิราชย์

ปัจจัยของการเปลี่ยนแปลงการปกครองเพื่อก้าวสู่สมัยใหม่

มหาอานาจตะวันตกกาลังขยายอิทธิพลและอานาจเข้ามายังทวีปเอเชีย
ประเทศตะวันตกมักจะอ้างว่า เป็นหน้าที่ของประเทศตะวันตกที่ต้องเข้ามาพัฒนาดินแดนที่ยังล้าหลังให้เกิดความเจริญรุ่งเรือง
ดังนั้นประเทศไทยจึงจาเป็นต้องพัฒนาตามแบบอย่างอารยประเทศมิให้ประเทศตะวันตกใช้เป็นข้ออ้างในการเข้ายึดอาณานิคม

วิชา ประวัติศาสตร์ ส30101


บทที่ 5 พื้นฐานประชาธิปไตยในสมัยสมบูรณาญาสิทธิราชย์

การปฏิรูปการปกครองแบบตะวันตกในสมัยสมบูรณาญาสิทธิราชย์

1 2
การดูแลทุกข์สุขของประชาชน การส่งเสริมทางด้านสิทธิ เสรีภาพ และ
ความเสมอภาคในหมู่ประชาชน

3 4
พัฒนาการด้านการศึกษา การกระจายอานาจการบริหารให้
บุคคลต่างๆมีส่วนรับผิดชอบ

วิชา ประวัติศาสตร์ ส30101


บทที่ 5 พื้นฐานประชาธิปไตยในสมัยสมบูรณาญาสิทธิราชย์

การปฏิรูปการปกครองแบบตะวันตกในสมัยสมบูรณาญาสิทธิราชย์

1 การดูแลทุกข์สุขของประชาชน
2
สมัยอยุธยาและรัตนโกสินทร์ตอนต้น พระมหากษัตริย์จะห่างเหินกับราษฎร เพราะมีกฎหมายไม่ให้ราษฎรเข้าใกล้
การส่
กษัตริย์ แม้ในยามที่ประชาชนต้ งเสริามร้ทางด้
องการเข้ องทุกข์ากนสิ
็ไม่สทามารถท
ธิ เสรีภาได้าพเช่นและความเสมอภาคในหมู ่ประชาชน
กัน ในสมัยพัฒนาประเทศตามประเทศ
ตะวันตก พระมหากษัตริย์ก็สามารถที่จะสอบถามทุกข์สุขกับราษฎรได้โดยตรง ดังเช่น
สมัยรัชกาลที่ 4 สมัยรัชกาลที่ 5
พระองค์เสด็จไปที่ใดให้คนในบ้านออกมาต้อนรับให้พระองค์เห็น พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงปลอมพระองค์
3 วเมืองต่างๆ ทรงทราบความทุกข์
สมัยที่ยังผนวช ได้ทรงประพาสหั 4 กข์ยากของราษฎร
เป็นคนสามัญชน ได้เห็นความทุ
ยากของราษฎรเสมอ เมื่อครองราชย์จึงแก้กฎหมายเพื่อประโยชน์ และความล้าหลังของชนบท จึงทรงตั้งพระทัยแก้ไข
สุขแห่งราษฎรพัฒอีกนาการด้ านการศึ
ทั้งยังโปรดให้ กษา กา ให้ยกเลิ
ปรับปรุงการถวายฎี การกระจายอ
ก ปัานาจการบริ
ญหาความล้าหลังหของประเทศ
ารให้บุคคลต่างๆมีส่วนรับผิดชอบ
การเฆี่ยนตีราษฎร

วิชา ประวัติศาสตร์ ส30101


บทที่ 5 พื้นฐานประชาธิปไตยในสมัยสมบูรณาญาสิทธิราชย์

การปฏิรูปการปกครองแบบตะวันตกในสมัยสมบูรณาญาสิทธิราชย์

2 การส่งเสริมทางด้านสิทธิ เสรีภาพ และความเสมอภาคในหมู่ประชาชน

พระมหากษัตริย์ไทยสมัยรัชกาลที่ 4 ถึง 7 ก่อนขึ้นครองราชย์ทรงศึกษาองค์ประกอบสาคัญของระบบการ


