Download as ppt, pdf, or txt
Download as ppt, pdf, or txt
You are on page 1of 91

อำนาจหน้ าที่ของกำนัน ผู้ใหญ่บ้าน

แพทย์ประจำตำบล
สารวัตรกำนัน และผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้าน
ตาม พ.ร.บ.ลักษณะปกครองท้ องที่
• รัฐธรรมนูญเป็ นกฎหมายสูงสุ ดที่ใช้ในการปกครองประเทศ แบ่งอำนาจ
ออกเป็ น ๓ อำนาจ คือ
- อำนาจนิติบญั ญัติ คือ รัฐสภา ทำหน้าที่ออกกฎหมาย ประกอบด้วย

ส.ส. ส.ว.
- อำนาจบริ หาร คือ รัฐบาลหรื อคณะรัฐมนตรี ทำหน้าที่ในการ
บริ หารประเทศ ประกอบด้วย นายกรัฐมนตรี และ รัฐมนตรี อีกไม่เกิน 3
5 คน รัฐมนตรี อีกไม่เกิน 35 คน
- อำนาจตุลาการ คือ อำนาจในการพิจารณาพิพากษาคดีของศาลต่าง
ฝ่ ายบริ หาร
• พ.ร.บ.ระเบียบบริ หารราชการแผ่นดิน เป็ นกฎหมายที่วางหลักในการ
บริ หารราชการของประเทศ โดยแบ่งออกเป็ น ๓ ส่ วน คือ
๑. ราชการบริ หารส่ วนกลาง
๒. ราชการบริ หารส่ วนภูมิภาค
๓. ราชการบริ หารส่ วนท้องถิ่น
ราชการบริ หารส่ วนกลาง
• ประกอบด้ วย
- สำนักนายกรัฐมนตรี
- กระทรวง ปัจจุบัน มี ๒๐ กระทรวง
- ทบวง
- กรม หรือส่ วนราชการทีเ่ รียกชื่ออย่ างอืน่ และมีฐานะเป็ นก
รม ซึ่งสั งกัดหรือไม่ สังกัดสำนักนายก กระทรวง ทบวง กรม
ราชการบริ หารส่ วนภูมิภาค
- คือ การแบ่ งอำนาจของราชการส่ วนกลาง กระทรวง
ทบวง กรมต่ าง ๆ ไปให้ ส่วนภูมภิ าคเพือ่ สนองความ
ต้ องการของประชาชนในเขตการปกครอง นั้น ๆ แต่ มใิ ช่
การกระจายอำนาจ
- เจ้ าหน้ าทีส่ ่ วนภูมภิ าคอยู่ใต้ การบังคับบัญชาของส่ วน
กลาง
- ราชการบริหารส่ วนภูมภิ าคได้ รับมอบอำนาจวินิจฉัย
สั่ งการเฉพาะบางเรื่อง บางประการเท่ านั้น
การปกครองส่ วนภูมิภาค

- ราชการบริ หารส่ วนภูมิภาค ประกอบด้วย


๑. จังหวัด เป็ นนิติบุคคล มีท้ งั หมด 76
จังหวัด
๒. อำเภอ ไม่เป็ นนิติบุคคล มีท้ งั หมด 878
อำเภอ
คณะกรมการจังหวัด
• คณะกรมการจังหวัด ประกอบด้ วย
- ผู้ว่าราชการจังหวัด
- รองผู้ว่าราชการจังหวัดคนหนึ่งตามทีผ่ ้ ูว่าราชการจังหวัด
มอบหมาย
- ปลัดจังหวัด
- อัยการจังหวัด
- ผู้บังคับการตำรวจภูธรจังหวัด
- หัวหน้ าส่ านราชการประจำจังหวัดจากกระทรวง หรือ
ทบวงละ ๑ คน ยกเว้ น กระทรวงมหาดไทย
อำเภอ
- ไม่ มฐี านะเป็ นนิตบิ ุคคล
- หลาย ๆ ตำบลรวมกันเป็ นอำเภอ
- ประกอบด้ วย นายอำเภอ ปลัดอำเภอ หัวหน้ า
ส่ วนราชการประจำอำเภอ
- กำนัน ผู้ใหญ่ บ้าน เป็ นผู้ช่วยเหลือนายอำเภอตาม
มาตรา ๒๗ และ มาตรา ๓๔ ทวิ
การปกครองส่ วนท้องถิ่น
- ใช้ หลักการกระจายอำนาจ
- ประกอบด้ วย
๑. กรุงเทพฯ
๒. เมืองพัทยา
๓. เทศบาล
๓.๑ เทศบาลนคร
๓.๒ เทศบาลเมือง
๓.๓ เทศบาลตำบล
การปกครองส่ วนท้องถิ่น (ต่อ)

