Download as ppt, pdf, or txt
Download as ppt, pdf, or txt
You are on page 1of 45

การนำเสนอผลงาน

ทางวิชาการ
อาจารย์ วันจรัตน์ เดชวิลยั
wancharat@phuket.psu.ac.th
การเตรียมการหรือการวางแผนนำเสนองาน
• หน้ าทีข่ องผู้นำเสนองาน
• การวิเคราะห์ ผู้ฟัง
• การกำหนดเนือ้ หา
• ขั้นตอนการนำเสนอ
การนำเสนอ (Presentation)
• การถ่ ายทอดความคิดในเรื่องหนึ่งเรื่องใดทีม่ ี
วัตถุประสงค์ แน่ ชัดให้ ผู้ฟังเข้ าใจ ภายในเวลา
จำกัด
วัตถุประสงค์ ในการนำเสนอ
• การนำเสนอเพือ่ เสนอข้ อมูลข่ าวสาร
• การนำเสนอเพือ่ แลกเปลีย่ นความเห็นหรือข้ อความ
เห็นชอบ
• เพือ่ แนะนำข้ อมูลต่ าง ๆ
• เพือ่ โน้ มน้ าว หรือ เพือ่ การตัดสิ นใจ
รู ปแบบการนำเสนอ
แบบที่ 1 การถ่ ายทอดความรู้ จากผู้พูดสู่ ผู้ฟัง
แบบที่ 2 การรายงาน เป็ นการนำเสนอข้ อมูลเกีย่ วกับการปฏิบัติ
งานตลอดจนความก้ าวหน้ าในการปฏิบัตงิ าน
แบบที่ 3 การนำเสนอผลงาน หรือ โครงการ ทีศ่ ึกษาค้ นคว้ า
แบบที่ 4 การนำเสนอความคิด เป็ นการนำเสนอความคิดของ
ตนต่ อกลุ่มหรือทีป่ ระชุม
องค์ ประกอบในการนำ
เสนอ
• บทเสนอ (script) หรือเนือ้ หาสาระที่นำเสนอ
• ระยะเวลาที่นำเสนอ ไม่ เกิน 20 นาที
• ผู้นำเสนอ
• อุปกรณ์ ประกอบการนำเสนอ ได้ แก่ คอมพิวเตอร์ และ
เครื่องฉาย ภาพ ฯลฯ
•การฝึ กซ้ อมนำเสนอตามบทนำเสนอ
การเตรียมการหรือการวางแผนนำเสนองาน
• หน้ าทีข่ องผู้นำเสนองาน
• การกำหนดเนือ้ หา
• การวิเคราะห์ ผู้ฟัง
• ขั้นตอนการนำเสนอ
เราใช้ “ทักษะ” อะไรบ้ างในการเสนองาน
1. ทักษะในการวางแผน&จัดรู ปแบบการนำเสนอ การเตรียมตัว
“Planning & Organizing” Skill นำเสนอ
การพัฒนา
2. ทักษะในการคิด”และ การขายความคิด ข้ อเสนอ

3. ทักษะในการสื่ อสาร “Communication Skill การนำเสนอ


ทักษะในการนำเสนอ “Planning & Organizing” Skill

การจัดทำเอกสารและการเลือกใช้
สื่ อ
ประกอบการนำเสนอ
Human Perception
83%
10%

4%
2%
1%
การเตรียมสื่ อPower Point
การนำเสนอ
1. การร่ าง (Outline)
2. ส่ วนประกอบภาพนิ่ง (Slide Structure)
3. แบบตัวอักษร (Fonts)
4. สี ของตัวอักษร (Colour)
5. ภาพพืน้ หลัง (Background)
การเตรียมสื่ อPower Point การนำเสนอ

