Download as pptx, pdf, or txt
Download as pptx, pdf, or txt
You are on page 1of 62

กล้ามเนื้ อ ( Muscle )

• ร่างกายประกอบด้วยกล้ามเนื้ อประมาณ
50 %
• แบ่งออกเป็ น 3 ประเภท
– กล้ามเนื้ อลาย ( Skeletal /
Striated muscle )
– กล้ามเนื้ อเรียบ ( Smooth /
Visceral muscle )
– กล้ามเนื้ อหัวใจ ( Cardiac muscle )
• มีคุณสมบัติท่ีสามารถหดตัวได้ ตอบสนองต่อ
การกระตุ้น ถูกยืดออกและคืนตัวกลับดัง
เดิมได้
เส้นใยกล้ามเนื้ อ ( Muscle Fiber)
ไมโอไฟบริล ( Myofibril )
sarcomere

A-band I-band

filament
Z-line
ไมโอไฟบริล ( Myofibril )
thick
thin filament
filament

Z- Z-
line line

I band A band
Binding Site Cross-bridge Thin Filament (actin)
(need Ca2+)

Z membrane
(end of sarcomere) Thick Filament (myosin)
ไมโอไฟบริล ( Myofibril )
• แต่ละไมโอไฟบริลประกอบด้วยเส้นใย 2
ชนิ ด
– เส้นใยบาง ( Thin filament /
Actin )
• โทรโปไมโอซิน ( Tropomyosin )
• โทรโปนิ น ( Troponin )
–Troponin T ทำาหน้าที่ยึดโทรโปนิน
ไว้กับสายโทรโปไมโอซิน
–Troponin I ทำาหน้าที่ยับยั้งการหด
ตัวของกล้ามเนื้ อ
–Troponin C ทำาหน้าที่จับกับ
แคลเซียมอิออน
ไมโอไฟบริล ( Myofibril )
• แต่ละไมโอไฟบริลประกอบด้วยเส้นใย 2
ชนิ ด
– เส้นใยหนา ( Thick filament /
Myosin )
กลไกการหดตัวของกล้ามเนื้ อ
กลไกการหดตัวของกล้ามเนื้ อ

• เมื่อ Action potential เดินทางมาถึง


ปลายเส้นประสาทยนต์
• ปลายประสาทหลั่งสารสื่อประสาท
( Neurotransmitter ) ;
Acetylcholine ทำาให้เกิดการกระตุ้น
ให้เกิด sodium - potassium pump ที่
เส้นใยกล้ามเนื้ อ
• Action potential เคลื่อนผ่านเข้าไป
ภายในเส้นใยกล้ามเนื้ อ ทำาให้
Sarcoplasmic reticulum หลั่ง
กลไกการหดตัวของกล้ามเนื้ อ
a b
a
100

tension generated
75

50
b
25
c
0
1.5 2.0 2.5 3.0
3.sarcomere
5 length
c [µ m]
Single
Twitch
Summati
on
Tetanic
contracti
on
หน่ วยประสาทยนต์ ( Motor Units)
• หน่ วยประสาทยนต์ (Motor unit )
เป็ นหน่ วยที่เล็กที่สด
ุ ที่กล้ามเนื้ อสามารถ
หดตัวได้
• ประกอบด้วยเส้นใยประสาทยนต์ ( Motor
neuron ) 1 เส้นและเส้นใยกล้าม
เนื้ อที่เส้นใยประสาทยนต์เส้นนั้นไปเลี้ยง
( Innervated muscle
fibers )
• Spinal Cord
• Motor neurons
• Innervated
muscle fibers



ปั จจัยที่ส่งผลต่อการสร้างแรงกล้ามเนื้ อ

• ความสัมพันธ์ระหว่างความยาวกับความ
ตึงตัวของกล้ามเนื้ อ ( Length -
Tension Relationship )
• ความสัมพันธ์ระหว่างแรงกับความเร็ว
( Force - Velocity
Relationship )
• ความหน่วงเชิงไฟฟ้ า-เชิงกล
( Electromechanical Delay )
• วงจรการยืด- หดตัว ( Stretch -
ความสัมพันธ์ระหว่างความยาว
กับความตึงตัวของกล้ามเนื้ อ
ความสัมพันธ์ระหว่างแรงกับความเร็ว
-
ความหน่ วงเชิงไฟฟ้ า เชิงกล

• ระยะเวลาหน่ วงระหว่างการกระตุ้นของ
กระแสประสาทกับการหดตัวของกล้าม
เนื้ อ
• 20 - 100 มิลลิวินาที ในกล้ามเนื้ อมนุษย์