ปกครองแบบประชาธิปไตย คือ ประชาชนจะต้องได้รับสิทธิ เสรีภาพ และความเสมอภาคอย่างสมบูรณ์ ดังนี้
สมัยรัชกาลที่ 4 สมัยรัชกาลที่ 5
1. ให้คนไทยไม่รังเกียจชาติตะวันตก 1. ทรงยกเลิกประเพณีที่ล้าสมัย
2. ให้คนไทยรับจ้างชาวตะวันตกได้ 2. ทรงยกเลิกระบบไพร่
3. 3 นทาส
ห้ามนาชาวต่างประเทศมาเป็ 3. ทรงเลิกทาส 4
4. ห้ามบังคับสตรีแต่งงาน
5. ให้เพั
สรีฒ นาการด้บถืาอนการศึ
ภาพในการนั ศาสนา กษา การกระจายอานาจการบริหารให้การเลิ
บุคคลต่
กทาสางๆมีส่วนรับผิดชอบ
6. ให้นางในลาออกไปมีสามีข้างนอกได้ นับเป็นการปฏิวัติสังคมไทยครั้งยิ่งใหญ่ที่ทาให้คนไทยได้รับอิสรภาพ เสรีภาพ และ
7. ให้มีพิธีดื่มน้าแสดงความจงรักภักดี ความเสมอภาค ซึ่งเป็นรากฐานของการพัฒนาสังคมสืบไป

วิชา ประวัติศาสตร์ ส30101


บทที่ 5 พื้นฐานประชาธิปไตยในสมัยสมบูรณาญาสิทธิราชย์

การปฏิรูปการปกครองแบบตะวันตกในสมัยสมบูรณาญาสิทธิราชย์

3 พัฒนาการด้านการศึกษา

การจัดการศึกษาโดยคณะมิชชันนารีในสมัยรัชกาลที่ 4 ประชาชนไม่สนับสนุน แต่พระมหากษัตริย์เห็นความสาคัญ


ในรัชกาลที่ 6 ทรงส่งเสริมให้ขยายการจัดการศึกษา มีการจัดตั้งมหาวิทยาลัยแห่งแรกของไทย
ต่อมาใน พ.ศ. 2464 ได้โปรดให้มีการจัดการศึกษาภาคบังคับ ให้เด็กอายุ 8-14 ปี ได้เรียน ผู้ใดฝ่าฝืนมีความผิด
เพื่อให้การจัดการศึกษาเป็นไปได้อย่างทั่วถึง จึงมีการขอให้ประชาชนสนับสนุนเงินในการจั
4 ดการศึกษาด้านต่างๆ
นอกจากนั้นยังมีการเรียกเก็บเงินเพื่อส่งเสริมการศึกษาจากชายอายุ 18-60 ปี คนล่ะ 1-3 บาทต่อปี เรียกว่า เงินศึกษาพลี
การกระจายอานาจการบริหารให้บุคคลต่างๆมีส่วนรับผิดชอบ
คนไทยเมื่อได้รับการศึกษาก็กระตุ้นให้เกิดความต้องการที่จะมีส่วนร่วมในการบริหารประเทศ และได้ปฏิวัติการปกครอง

วิชา ประวัติศาสตร์ ส30101


บทที่ 5 พื้นฐานประชาธิปไตยในสมัยสมบูรณาญาสิทธิราชย์

การปฏิรูปการปกครองแบบตะวันตกในสมัยสมบูรณาญาสิทธิราชย์

4 การกระจายอานาจการบริหารให้บุคคลต่างๆมีส่วนรับผิดชอบ

สภาพสังคมเศรษฐกิจเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว พร้อมๆ กับชาวตะวันแผ่ขยายลัทธิจักรวรรดินิยมคุกคามความมั่นคง


พระมหากษัตริย์จึงไม่สามารถปกครองแบบโบราณได้อีกต่อไป จาเป็นต้องมีการกระจายอานาจการปกครองออกไป
การกระจายอานาจการบริหารจึงเป็นพื้นฐานของการปกครองแบบประชาธิปไตย

พื้นฐานของประชาธิปไตยคือ ไม่ผูกขาดอานาจ

วิชา ประวัติศาสตร์ ส30101


บทที่ 5 พื้นฐานประชาธิปไตยในสมัยสมบูรณาญาสิทธิราชย์

การปฏิรูปการปกครองในสมัยรัชกาลที่ 5

ภายหลังจากที่ขึ้นครองราชย์ พระองค์ได้เสด็จประพาสเมืองต่างๆ ได้ทอดพระเนตรเห็นการบริหารของประเทศต่างๆ