6. ตาราง (Graphs)
7. การสะกดคำและไวยากรณ์ (Spelling and Grammar)
8. ส่ วนสุ ดท้ ายของการนำเสนอ (Conclusions)
9. คำถาม (Questions)
การร่ าง (Outlines)
ส่ วนประกอบภาพนิ่ง (Slide Structure)
1. ร่ างภาพนิ่งทีจ่ ะใช้ นำเสนอ 1-2 แบบก่ อนทำของจริง
2. กำหนดหัวข้ อสำคัญก่ อนจะร่ าง
3. นำเสนอ 1-2 สไลด์ ต่ อนาที
4. เนือ้ ความเขียนในรู ปแบบหัวข้ อ มี 4-5 หัวข้ อ
ต่ อสไลด์
5. หลีกเลีย่ งการใช้ คำฟุ่ มเฟื อย ใช้ คำทีสำ
่ คัญและจำเป็ น
การร่ าง (Outlines)
ส่ วนประกอบภาพนิ่ง Slide Structure
6. ควรนำเสนอทีละหัวข้ อเพือ่ ช่ วยให้ ผู้นำเสนออธิบายได้
ตรงกับหัวข้ อนั้นๆ
7. การนำเสนอควรมีการยกตัวอย่ างประกอบ
8. หลีกเลีย่ งการใช้ ภาพเคลือ่ นไหวถ้ าจะใช้ ควรใช้ ภาพ
เคลือ่ นไหวทีม่ คี วามเกีย่ วข้ องกับเรื่องที่นำเสนอ
แบบตัวอักษร Fonts

1. ใช้ ขนาดตัวอักษรควร 32 p ขึน้ ไป


2. ควรใช้ ขนาดตัวอักษรทีแ่ ตกต่ างกันระหว่ างหัวข้ อหลัก
และหัวข้ อรอง
3. ถ้ าใช้ ตวั อักษรทีเ่ ล็ก การนำเสนอจะไม่ น่าสนใจ
4. ใช้ ขนาดตัวอักษรใหญ่ เมือ่ ต้ องการเน้ นข้ อความเท่ านั้น
แบบตัวอักษรควรใช้ แบบเดียวกันตลอดเนือ้ หา
ไม่ ควรใช้ แบบอักษรทีอ่ ่ านยาก
สี ของตัวอักษร Colour

1. ใช้ สีตวั อักษรให้ แตกต่ างกับภาพพืน้ หลัง


2. ใช้ สีกำหนดความสำคัญของตัวอักษร
3. ใช้ สีเน้ นข้ อความสำคัญ
4. อย่ าใช้ สีตวั อักษรทีม่ คี วามคล้ายคลึงกับภาพพืน้ หลัง
5. อย่ าใช้ สีตวั อักษรเพือ่ ตกแต่ งภาพนิ่งมากเพราะจะ
ทำให้ ผู้ชมเกิดความรำคาญหรือใช้ สีตวั อักษรทีแ่ ตก
ต่ างกันเกินความจำเป็ น
ภาพพืน้ หลัง Background และตารางGraphs
1. เลือกใช้ ภาพพืน้ หลังทีด่ ูเรียบง่ ายสบายตา หรือ
เลือกใช้ ภาพพืน้ หลังทีโ่ ทนสี มคี วามสว่ าง
2. ควรใช้ ภาพพืน้ หลังแบบเดียวกันหมดในการนำเสนอ
3. หลีกเลีย่ งภาพพืน้ หลังที่ทำให้ ยากต่ อการอ่ าน
4. ควรใช้ ตารางในการนำเสนอเพราะเข้ าใจง่ าย
5. เมือ่ นำเสนอตารางควรใส่ หัวข้ อทุกครั้ง
6. ตารางอย่ าให้ เล็กเกินไป
ขั้นสุ ดท้ ายการเตรียมและการนำเสนอ (Conclusion )
1. ก่อนจบเนือ้ หาควรมีหน้ ารองสุ ดท้ ายของภาพนิ่ง
1.1 สรุ ปหัวข้ อสำคัญของการนำเสนอ
1.2 เสนอแนะเนือ้ หาที่นำเสนอ
2. ตรวจสอบภาพนิ่งเพือ่ ตรวจสอบการสะกดการั นต์ พร้ อม
แก้ไขให้ ถูกต้ องก่ อนนำเสนอ
3. Questions? คำถาม?
3.1 จบการนำเสนอด้ วยคำถามง่ ายๆ
3.2 เชิญผู้ฟังการนำเสนอ ตั้งคำถามทีส่ งสั ย
ทักษะในการคิด”และ การขาย” ความคิด
โครงสร้ างของการนำเสนอ(ข้ อเสนอใหม่ ๆ)