-
วงจรการยืด หดตัว

• การยืดและหดตัวกลับมาอย่างรวดเร็วของ
กล้ามเนื้ อ
• ประกอบด้วยการหดตัวของกล้ามเนื้ อ 3
ประเภทต่อเนื่ องกัน
– หดตัวแบบยืดยาวออก ( Eccentric )
– หดตัวค้าง ( Isometric )
– หดตัวสั้นลง ( Concentric )
ประเภทของการหดตัวของกล้ามเนื้ อ

• การหดตัวของกล้ามเนื้ อสามารถแบ่งออกได้
ทั้งสิน
้ 2 ประเภท
– การหดตัวแบบความยาวของกล้ามเนื้อคงที่
( Isometric Contraction )
หรือการหดตัวค้าง ( Static
Contraction )
– การหดตัวแบบความตึงตัวของกล้ามเนื้อคงที่
( Isotonic Contraction )
โดยที่
• ความยาวของกล้ามเนื้อลดลง
( Concentric Contraction )
ประเภทของเส้นใยกล้ามเนื้ อ

• Type I / Slow oxidative


50 - 55 %
• Type II a / Fast
oxidative 30 - 35 %
• Type II b / Fast
glycolytic 15 %
การเรียงตัวของเส้นใยกล้ามเนื้ อ
ลักษณะการทำางาน

• Prime Movers / Agonists


– กล้ามเนื้ อมัดหลักที่หดตัวเพื่อให้เกิดการ
เคลื่อนไหวตามต้องการ
• Antagonists
– กล้ามเนื้ อมัดที่อยู่ดา้ นตรงข้ามกับ
Agonists
– โดยปกติจะคลายตัวเมื่อ Agonists หด
ตัว
– Co - contraction
ลักษณะการทำางาน

• Synergists / Neutralizers
– หดตัวเพื่อช่วยให้ Agonists ทำางานได้ดี
ยิ่งขึ้น
– จำากัดไม่ให้เกิดการเคลื่อนไหวอื่นๆที่ไม่
ต้องการ
• Fixators / Stabilzers
– หดตัวเพื่อช่วยยึดส่วนต้นของร่างกายในขณะ
ที่เกิดการเคลื่อนไหวในส่วนปลาย
( Smooth
กล้ามเนื้ อเรียบ

Muscles )
• เซลล์มีรูปร่างคล้ายกระสวย
• การหดตัวของกล้ามเนื้ อถูกควบคุมโดยระบบ
ประสาทอัตโนมัติ ( ANS )
• พบอย่บู ริเวณผนังของอวัยะภายใน เช่น
กระเพาะอาหาร ลำาไส้ หลอดเลือด
• โครงสร้างภายในประกอบด้วย เส้นใยแอก
ติน และไมโอซิน เช่นเดียวกับกล้ามเนื้ อ
ลาย
( Cardiac
กล้ามเนื้ อหัวใจ

Muscles )
• พบที่หัวใจ
• มีลักษณะผสมระหว่าง
กล้ามเนื้ อลายและ
เรียบ
• ควบคุมโดยระบบ
ประสาทอัตโนมัติ
( ANS )

กล้ามเนื้ อต่างๆในร่างกาย
กล้ามเนื้ อใบหน้า
กล้ามเนื้ อลิ้น และลำาคอ

Stylog
lossus

Hyoglossus
Stylohyoid
กล้ามเนื้ อลำาคอและหลอดลม

•Diga
Sternocleid
omastoid
str Sternohyoid
ic

กล้ามเนื้ อบริเวณทรวงอก
กล้ามเนื้ อบริเวณทรวงอก
กล้ามเนื้ อบริเวณหลังส่วนบน
กล้ามเนื้ อบริเวณหลังส่วนบน
กล้ามเนื้ อบริเวณหลังส่วนบน
กล้ามเนื้ อต้นแขนด้านหน้า
กล้ามเนื้ อต้นแขนด้านหลัง
กล้ามเนื้ อแขนท่อนล่างด้านหน้า
กล้ามเนื้ อแขนท่อนล่างด้านหลัง
กล้ามเนื้ อในฝ่ ามือ
กล้ามเนื้ อในฝ่ ามือ
กล้ามเนื้ อสะโพกและต้นขาด้านหน้า
กล้ามเนื้ อสะโพกและต้นขาด้านหลัง
กล้ามเนื้ อสะโพกและต้นขาด้านหลัง

Figure 11.19a, c
กล้ามเนื้ อหน้าแข้งและน่ อง
กล้ามเนื้ อภายในเท้า
กล้ามเนื้ อภายในเท้า
กล้ามเนื้ อภายในเท้า
กล้ามเนื้ อหลัง
กล้ามเนื้ อซี่โครง

Intercost
กล้ามเนื้ อหน้าท้อง

Inte
rnal Exte
Obli rnal
que Oliq
ue
Rectu
s
Abdom
inis

You might also like