ทาให้พระองค์มีแนวพระราชดาริพัฒนาประเทศให้เจริญในเวลาต่อมา ในเวลานั้นมีการแบ่งกลุ่มเป็นสองกลุ่มคือ กลุ่มรุ่นเก่า
และกลุ่มรุ่นใหม่ที่ได้รับการศึกษาแบบตะวันตก เรียกว่ากลุ่ม “สยามหนุ่ม” และได้โปรดเกล้าฯ ให้มีการจัดตั้งสภา 2 สภาคือ

สภาที่ปรึกษาราชการแผ่นดิน
สภาองคมนตรี
Council of State
Privy Council
จานวนสมาชิก : มีสมาชิก 13 คน ต่อมามี 15 คน
จานวนสมาชิก : มีสมาชิก 49 คน
มีหน้าที่ : ถวายคาปรึกษาและความคิดเห็น ตลอดจนการ
มีหน้าที่ : ถวายคาปรึกษาในเรื่องต่างๆนอกจากนี้ยัง
พิจารณาใช้กฎหมาย ผลงานสาคัญของสภานี้ก็คือ การถวาย
ปฏิบัติราชการตามพระราชประสงค์ของพระเจ้าอยู่หัว
ความคิดเห็นเรื่อง การเลิกทาส การจัดเก็บภาษีอากร

วิชา ประวัติศาสตร์ ส30101


บทที่ 5 พื้นฐานประชาธิปไตยในสมัยสมบูรณาญาสิทธิราชย์

การปฏิรูประบบการบริหารราชการส่วนกลาง

ในเวลานั้นการบริหารราชการส่วนกลาง
ของไทย มีรูปแบบการบริหารมาแต่สมัยโบราณ
กรมต่างๆ ทาหน้าที่บริหารราชการในลักษณะ
ซ้าซ้อนกัน มีการก้าวก่ายงานระหว่างฝ่ายต่างๆ และ
ทางานอยู่ในวงจากัด ขณะที่สังคมและเศรษฐกิจไทย
กาลังเปลี่ยนไปอย่างรวดเร็ว พระองค์จึงโปรดฯ ให้
ปฏิรูปงานบริหารราชการกลางเมื่อ พ.ศ.๒๔๓๑

วิชา ประวัติศาสตร์ ส30101


บทที่ 5 พื้นฐานประชาธิปไตยในสมัยสมบูรณาญาสิทธิราชย์
การปฏิรูประบบการบริหารราชการส่วนกลาง
ชื่อกระทรวง หน้าที่ ชื่อกระทรวง หน้าที่

กระทรวงมหาดไทย บังคับบัญชาหัวเมืองฝ่ายเหนือ กระทรวงเกษตราธิการ ควบคุมเกี่ยวกับทรัพยากรธรรมชาติ

กระทรวงกลาโหม บังคับบัญชาหัวเมืองฝ่ายอื่นๆ กระทรวงยุติธรรม บังคับบัญชาศาลทั่วประเทศ

กระทรวงการต่างประเทศ ว่าราชการต่างประเทศ กระทรวงยุทธนาธิการ ดูแลกิจการทหารบก ทหารเรือ

กระทรวงวัง ดูแลกิจการราชสานัก กระทรวงธรรมการ ดูแลกิจการสงฆ์

กระทรวงเมือง บังคับบัญชาตารวจ กระทรวงโยธาธิการ ควบคุมการก่อสร้างและสาธารณูปโภค

กระทรวงการคลัง ดูแลภาษีอากร รายรับ-จ่าย กระทรวงมุรธาธิการ ดูแลรักษาพระราชลัญจกร

วิชา ประวัติศาสตร์ ส30101


บทที่ 5 พื้นฐานประชาธิปไตยในสมัยสมบูรณาญาสิทธิราชย์
การปฏิรูประบบการบริหารราชการส่วนกลาง

ชื่อกระทรวง กระทรวงมหาดไทย
หน้าที่ ชื่อกระทรวง หน้าที่

กระทรวงมหาดไทย บังคับบัญชาหัวเมืองฝ่ายเหนือ กระทรวงเกษตราธิการ ควบคุมเกี่ยวกับทรัพยากรธรรมชาติ

กระทรวงกลาโหม บังคับบัญชาหัวเมืองฝ่ายอื่นๆ
มีกระทรวงยุ
อานาจและหน้
ติธรรม าที่บังคับังบคับบับัญชาศาลทั
ญชาหั ว
่วประเทศ

กระทรวงการต่างประเทศ ว่าราชการต่างประเทศ
เมืกระทรวงยุ
องฝ่าทยเหนื
ธนาธิการ อและเมือดูงลาวทั ง้ หมด
แลกิจการทหารบก ทหารเรือ