๔. องค์การบริ หารส่ วนจังหวัด


๕. องค์การบริ หารส่ วนตำบล อยูใ่ นการกำกับ
ดูแลของนายอำเภอ
รูรปู แบบการปกครองท้ องที่

• ประกอบด้ วย
- หมู่บ้าน
- ตำบล
- อำเภอ
มาตรา ๙ ในหมู่บ้านหนึ่งให้ มผี ู้ใหญ่ บ้านคนหนึ่ง
และมีผู้ช่วยผู้ใหญ่ บ้านฝ่ ายปกครอง หมู่บ้านละสอง
คน เว้ นแต่ หมู่บ้านใดมีความจำเป็ นต้ องมีมากกว่ า
สองคน ให้ ขออนุมตั กิ ระทรวงมหาดไทย
ในหมู่บ้านใด ผู้ว่าราชการจังหวัดเห็นสมควร
ให้ มผี ู้ช่วยผู้ใหญ่ บ้านฝ่ ายรักษาความสงบ ก็ให้ มไี ด้
ตามจำนวนทีก่ ระทรวงมหาดไทยจะเห็นสมควร
ผู้ใหญ่ บ้านจะได้ รับเงินเดือน แต่ มใิ ช่ จากเงิน
งบประมาณประเภทเงินเดือน ส่ วนผู้ช่วยผู้ใหญ่ บ้าน
ฝ่ ายรักษาความสงบและ ผู้ช่วยผู้ใหญ่ บ้านฝ่ าย
มาตรา ๑๐ ผู้ใหญ่ บ้านมีอำนาจหน้ าทีป่ กครอง
บรรดาราษฎรทีอ่ ยู่ในเขตหมู่บ้าน
มาตรา ๑๑ ราษฎรผูม้ ีสิทธิเลือกผูใ้ หญ่บา้ นต้องมี
คุณสมบัติและไม่มีลกั ษณะต้องห้ามดังต่อไปนี้
(๑) มีสญ
ั ชาติไทยและมีอายุไม่ต ่ำกว่าสิ บแปด
ปี บริ บูรณ์ในวันที่ ๑ มกราคม ของปี ที่มีการเลือก
(๒) ไม่เป็ นภิกษุ สามเณร นักพรต หรื อ
นักบวช
(๓) ไม่เป็ นคนวิกลจริ ต หรื อจิตฟั่นเฟื อนไม่
สมประกอบ
(๔) มีภูมิลำเนาหรื อถิ่นที่ประจำ และมีชื่อใน
ทะเบียนบ้านตามกฎหมายว่าด้วยการทะเบียน
มาตรา ๑๒ ผู้ทจี่ ะได้ รับเลือกเป็ นผู้ใหญ่ บ้านต้ องมีคุณสมบัตแิ ละ
ไม่ มลี กั ษณะต้ องห้ ามดังต่ อไปนี้
(๑) มีสัญชาติไทยโดยการเกิด
(๒) อายุไม่ ต่ำกว่ ายีส่ ิ บห้ าปี บริบูรณ์ ในวันรับเลือก
(๓) มีภูมลำ ิ เนาหรือถิน่ ทีอ่ ยู่เป็ นประจำและมีชื่อในทะเบียนบ้ าน
ตามกฎหมายว่ าด้ วยการทะเบียนราษฎรในหมู่บ้านนั้นติดต่ อกัน
มาแล้วไม่ น้อยกว่ าสองปี จนถึงวันเลือกและเป็ นผู้ทปี่ ระกอบอาชีพ
เป็ นหลักฐาน
(๔) เป็ นผู้เลือ่ มในในการปกครองตามรัฐธรรมนูญด้ วยความ
บริสุทธิ์ใจ
(๕) ไม่ เป็ นภิกษุ สามเณร นักพรต หรือนักบวช
(๖) ไม่เป็ นผูม้ ีร่างกายทุพพลภาพจนไม่สามารถ
ปฏิบตั ิหน้าที่ได้วกิ ลจริ ตจิตฟั่นเฟื อน ไม่สมประกอบ