1.หัวข้ อในการนำเสนอทีม่ า
2.สถานการณ์ ปัจจุบัน
3. ข้ อวิพากษ์ วจิ ารณ์ สำหรับ สถานการณ์ ปัจจุบัน
4. จุดมุ่งหมาย ความต้ องการ
5. ข้ อเสนอแนะหรือประโยชน์ ทจี่ ะได้ รับ
6. คำสรุ ปจบ
ทักษะในการสื่ อสาร “Communication” Skill

การนำเสนอผลงานทางวิชาการ
ลักษณะการนำเสนอผลงานทีด่ ี

ทฤษฎี 3 สบาย

ฟังสบายหู ดูสบายตา พาสบายใจ


ขั้นตอนการนำเสนอ
กิจกรรมนำเสนอ รายละเอียด เวลา/สื่ อ
เทคนิค
กระตุ้นความสนใจ 10%
เตรียมผู้ฟัง
แจ้ งวัตถุประสงค์
นำเสนอเนือ้ หา 80%
เสนอเนือ้ หา
ตัวอย่ าง
ตอบคำถาม ตอบคำถาม 10%
สรุป
สรุปเนือ้ หา
การเตรียมตัวในการนำเสนอ
1. วิเคราะห์ สภาพการณ์
2. ผู้ฟัง ( เพศ อายุ การศึกษา / อาชีพ จำนวน )
3. เนือ้ หา / ข้ อมูลในการนำเสนอ
4. กำหนดอุปกรณ์ ประกอบการนำเสนอ
5. ซักซ้ อม ทำโครงร่ างในการนำเสนอ
การวางแผนการนำเสนอ

1. ผู้ฟัง : จำนวน, เพศ , วัย , อาชีพ , ระดับการศึกษา


2. การวิเคราะห์ โอกาสและเวลา :
2.1 โอกาสทีจ่ ะมีการชุ มนุมกันนั้นเป็ นโอกาสอะไร
2.2 สถานที่ หอประชุ ม กลางแจ้ ง
2.3 มีรายการอืน่ ๆอีกหรือไม่ 2.4 เวลาที่กำหนดให้
3. จุดมุ่งหมายในการพูด
25
ขั้นตอนการนำเสนอผลงานทางวิชาการ

• คำปฏิสันถารกับผู้ฟัง (Address)
• การนำเข้ าสู่ เรื่อง (Approach)
• เนือ้ เรื่อง (Body)
• สรุป (Conclusion)

26
โครงร่ างในการนำเสนอ
• ชื่อเรื่อง...............................................................................
• จุดมุ่งหมาย.........................................................................
• อารัมภบท
 ประโยคเรียกความสนใจผู้ฟัง
 การสร้ างความสั มพันธ์
 ประเด็นสำคัญทีจ่ ะนำเสนอ
 การปฏิสันถาร
การปฏิสันถาร
ทางการ - ตำแหน่ งในพิธีการ ตำแหน่ งรอง กลุ่มผู้ฟังกลุ่มใหญ่ –
( ทุกคน ทุกท่ าน ทั้ง  หลาย )
ไม่ เป็ นทางการ - สวัสดี/ เรียน / กราบเรียน – ตำแหน่ งในพิธี -
ตำแหน่ งรองลงมา – กลุ่มผู้ฟังกลุ่มใหญ่ – ทีร่ ัก/ทีเ่ คารพ/ ทีน่ ับถือ
( ทุกคน ทุกท่ าน ทั้งหลาย )
28
ตัวอย่ างคำปฏิสันถาร