กระทรวงวัง ดูแลกิจการราชสานัก กระทรวงธรรมการ ดูแลกิจการสงฆ์

กระทรวงเมือง บังคับบัญชาตารวจ กระทรวงโยธาธิการ ควบคุมการก่อสร้างและสาธารณูปโภค

กระทรวงการคลัง ดูแลภาษีอากร รายรับ-จ่าย กระทรวงมุรธาธิการ ดูแลรักษาพระราชลัญจกร


วิชา ประวัติศาสตร์ ส30101
บทที่ 5 พื้นฐานประชาธิปไตยในสมัยสมบูรณาญาสิทธิราชย์
การปฏิรูประบบการบริหารราชการส่วนกลาง

ชื่อกระทรวง กระทรวงมหาดไทย
หน้าที่ ชื่อกระทรวง หน้าที่

กระทรวงมหาดไทย บังคับบัญชาหัวเมืองฝ่ายเหนือ กระทรวงเกษตราธิการ ควบคุมเกี่ยวกับทรัพยากรธรรมชาติ

กระทรวงกลาโหม บังคับบัญชาหัวเมืองฝ่ายอื่นๆ
มีกระทรวงยุ
อานาจและหน้
ติธรรม าที่บังคับังบคับบับัญชาศาลทั
ญชาหั ว
่วประเทศ

กระทรวงการต่างประเทศ ว่าราชการต่างประเทศ
เมืกระทรวงยุ
องฝ่าทยเหนื
ธนาธิการ อและเมือดูงลาวทั ง้ หมด
แลกิจการทหารบก ทหารเรือ

กระทรวงวัง ดูแลกิจการราชสานัก กระทรวงธรรมการ ดูแลกิจการสงฆ์

กระทรวงเมือง บังคับบัญชาตารวจ กระทรวงโยธาธิการ ควบคุมการก่อสร้างและสาธารณูปโภค

กระทรวงการคลัง ดูแลภาษีอากร รายรับ-จ่าย กระทรวงมุรธาธิการ ดูแลรักษาพระราชลัญจกร


วิชา ประวัติศาสตร์ ส30101
บทที่ 5 พื้นฐานประชาธิปไตยในสมัยสมบูรณาญาสิทธิราชย์
การปฏิรูประบบการบริหารราชการส่วนกลาง

กระทรวงกลาโหม
มีอานาจและหน้
ต่อมาในปี าพ.ศ.๒๔๓๗
ที่บังคับบัญชาหัว
กระทรวงกลาโหมจึ
เมืองฝ่ายใต้, ตะวันงออก,
ทาหน้ตะวั
าทีบ่ นังตก
คับ
บัญชาฝ่
และหัายทหารอย่
วเมืองมาลายู
างเดียว

วิชา ประวัติศาสตร์ ส30101


บทที่ 5 พื้นฐานประชาธิปไตยในสมัยสมบูรณาญาสิทธิราชย์
การปฏิรูประบบการบริหารราชการส่วนกลาง

กระทรวงการต่างประเทศ
ทาหน้าที่ว่าราชการ
ต่างประเทศโดยเฉพาะ

วิชา ประวัติศาสตร์ ส30101


บทที่ 5 พื้นฐานประชาธิปไตยในสมัยสมบูรณาญาสิทธิราชย์
การปฏิรูประบบการบริหารราชการส่วนกลาง

กระทรวงวัง
อานาจและหน้าที่บังคับบัญชาเกี่ยวกับ
กิจการพระราชสานักและงาน
ที่เกี่ยวกับองค์พระมหากษัตริย์

วิชา ประวัติศาสตร์ ส30101


บทที่ 5 พื้นฐานประชาธิปไตยในสมัยสมบูรณาญาสิทธิราชย์
การปฏิรูประบบการบริหารราชการส่วนกลาง

กระทรวงเมือง
(ภายหลังเรียกกระทรวงนครบาล)

มีอานาจในการบังคับบัญชาตารวจ
และดูแลความสงบเรียบร้อยใน
พระนครและงานเกี่ยวกับนักโทษ

วิชา ประวัติศาสตร์ ส30101


บทที่ 5 พื้นฐานประชาธิปไตยในสมัยสมบูรณาญาสิทธิราชย์
การปฏิรูประบบการบริหารราชการส่วนกลาง