ติดยาเสพติดให้โทษ หรื อเป็ นโรคตามที่รัฐมนตรี
ว่าการกระทรวงมหาดไทยประกาศกำหนดในราชกิจ
จานุเบกษา
(๗) ไม่เป็ นสมาชิกรัฐสภา สมาชิกสภาท้องถิ่น
หรื อผูบ้ ริ หารท้องถิ่น ข้าราชการการเมือง ข้าราชการ
ประจำ พนักงาน เจ้าหน้าที่หรื อลูกจ้างของหน่วยงาน
ของรัฐ หรื อของรัฐวิสาหกิจ หรื อขององค์กร
ปกครองส่ วนท้องถิ่น หรื อลูกจ้างของส่ วนราชการ
หรื อลูกจ้างของเอกชนซึ่งมีหน้าที่ ทำงานประจำ
(๘) ไม่ เป็ นผู้มอี ทิ ธิพลหรือเสี ยชื่อในทางพาลหรือทางทุจริต
หรือเสื่ อมเสี ยในทางศีลธรรม
(๙) ไม่ เป็ นผู้เคยถูกให้ ออก ปลดออก หรือไล่ออกจากราชการ
หน่ วยงานของรัฐ รัฐวิสาหกิจ หรือองค์ กรปกครองส่ วนท้ องถิน่ เพราะ
ทุจริตต่ อหน้ าที่ และยังไม่ พ้นกำหนดเวลาสิ บปี นับแต่ วนั ถูกให้ ออก
ปลดออก หรือไล่ ออก
(๑๐) ไม่ เป็ นผู้เคยต้ องจำคุกโดยคำพิพากษาถึงทีส่ ุ ด เว้ นแต่ เป็ น
โทษสำหรับความผิดทีก่ ระทำโดยประมาท หรือความผิดลหุโทษ และยัง
ไม่ พ้นกำหนดเวลาสิ บปี นับแต่ วนั พ้นโทษ
(๑๑) ไม่ เป็ นผู้เคยต้ องคำพิพากษาถึงทีส่ ุ ดว่ ากระทำผิดเกีย่ วกับ
กฎหมายว่ าด้ วยป่ าไม้ กฎหมายว่ าด้ วยป่ าสงวนแห่ งชาติ กฎหมายว่ าด้ วย
การสงวนและคุ้มครองสั ตว์ ป่า กฎหมายว่ าด้ วยอุทยานแห่ งชาติ กฎหมาย
ว่ าด้ วยศุลกากร กฎหมายว่ าด้ วยอาวุธปื น เครื่องกระสุ นปื น วัตถุระเบิด
ดอกไม้ เพลิง และสิ่ งเทียมอาวุธปื น ในฐานความผิดเกีย่ วกับอาวุธปื น
เครื่องกระสุ นปื น หรือวัตถุระเบิดทีน่ ายทะเบียนไม่ อาจออกใบอนุญาตให้
ได้ กฎหมายว่ าด้ วยทีด่ นิ ในฐานความผิดเกีย่ วกับที่สาธารณประโยชน์
กฎหมายว่ าด้ วยยาเสพติด กฎหมายว่ าด้ วยการเลือกตั้ง และกฎหมายว่ าด้ วย
การพนัน ในฐานความผิดเป็ นเจ้ ามือหรือเจ้ าสำนัก
(๑๒) ไม่ เป็ นผู้เคยถูกให้ ออกจากตำแหน่ งตามมาตรา ๑๔ (๖)
หรือ (๗) และยังไม่ พ้นกำหนดเวลาสิ บปี นับแต่ วนั ทีถ่ ูกให้ ออก
(๑๓) ไม่ เป็ นผู้เคยถูกลงโทษให้ ออก ปลดออก หรือไล่ ออก