29
ตัวอย่ างคำปฏิสันถาร
• ท่ านอธิการบดี ท่ านอาจารย์ และนักศึกษาทีร่ ักทุกท่ าน
• ท่ านผู้ว่าราชการจังหวัด ท่ านผู้พพิ ากษาหัวหน้ าศาลและท่ านผู้มี
เกียรติทุกท่ าน
ถ้ าผู้ฟังเป็ นกลุ่มเดียวกัน ควรหาคำมาทักทายให้ มคี วามหมาย
เหมาะสมกับคุณสมบัตขิ องผู้ฟังส่ วนใหญ่
• เพือ่ นชาว.....ทีร่ ักทุกท่ าน
• คุณผู้หญิงทีร่ ักความงามทุกท่ าน
หลักการเปิ ดฉากการพูด
หลักการเปิ ดฉาก - ไม่ ยดื ยาว - เข้ าเนือ้ หา - พาจดจ่ อ
รู ปแบบการเปิ ดฉากการพูดทีด่ ี
- พาดหัวข่ าว - คำถาม - คำชม -
- คำรื่นเริง - คำเชิงกวี – เสนอตัวอย่ าง
รู ปแบบการพูดทีไ่ ม่ ดี
- การออกตัว ถ่ อมตัว -เยิน่ เย้ อ นอกประเด็น หรือ
- “ วันนีจ้ ะพูดเรื่อง ” 31
เนือ้ หาในการนำเสนอ

• กำหนดประเด็นให้ ชัดเจน
• เตรียมเน้ นตอนสำคัญให้ เด่ นชัดด้ วยการพูดซ้ำ
• การนำตัวอย่ างมาประกอบเนือ้ เรื่องต้ องให้ มคี วาม
เหมาะสม

32
โครงร่ างในการนำเสนอ
1. ประเด็นหลัก 1
ประเด็นย่ อย 1 , 2 (พร้ อมตัวอย่ างสนับสนุน)
2. ประเด็นหลัก
ประเด็นย่ อย 1 , 2 (พร้ อมตัวอย่ างสนับสนุน)
3. ประเด็นหลัก
ประเด็นย่ อย 1 , 2 (พร้ อมตัวอย่ างสนับสนุน)
สรุปเนือ้ หา
• สรุปความ : เป็ นการเน้นย้ำเฉพาะจุดสำคัญที่สุดของเรื่ องอีกครั้ง
• แบบคารมปาก : คือจบด้วยการนำเอาสุ ภาษิต คำพังเพย โคลง
กลอนมาใช้ เช่น “ผมเป็ นคนเดินช้า แต่ผมไม่เคยเดินถอยหลัง”
• แบบฝากให้ คดิ : เพื่อการสานต่อเจตนารมณ์