กระทรวงพระคลังมหาสมบัติ
มีอานาจและหน้าที่ดูแลรับผิดชอบ
ภาษีอากรตลอดจนรายได้
และรายจ่ายของแผ่นดิน

วิชา ประวัติศาสตร์ ส30101


บทที่ 5 พื้นฐานประชาธิปไตยในสมัยสมบูรณาญาสิทธิราชย์
การปฏิรูประบบการบริหารราชการส่วนกลาง

กระทรวงเกษตราธิการ
มีอานาจและหน้าที่ควบคุมเกีย่ วกับ
การเพาะปลูก การค้าไม้ การป่าไม้
และ เหมืองแร่

วิชา ประวัติศาสตร์ ส30101


บทที่ 5 พื้นฐานประชาธิปไตยในสมัยสมบูรณาญาสิทธิราชย์
การปฏิรูประบบการบริหารราชการส่วนกลาง

กระทรวงยุติธรรม
มีอานาจและหน้าที่บังคับบัญชา
ศาลทั่วประเทศ

วิชา ประวัติศาสตร์ ส30101


บทที่ 5 พื้นฐานประชาธิปไตยในสมัยสมบูรณาญาสิทธิราชย์
การปฏิรูประบบการบริหารราชการส่วนกลาง

กระทรวงยุทธิการ
มีอานาจและหน้าที่ตรวจตราและ
วางแผนเกี่ยวกับกิจการทหาร ต่อมาได้
ทาการรวมเข้ากับกระทรวงกลาโหม

วิชา ประวัติศาสตร์ ส30101


บทที่ 5 พื้นฐานประชาธิปไตยในสมัยสมบูรณาญาสิทธิราชย์
การปฏิรูประบบการบริหารราชการส่วนกลาง

กระทรวงธรรมการ
(ภายหลังเปลี่ยนเป็นกระทรวงศึกษาธิการ)

มีอานาจและหน้าที่ดูแลรับผิดชอบ
เกี่ยวกับพระสงค์ โรงเรียน และ
โรงพยาบาลทั่วประเทศ

วิชา ประวัติศาสตร์ ส30101


บทที่ 5 พื้นฐานประชาธิปไตยในสมัยสมบูรณาญาสิทธิราชย์
การปฏิรูประบบการบริหารราชการส่วนกลาง

กระทรวงโยธาธิการ
มีอานาจและหน้าที่ควบคุมดูแลการ
ก่อสร้างและสาธารณูปโภค เช่น สร้าง
ถนน ขุดคลอง การไปรษณีย์ เป็นต้น

วิชา ประวัติศาสตร์ ส30101


บทที่ 5 พื้นฐานประชาธิปไตยในสมัยสมบูรณาญาสิทธิราชย์
การปฏิรูประบบการบริหารราชการส่วนกลาง

กระทรวงมุรธาธิการ
มีอานาจและหน้าที่ดูแลรักษา
พระราชลัญจกร พระราชกาหนด
กฎหมาย หนังสือราชการทั้งปวง

วิชา ประวัติศาสตร์ ส30101


บทที่ 5 พื้นฐานประชาธิปไตยในสมัยสมบูรณาญาสิทธิราชย์

การปฏิรูประบบการบริหารราชการส่วนภูมิภาค
ระบบการบริหารราชการส่วนภูมิภาคของไทยในสมัยโบราณ ไม่สามารถดูแลและคุ้มครองประชาชนได้อย่างทั่วถึง
ส่วนหัวเมืองประเทศราชก็ปล่อยให้ปกครองตนเองอย่างอิสระ ทาให้เกิดความขัดแย้งในระบบการปกครอง
พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงตระหนักถึงความจาเป็นในการปฏิรูประบบการบริหารใหม่ เพื่อให้เกิด
ความเป็นเอกภาพ โดยเฉพาะเป็นการป้องกันไม่ให้มหาอานาจเข้ามาแทรกแซงการปกครองได้ โดยได้ยกเลิกระบบเมืองแบบเก่า
และจัดรูปแบบใหม่โดยรวมหัวเมืองต่างๆที่อยู่ใกล้กันเป็น “ มณฑล ”

มณฑล เกิดขึ้นจากการรวมหลายเมือง
มณฑล เกิดขึ้นจากการรวมหลายเมือง
เมือง เกิดขึ้นจากการรวมหลายอาเภอ
เมือง เกิดขึ้นจากการรวมหลายอาเภอ
อาเภอ เกิดขึ้นจากการรวมหลายตาบล
อาเภอ เกิดขึ้นจากการรวมหลายตาบล
ตาบล เกิดขึ้นจากการรวมหลายหมู่บ้าน
ตาบล เกิดขึ้นจากการรวมหลายหมู่บ้าน