จากตำแหน่ งกำนัน ผู้ใหญ่ บ้าน แพทย์ ประจำตำบล หรือผู้ช่วยผู้ใหญ่ บ้าน
ตามกฎหมายว่ าด้ วยระเบียบข้ าราชกรพลเรือน และยังไม่ พ้นกำหนด
เวลาสิ บปี นับแต่ วนั ถูกให้ ออก ปลดออก หรือไล่ออก
(๑๔) มีพนื้ ความรู้ ไม่ ต่ำกว่ าการศึกษาภาคบังคับ หรือทีก่ ระทรวง
ศึกษาธิการเทียบไม่ ต่ำกว่ าการศึกษาภาคบังคับ เว้ นแต่ ในท้ องทีใ่ ดไม่ อาจ
เลือกผู้มพี นื้ ความรู้ ดงั กล่ าวได้ ผู้ว่าราชการจังหวัดโดยอนุมตั ริ ัฐมนตรี
ว่ าการกระทรวงมหาดไทย อาจประกาศในราชกิจจานุเบกษายกเว้ นหรือ
ผ่ อนผันได้
(๑๕) ไม่ เป็ นผู้อยู่ในระหว่ างเสี ยสิ ทธิในกรณีทไี่ ม่ ไปใช้ สิทธิ
เลือกตั้งหรือถูกเพิกถอนสิ ทธิเลือกตั้ง
มาตรา ๑๔ ผู้ใหญ่ บ้านต้ องพ้นจากตำแหน่ งด้ วยเหตุใดเหตุหนึ่ง
ดังต่ อไปนี้
(๑) มีอายุครบหกสิ บปี
(๒) ขาดคุณสมบัตหิ รือมีลกั ษณะต้ องห้ ามตามมาตรา ๑๒
เว้ นแต่ ในกรณีทไี่ ด้ รับอนุญาตจากผู้ว่าราชการจังหวัดให้ ลาอุปสมบทหรือ
บรรพชาตามประเพณี มิให้ ถอื ว่ ามีลกั ษณะต้ องห้ ามตามมาตรา ๑๒ (๕)
(๓) ตาย
(๔) ได้ รับอนุญาตจากนายอำเภอให้ ลาออก
(๕) หมู่บ้านทีป่ กครองถูกยุบ
(๖) เมือ่ ราษฎรผู้มคี ุณสมบัตแิ ละไม่ มลี กั ษณะต้ องห้ ามตามมาตรา
๑๑ ในหมู่บ้านนั้นจำนวนไม่ น้อยกว่ ากึง่ หนึ่งของราษฎรผู้มคี ุณสมบัตแิ ละ
ไม่ มลี กั ษณะต้ องห้ ามตามมาตรา ๑๑ ทั้งหมด เข้ าชื่อกันขอให้ ออกจาก
ตำแหน่ ง ในกรณีเช่ นนีใ้ ห้ นายอำเภอสั่ งให้ พ้นจากตำแหน่ ง
(๗) ผู้ว่าราชการจังหวัดสั่ งให้ พ้นจากตำแหน่ ง เมือ่ ได้ รับรายงาน
การสอบสวนของนายอำเภอว่ าบกพร่ องในหน้ าที่ หรือประพฤติไม่
เหมาะสมกับตำแหน่ ง
(๘) ไปเสี ยจากหมู่บ้านทีต่ นปกครองติดต่ อกันเกินสามเดือน
เว้ นแต่ เมือ่ มีเหตุอนั สมควรและได้ รับอนุญาตจากนายอำเภอ
(๙) ขาดการประชุมประจำเดือนของกำนัน ผู้ใหญ่ บ้าน
ทีน่ ายอำเภอเรียกประชุมสามครั้งติดต่ อกันโดยไม่ มเี หตุอนั ควร
(๑๐) ถูกปลดออกหรือไล่ออกจากตำแหน่ ง เนื่องจากกระทำผิด
วินัยร้ ายแรง
(๑๑) ไม่ ผ่านการประเมินผลการปฏิบัตหิ น้ าที่ ซึ่งต้ องทำอย่ างน้ อย