34
สรุป หรือ คำลงท้ าย : ไม่ เหมาะสม

• “คงจะได้ความรู ้ไม่มากก็นอ้ ย”
• “ขออภัยที่พดู ไม่ดีเพราะกำลังไม่สบาย”
• “ขอจบเพียงเท่านี้”
• “สมควรแก่เวลาแล้วขอขอบคุณ”
• “เรื่ องที่พดู ก็มีเท่านี้มีใครจะถามอะไรไหม ”
• “สุ ดท้ายนี้ขอขอบคุณทุก ๆ ท่านที่ต้ งั ใจฟังจนจบ”
35
ทักษะพืน้ ฐานในการพูด มี ๕ ประการ
• การใช้ สายตา
• การวางท่ า
• การใช้ ท่าท่ างประกอบ
• การเคลือ่ นไหว
• การแสดงออกทางสี หน้ า
ข้ อห้ ามในการใช้ สายตา
• อย่ าจ้ องมองไปทีใ่ ดทีห่ นึ่ง จุดใดจุดหนึ่ง
• อย่ าจ้ องมองหรือใช้ สายตาอย่ างไร้ จุดหมาย
• อย่ ากวาดสายตาให้ เป็ นระบบจนผู้ฟังจับได้
• จงละเว้ นสายตาทีไ่ ม่ สุภาพ
• ไม่ ควรละเว้ นสายตาจากผู้ฟังกลุ่มหนึ่งนานจนเกินไป
• ไม่ ควรตื่นเต้ นและตกใจกับสายตาของผู้ฟังทีป่ ระสานมา
37
บุคลิกภาพท่ าทาง : ข้ อแนะนำ
• บุคลิกภาพท่ าทาง ต้ องให้ เป็ นธรรมชาติ การแต่ งกายสุ ภาพดู
สบายตา และท่ าทางไม่ ฝืนทำหรือเลียนแบบผู้อนื่
• ใช้ ท่าทางให้ สัมพันธ์ กบั เนือ้ ความการพูด
• เท้ าแยกจากกันเล็กน้ อย เพือ่ ง่ ายต่ อการทรงตัว
• การทรงตัวทีด่ ตี ้ องไม่ เกร็ง ไม่ โค้ งงอ และไม่ เอนเอียง
• ไม่ เท้ าแขนทีแ่ ท่ นพูด หรือใช้ แท่ นเป็ นทีพ่ กั ผ่ อน
• ถ้ าไม่ จำเป็ นก็ไม่ ควรจับไมโครโฟน อาจวางมือทีแ่ ท่ นได้ 38
การใช้ มอื และนิว้ ประกอบท่ าทาง
• มือ เคลือ่ นไหวประกอบการพูดให้ ความหมายของข้ อความที่
กำลังพูดเด่ นชัดขึน้ ได้
• การใช้ นิว้ : การบอกทิศทาง การเน้ นความสำคัญ
• การยกมือทั้งสอง : เพือ่ แสดงระดับว่ าสิ่ งหนึ่งสู ง ส่ วนอีกสิ่ ง
หนึ่งต่ำกว่ า หรือเท่ าเทียมกัน
• การผายมือ : การเชิญชวน หรืออนุญาต
• การแบบมือ : การให้ หรือขอร้ อง
39
ข้ อพึงปฏิบัตใิ นการใช้ ท่าทาง
• พึงระวังการใช้ ท่าทางทีต่ รงกันข้ ามกับคำพูด เช่ น
การชี้ผดิ ทาง หรือ แสดงท่ าทางว่ า เล็ก , ใหญ่
• ฝึ กการใช้ ท่าทางประกอบให้ คล่องแคล่วและมั่นใจ
• ไม่ ควรเลียนแบบท่ าทางใครมาทั้งหมด จนขาดความเป็ นตัว
ของตัวเอง
• การพูดในหลายโอกาสห้ ามใช้ ท่าทางประกอบ การกล่ าว
รายงานอย่ างพิธีกร การให้ โอวาท การอ่านข่ าวทางโทรทัศน์
40
การเคลือ่ นไหว
• “ มนุษย์ ชองสิ่ งทีเ่ คลือ่ นไหว และเบื่อหน่ ายง่ ายในสิ่ งทีไ่ ม่
เคลือ่ นไหว ” การเคลือ่ นไหวในขณะทีพ่ ูดหมายความว่ า การ
เคลือ่ นย้ ายตำแหน่ งจากการทีผ่ ้ ูพูดอยู่ ณ จุดหนึ่งไปยังอีกจุด
หนึ่ง เช่ น
• การเคลือ่ นเข้ าไปใกล้ผ้ ูฟังหรือการเคลือ่ นย้ ายไปข้ าง ๆ
• การถอยหลังกลับสู่ ทเี่ ดิม
• ตลอดจนเคลือ่ นไปยังแผนภูมิ เพือ่ ชี้หรือย้ำสิ่ งใดสิ่ งหนึ่ง
41
การใช้ เสี ยงในการนำเสนอ

• เสี ยงจะมีท่วงทำนอง
• เสี ยงจะต้ องเป็ นเสี ยงทีเ่ สนาะหู
• เสี ยงควรมีช่วงเวลาแตกต่ างกันมากพอ
• เสี ยงมีความชัดเจนและถูกต้ อง
• เสี ยงต้ องดังพอสมควร

42
สรุปข้ อบกพร่ องทีพ่ บในการนำเสนอ
• บุคลิกภาพไม่ ดี
• ไม่ สามารถนำเสนอได้ ตามแผนทีว่ างไว้
• ใช้ ภาษาไม่ ถูกต้ อง /เหมาะสม
• การใช้ น้ำเสี ยงเบา จังหวะพูดไม่ น่าสนใจ
• ควบคุมสถานการณ์ ขณะนำเสนอไม่ ได้
• ปัญหาเทคนิคการใช้ สื่อ / ไม่ เปิ ดโอกาสให้ ผ้ ูฟังมีส่วนร่ วม
สรุป
การ
นำเสนอ

ฟังสบายหู ดูสบายตา พาสบายใจ


Kobkoon /Ka

You might also like