วิชา ประวัติศาสตร์ ส30101


บทที่ 5 พื้นฐานประชาธิปไตยในสมัยสมบูรณาญาสิทธิราชย์
การจัดตั้งมณฑลเทศาภิบาล
การจัดตั้งมณฑลเกิดจากการรวมเมืองต่างๆเข้าด้วยกัน ซึ่งการบริหารระบบราชการแบบใหม่ประสบปัญหาอย่างมาก
เพราะ ผู้มีอานาจการปกครองในระบบเก่าสูญเสียผลประโยชน์ จึงพยายามขัดขวาง จึงใช้เวลาหลายปีกว่าจะปฏิรูปได้ทั้งประเทศ
โดยมีการปกครองทั้งสิ้น 18 มณฑลด้วยกันดังนี้

มณฑลลาวเฉียง (พายัพ) มณฑลพิษณุโลก มณฑลภูเก็ต


มณฑลลาวพวน (อุดร) มณฑลปราจีนบุรี มณฑลนครศรีธรรมราช
มณฑลลาวกาว (อีสาน) มณฑลราชบุรี มณฑลชุมพร
มณฑลเขมร (บูรพา) มณฑลนครชัยศรี มณฑลไทรบุรี
มณฑลนครราชสีมา มณฑลนครสวรรค์ มณฑลจันทบุรี
มณฑลฝ่ายตะวันตก มณฑลอยุธยา มณฑลปัตตานี
วิชา ประวัติศาสตร์ ส30101
บทที่ 5 พื้นฐานประชาธิปไตยในสมัยสมบูรณาญาสิทธิราชย์

การปฏิรูปการปกครองส่วนท้องถิ่น
เพื่อให้ชุมชนได้รู้จักพึ่งพาตนเอง โดยใช้ทรัพยากรที่มีอยู่ที่มาจากความช่วยเหลือของรัฐบาล โดยโปรดเกล้าฯ
ให้ตรา พรบ. ลักษณะการปกครองท้องที่ พ.ศ. 2440 โดยให้สิทธิในการเลือกผู้ใหญ่บ้าน และผู้ใหญ่บ้านมีสิทธิเลือกกานัน
มาเป็นหัวหน้าการปกครอง การเลือกตั้งกานันผู้ใหญ่บ้าน ยังเป็นระบบการปกครองที่ใช้เรื่อยมาจนถึงปัจจุบัน

การจัดสุขาภิบาล

เริ่มจัดตั้งสุขาภิบาลเริ่มที่ กรุงเทพฯ เป็นครั้งแรก โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อทาหน้าที่ ดูแลรักษาความสะอาด


ความเป็นระเบียบเรียบร้อย และ การป้องกันโรคภัยไข้เจ็บ เป็นต้น โดยมีคณะกรรมการประกอบด้วย กานัน ผู้ใหญ่บ้าน
โดยจะทาหน้าที่ดูแลด้านการจัดเก็บขยะ การรักษาความสะอาด การส่งเสริมสุขภาพอนามัย และ การบารุงรักษาถนนหนทาง

วิชา ประวัติศาสตร์ ส30101


บทที่ 5 พื้นฐานประชาธิปไตยในสมัยสมบูรณาญาสิทธิราชย์

การปรับปรุงการปกครองในสมัยรัชกาลที่ 6

การปกครองในส่วนกลาง
ในสมัยรัชกาลที่ 6 มีการจัดตั้งกระทรวงใหม่ๆ
เพิ่มขึ้น เช่น กระทรวงทหารเรือ กระทรวงทหารเรือ กระทรวง
พาณิชย์ เปลี่ยนชื่อกระทรวงโยธาธิการ เป็น กระทรวงคมนาคม
เปลี่ยนชื่อกระทรวงธรรมการ เป็น กระทรวงศึกษาธิการ และ
ยุบเลิกกระทรวงเมืองหรือกระทรวงนครบาลออกไป
การปรับปรุงการบริหารราชการในส่วนภูมิภาค
มีการรวมมณฑลหลายมณฑลเข้าด้วยกันเป็น “ ภาค ”
แต่ล่ะภาคมี ผู้บัญชาการภาค ขึ้นตรงต่อพระมหากัตริย์
เพื่อสนองพระบรมราโชบายของพระองค์ได้อย่างครบถ้วน