ทุกห้ าปี นับแต่ วนั ทีไ่ ด้ รับการแต่ งตั้ง ทั้งนี้ ตามหลักเกณฑ์ และวิธีการ
ทีก่ ระทรวงมหาดไทยกำหนดโดยประกาศในราชกิจจานุเบกษา
ในกรณีทผี่ ้ ูใหญ่ บ้านพ้นจากตำแหน่ งตาม (๘) ให้ รายงาน
ผู้ว่าราชการจังหวัดทราบโดยเร็วด้ วย
มาตรา ๑๕ ผู้ใหญ่ บ้านและกำนันท้ องทีร่ ่ วมกันพิจารณาคัดเลือก
ราษฎรซึ่งมีคุณสมบัตติ ามมาตรา ๑๖ เป็ นผู้ช่วยผู้ใหญ่ บ้านฝ่ ายปกครอง
และผู้ช่วยผู้ใหญ่ บ้านฝ่ ายรักษาความสงบ
มาตรา ๑๖ ผู้มสี ิ ทธิจะได้ รับเลือกเป็ นผู้ช่วยผู้ใหญ่ บ้านฝ่ าย
ปกครอง หรือผู้ช่วยผู้ใหญ่ บ้านฝ่ ายรักษาความสงบ ต้ องมีคุณสมบัตแิ ละ
ไม่ มลี กั ษณะต้ องห้ ามตามมาตรา ๑๒
มาตรา ๑๘ ผู้ช่วยผู้ใหญ่ บ้านฝ่ ายปกครองและผู้ช่วยผู้ใหญ่ บ้าน
ฝ่ ายรักษาความสงบอยู่ในตำแหน่ งคราวละห้ าปี
นอกจากออกจากตำแหน่ งตามวาระ ผู้ช่วยผู้ใหญ่ บ้านฝ่ ายปกครอง
และผู้ช่วยผู้ใหญ่ บ้านฝ่ ายรักษาความสงบต้ องออกจากตำแหน่ งเพราะ
ขาดคุณสมบัตหิ รือมีลกั ษณะต้ องห้ ามตามมาตรา ๑๒ หรือเพราะเหตุ
เช่ นเดียวกับทีผ่ ้ ูใหญ่ บ้านต้ องออกจากตำแหน่ งตามมาตรา ๑๔ (๒) ถึง (๗)
ถ้ าตำแหน่ งผู้ช่วยผู้ใหญ่ บ้านฝ่ ายปกครองหรือผู้ช่วยผู้ใหญ่ บ้านฝ่ าย
รักษาความสงบว่ างลงให้ มกี ารคัดเลือกผู้ช่วยผู้ใหญ่ บ้านฝ่ ายปกครองหรือ
ผู้ช่วยผู้ใหญ่ บ้านฝ่ ายรักษาความสงบแทน และให้ นำความในความใน
มาตรา ๑๕ มาตรา ๑๖ และมาตรา ๑๗ มาใช้ บังคับโดยอนุโลม
ผู้ซึ่งได้ รับคัดเลือกตามวรรคสามอยู่ในตำแหน่ งตามวาระของผู้ซึ่งตนแทน
เมือ่ ผู้ใหญ่ ต้องออกจากตำแหน่ งไม่ ว่าด้ วยเหตุใด ให้ ผ้ ูช่วยผู้ใหญ่
บ้ านฝ่ ายปกครองและผู้ช่วยผู้ใหญ่ บ้านฝ่ ายรักษาความสงบต้ องออกจาก
ตำแหน่ งด้ ย
มาตรา ๒๗ ผู้ใหญ่ บ้านทำหน้ าทีช่ ่ วยเหลือนาย
อำเภอในการปฏิบัตหิ น้ าทีแ่ ละเป็ นหัวหน้ าราษฎรใน
หมู่บ้านของตน และมีอำนาจหน้ าทีด่ งั ต่ อไปนีด้ ้ วย
(๑) อำนวยความเป็ นธรรมและดูแลรักษาความสงบเรียบร้ อย
และความปลอดภัยแก่ ราษฎรในหมู่บ้าน

(๒) สร้ างความสมานฉันท์ และความสามัคคีให้ เกิดขึน้ ใน


หมู่บ้าน รวมทั้งส่ งเสริมวัฒนธรรมและประเพณีในท้ องที่

(๓) ประสานหรืออำนวยความสะดวกแก่ราษฎรในหมู่บ้านใน
การติดต่ อหรือรับบริการกับส่ วนราชการ หน่ วยงานของรัฐ องค์ กร
ปกครองส่ วนท้ องถิน่
(๔) รับฟังปัญหาและนำความเดือดร้ อน ทุกข์ สุขและความต้ องการที่
จำเป็ นของราษฎรในหมู่บ้าน แจ้ งต่ อส่ วนราชการ หน่ วยงานของรัฐ องค์ กร
ปกครองส่ วนท้ องถิน่ หรือองค์ กรอืน่ ทีเ่ กีย่ วข้ อง เพือ่ ให้ ช่วยแก้ ไขหรือช่ วยเหลือ

(๕) ให้ การสนับสนุน ส่ งเสริม และอำนวยความสะดวกในการปฏิบัติ


หน้ าทีห่ รือการให้ บริการของส่ วนราชการ หน่ วยงานของรัฐ หรือองค์ กร
ปกครองส่ วนท้ องถิน่

(๖) ควบคุมดูแลราษฎรในหมู่บ้านให้ ปฏิบัตเิ ป็ นไปตามกฎหมายหรือ


ระเบียบแบบแผนของทางราชการ โดยกระทำตนให้ เป็ นตัวอย่ างแก่ ราษฎรตาม
ทีท่ างราชการได้ แนะนำ
(๗) อบรมหรือชี้แจงให้ ราษฎรมีความรู้ ความเข้ าใจในข้ อ
ราชการ กฎหมาย หรือระเบียบแบบแผนของทางราชการ ในการ
นี้ สามารถเรียกราษฎรมาประชุ มได้ ตามสมควร
(๘) แจ้ งให้ ราษฎรให้ ความช่ วยเหลือในกิจการ
สาธารณประโยชน์ เพือ่ บำบัดปัดป้องภยันตรายสาธารณะอัน มี
มาโดยฉุกเฉิน รวมตลอดทั้งการช่ วยเหลือบรรเทาทุกข์ แก่ ผู้
ประสบภัย
(๙) จัดให้ มกี ารประชุ มราษฎรและคณะกรรมการหมู่บ้าน
เป็ นประจำอย่ างน้ อยเดือนละหนึ่งครั้ง
(๑๐) ปฏิบัตติ ามคำสั่ งของกำนันหรือทางราชการและรายงาน
เหตุการณ์ ทไี่ ม่ ปกติซึ่งเกิดขึน้ ในหมู่บ้านให้ กำนันทราบ พร้ อมทั้งรายงาน
ต่ อนายอำเภอด้ วย