วิชา ประวัติศาสตร์ ส30101


บทที่ 5 พื้นฐานประชาธิปไตยในสมัยสมบูรณาญาสิทธิราชย์

การปรับปรุงการปกครองในสมัยรัชกาลที่ 7
พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงมีพระบรมราโชบายในการปกครองประเทศตามแบบอย่างรัชกาลที่ 6 คือ จัดตั้งผู้มี
ความรู้ความสามารถปฏิบัติหน้าที่ด้านต่างๆแทนพระองค์ คณะบุคคลที่ได้รับโปรดเกล้าฯ เพื่อปฏิบัติงานในหน้าที่สาคัญมีดังนี้
อภิรัฐมนตรีสภา องคมนตรีสภา เสนาบดีสภา
โปรดเกล้าฯ แต่งตั้งสมาชิก โปรดเกล้าฯ แต่งตั้งองคมนตรี สมาชิกประกอบด้วย
อภิรัฐมนตรีสภา ประกอบด้วย ชุดใหม่จานวน 40 คน เรียกว่า เสนาบดีกระทรวงต่างๆ
พระบรมวงศานุวงศ์ 5 พระองค์ “สภากรรมการองคมนตรี” ทาหน้าที่ถวายความเห็นแด่
มีหน้าที่ถวายงานบริหารราชการ ทาหน้าที่ถวายความคิดเห็น พระเจ้าอยู่หัว หรือ
เรื่องสาคัญที่ได้รับมอบหมาย คือ เกี่ยวกับร่างกฎหมายที่ ปฏิบัติหน้าที่ตามที่
พิจารณาแก้ไขสุขาภิบาลที่มีอยู่ ประกาศใช้ ตลอดจน ได้รับมอบหมาย
ในขณะนั้น งานบริหารราชการด้านต่างๆ
วิชา ประวัติศาสตร์ ส30101
บทที่ 5 พื้นฐานประชาธิปไตยในสมัยสมบูรณาญาสิทธิราชย์

การบริหารราชการส่วนกลางและส่วนภูมิภาค

ส่วนกลาง
เนื่องจากประเทศประสบภาวะเศรษฐกิจตกต่าอย่าง
มาก เพราะพึ่งผ่านสงครามโลกครั้งที่ 1 ไปไม่กี่ปี ส่วนภูมิภาค
จึงมีความต้องลดค่าใช้จ่ายแผ่นดิน ด้วยการยุบ โปรดเกล้าฯ ให้ยุบยกเลิกมณฑลภาค และรวม
หน่วยราชการ หรือนาหน่วยราชการมา มณฑลหลายๆ มณฑลเข้าด้วยกัน นอกจากนั้นยัง
รวมกันเช่น รวมกระทรวงคมนาคม มีการยุบยกเลิกจังหวัดบางจังหวัดอีกด้วย
กับพาณิชย์เป็นกระทรวงพาณิชย์และคมนาคม และ
รวมกระทรวงทหารเรือ เข้าไปสังกัดกระทรวงกลาโหม

วิชา ประวัติศาสตร์ ส30101


บทที่ 5 พื้นฐานประชาธิปไตยในสมัยสมบูรณาญาสิทธิราชย์

พัฒนาการด้านการศาล กฎหมาย และแนวคิดในการพระราชทานรัฐธรรมนูญแก่ประชาชน

การศาลและกฎหมาย
รัชกาลที่ 5 ทรงโปรดเกล้าฯ ให้จัดตั้งกระทรวงยุติธรรมเพื่อรวบรวมศาลทั้งหลาย มาไว้ใต้สังกัดเดียวกัน
เพื่อให้การบริหารงานยุติธรรมเป็นระบบเดียวกัน และแยกอานาจตุลาการออกจากอานาจบริหารตาม
แบบอารยประเทศ ทาให้ระบบศาลของไทยเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน

การปฏิรูปกฎหมาย
ในสมัยรัชกาลที่ 6 มีการแบ่งหน้าที่ของกระทรวงยุติธรรมออกเป็น 2 ฝ่ายคือฝ่ายธุรการกับฝ่ายตุลาการ
นอกจากนั้นยังโปรดเกล้าฯ ให้ยกฐานะโรงเรียนกฎหมายเป็นโรงเรียนหลวงขึ้นต่อกระทรวงยุติธรรม
อีกทั้งยังโปรดเกล้าฯ ให้ตั้ง “สภานิติศึกษา” มีหน้าที่จัดระเบียบ และวางหลักสูตรการศึกษาของ
โรงเรียนกฏหมาย