(๑๑) ปฏิบัตติ ามภารกิจหรือรายงานอืน่ ตามกฎหมายหรือระเบียบ


แบบแผนของทางราชการ หรือตามทีก่ ระทรวง ทบวง กรม หน่ วยงานอืน่
ของรัฐ ผู้ว่าราชการจังหวัด หรือนายอำเภอมอบหมาย
มาตรา ๒๘ ผู้ใหญ่ บ้านมีหน้ าทีแ่ ละอำนาจในการทีเ่ กีย่ ว
กับความอาญาดังต่ อไปนี้
ข้ อ ๑ เมือ่ ทราบข่ าวว่ ามีการกระทำผิดกฎหมายเกิดขึน้ หรือสงสั ยว่ า
ได้ เกิดขึน้ ในหมู่บ้านของตน ต้ องแจ้ งความต่ อกำนันนายตำบลให้ ทราบ
ข้ อ ๒ เมือ่ ทราบข่ าวว่ ามีการกระทำผิดกฎหมายเกิดขึน้ หรือสงสั ยว่ า
ได้ เกิดขึน้ ในหมู่บ้านของตน ต้ องแจ้ งความต่ อผู้ใหญ่ บ้านนั้นให้ ทราบ
ข้ อ ๓ เมือ่ ตรวจพบของกลางทีผ่ ้ ูทกี่ ระทำผิดกฎหมายมีอยู่กด็ ี หรือมี
เหตุควรสงสั ยว่ าเป็ นผู้ทไี่ ด้ กระทำผิดกฎหมายก็ดี ให้ จับตัวผู้น้ันไว้ และรีบนำ
ส่ งต่ อกำนัน
ข้ อ ๔ เมือ่ ปรากฏว่ าผู้ใดกำลังกระทำผิดกฎหมายก็ดี หรือมีเหตุควร
สงสั ยว่ า เป็ นผู้ทไี่ ด้ กระทำผิดกฎหมายก็ดี ให้ จัดตัวผู้น้ันไว้ และรีบนำส่ งต่ อ
กำนันนายตำบล
ข้ อ ๕ ถ้ ามีหมายหรือคำสั่ งตามหน้ าทีร่ าชการ ให้ จับผู้ใด
ในหมู่บ้านนั้นเป็ นหน้ าทีข่ องผู้ใหญ่ บ้านทีจ่ ะจับผู้น้ันและรีบนำส่ งต่ อกำนัน หรือ
กรมการอำเภอตามสมควร
ข้ อ ๖ เมือ่ เจ้ าพนักงานผู้มหี น้ าทีอ่ อกหมายสั่ งให้ ค้นหรือให้ ยดึ ผู้ใหญ่ บ้าน
ต้ องจัดการให้ เป็ นไปตามหมาย
มาตรา ๒๘ ทวิ ผู้ช่วยผู้ใหญ่ บ้านฝ่ ายปกครองมีอำนาจ
หน้ าทีด่ งั ต่ อไปนี้