วิชา ประวัติศาสตร์ ส30101


บทที่ 5 พื้นฐานประชาธิปไตยในสมัยสมบูรณาญาสิทธิราชย์

แนวคิดในการพระราชทานรัฐธรรมนูญแก่ประชาชน

ไทยจาเป็นต้องได้รับการ เคณะบุคคลดังกล่าว ใน ร.ศ.130 แต่ประสบ


เปลี่ยนแปลงการปกครองตาม เสนอให้ใช้รัฐธรรมนูญ ความล้มเหลว ซึ่งผู้นากบฏมี
แบบอย่างอารยประเทศ แต่ รัชกาลที่ 5 ไม่ทรงเห็นด้วย จุดมุ่งหมายที่จะล้มเลิกระบอบเดิม
เพื่อไม่ให้ถูกใช้เป็นข้ออ้าง เพราะ คนไทยส่วนใหญ่ เปลี่ยนเป็นประชาธิปไตย
ในการเข้ายึดครอง ยังด้อยการศึกษา โดยมีประธานาธิบดีเป็นประมุข

ได้มีการพระราชทานรัฐธรรมนูญ พระกัลยาณไมตรีทรงบอกว่า แนวความคิดของกลุ่มกบฏสร้าง


แต่คณะพิจารณาไม่เห็นสมควรจึง ชาวไทยยังไม่เหมาะกับ ความกังวลเป็นอย่างมาก
ทาให้พระองค์เกิดความลังเล การปกครองแบบรัฐสภา และเกรงว่าชาวไทยจะคล้อยตาม
จึงยังรั้งรอไว้ก่อน จนกบฏ เพราะยังเลือกตั้งไม่เป็น ผู้ไม่หวังดี จึงเร่งให้ชาวไทย
เข้ายึดอานาจใน พ.ศ.2475 ระหว่างรอให้ใช้แบบเดิมก่อน ได้ศึกษาอย่างทั่วถึง

วิชา ประวัติศาสตร์ ส30101


บทที่ 5 พื้นฐานประชาธิปไตยในสมัยสมบูรณาญาสิทธิราชย์
การฝึกฝนการเรียนรู้ประชาธิปไตย
พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงตั้งพระทัยจะให้ข้าราชการ ขุนนาง ได้เรียนรู้การปกครองแบบ
ประชาธิปไตย โดยโปรดเกล้าฯให้มีการทดลองบริหารเมือง โดยมีนามสมมุติว่า “ดุสิตธานี”
ดุสิตธานีเป็นนครจาลองที่มีคณะผู้บริหารมาจากการเลือกตั้ง มีการตั้งพรรคการเมือง มีการโฆษณาหาเสียงตาม
แบบการเลือกตั้งทั่วไป พรรคการเมืองไหนใดรับคะแนนมากจะได้เป็นผู้จัดตั้งคณะผู้บริหาร เรียกว่า “คณะนคราภิบาล”
สมาชิกสภาซึ่งได้รับเลือกตั้งจากประชาชน เรียกว่า “เชษฐบุรุษ” บริหารไปตามธรรมนูญการปกครองของนครและ
ความต้องการของประชาชน
การพัฒนาการปกครองส่วนท้องถิ่นในรูปแบบ ไม่สามารถดาเนินการไปตามพระราชบัญญัติได้เนื่องจากต้องผ่าน
การพิจารณาหลายขั้นตอน และยังมิได้ประกาศเป็นทางการก็เกิดเปลี่ยนแปลงการปกครองในปี พ.ศ. 2475 เสียก่อน

วิชา ประวัติศาสตร์ ส30101


จัดทาโดย
1. นายแคน คินซันมอ เลขที่ 23
2. นายสันต์ชัช อินต๊ะ เลขที่ 17
3. นายภากร จุรณจันทน์ เลขที่ 19
4. น.ส.ชนาพัฒน์ นราทอง เลขที่ 21
5. น.ส.บุญญิสา ไทยวงษา เลขที่ 27
6. น.ส.วิไลวรรณ ปึงธนาพิทักษ์ เลขที่ 32
7. น.ส.หงสรถ ไกรราช เลขที่ 39
8. น.ส.อรทัย นิลนวล เลขที่ 40
9. น.ส.สุนิสา พฤกษาอารักษ์ เลขที่ 45
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ห้อง 10

You might also like