(๑) ช่ วยเหลือผู้ใหญ่ บ้านปฏิบัตภิ ารกิจการตามอำนาจหน้ าทีข่ องผู้ใหญ่


บ้ านเท่ าทีไ่ ด้ รับมอบหมายจากผู้ใหญ่ บ้านให้ กระทำ
(๒) เสนอข้ อแนะนำและให้ คำปรึกษาต่ อผู้ใหญ่ บ้าน ในกิจการทีผ่ ้ ูใหญ่
บ้ านมีอำนาจหน้ าที่
ผู้ช่วยผู้ใหญ่ บ้านฝ่ ายรักษาความสงบมีอำนาจหน้ าทีด่ งั ต่ อไปนี้
(๑) ตรวจตรารักษาความสงบเรียบร้ อยภายในหมู่บ้าน
(๒) ถ้ ารู้ เห็นหรือทราบว่ าเหตุการณ์ อนั ใดเกิดขึน้ หรือจะเกิดขึน้ ใน
หมู่บ้านเกีย่ วกับความสงบเรียบร้ อย ให้ นำความแจ้ งต่ อผู้ใหญ่ บ้าน
ถ้ าเหตุการณ์ ตามวรรคหนึ่งเกิดขึน้ หรือจะเกิดขึน้ ในหมู่บ้านใกล้
เคียง ให้ นำความแจ้ งต่ อผู้ใหญ่ บ้านในท้ องทีน่ ้ันและรายงานให้ ผ้ ูใหญ่ บ้าน
ของตนทราบ
(๓) ถ้ ามีคนจรเข้ ามาในหมู่บ้านและสงสั ยว่ าไม่ ได้ มาโดย
สุ จริตให้ นำตัวส่ งผู้ใหญ่ บ้าน
(๔) เมือ่ มีเหตุร้ายเกิดขึน้ ในหมู่บ้าน ต้ องระงับเหตุ ปราบ
ปรามติดตามจับผู้ร้ายโดยเต็มกำลัง
(๕) เมือ่ ตรวจพบหรือตามจับได้ สิ่งของใดทีม่ ไี ว้ เป็ นความผิด
หรือได้ ใช้ หรือมีไว้ เพือ่ ใช้ ในการกระทำความผิดหรือได้ มาโดย
การกระทำความผิด ให้ รีบนำส่ งผู้ใหญ่ บ้าน
(๖) เมือ่ มีเหตุอนั ควรสงสั ยว่ าผู้ใดได้ กระทำความผิด และ
กำลังจะหลบหนีให้ ควบคุมตัวส่ งผู้ใหญ่ บ้าน
(๗) ปฏิบัตติ ามคำสั่ งของผู้ใหญ่ บ้านซึ่งสั่ งการโดยชอบด้ วย
กฎหมาย
มาตรา ๒๘ ตรี ในหมู่บ้านหนึ่งให้ มคี ณะกรรมการหมู่บ้านประกอบ
ด้ วยผู้ใหญ่ บ้านเป็ นประธาน ผู้ช่วยผู้ใหญ่ บ้าน สมาชิกสภาองค์ กรปกครอง
ส่ วนท้ องถิน่ ทีมภี ูมลำ
ิ เนาในหมู่บ้าน ผู้นำหรือผู้แทนกลุ่มหรือองค์ กรใน
หมู่บ้านเป็ นกรรมการหมู่บ้านโดยตำแหน่ ง และกรรมการหมู่บ้านผู้ทรง
คุณวุฒิจำนวนไม่ น้อยกว่ าสองคนแต่ ไม่ เกินสิ บคน
คณะกรรมการหมู่บ้านมีหน้ าทีช่ ่ วยเหลือแนะนำ และให้ คำปรึกษาแก่
ผู้ใหญ่ บ้านเกีย่ วกับกิจการอันเป็ นอำนาจหน้ าทีข่ องผู้ใหญ่ บ้าน และปฏิบัติ
หน้ าทีอ่ นื่ ตามกฎหมาย หรือระเบียบแบบแผนของทางราชการ หรอทีน่ าย
อำเภอมอบหมาย หรือผู้ใหญ่ บ้านร้ องขอ
ให้ คณะกรรมการหมู่บ้านเป็ นองค์ การหลักทีร่ ับผิดชอบในการบูรณา
การจัดทำแผนพัฒนาหมู่บ้าน และบริหารจัดการกิจกรรมที่ดำเนินงานใน
หมู่บ้านร่ วมกับองค์ กรอืน่ ทุกภาคส่ วน...
ผู้นำหรือผู้แทนกลุ่มหรือองค์ กรใดจะมีสิทธิเป็ นกรรมการ
หมู่บ้านตามวรรคหนึ่ง ให้ เป็ นไปตามหลักเกณฑ์ ทกี่ ระทรวงมหาดไทย
กำหนดโดยประกาศในราชกิจจานุเบกษา
กรรมการหมู่บ้านผู้ทรงคุณวุฒิต้องมีคุณสมบัตเิ ช่ นเดียวกับ
ผู้มสี ิ ทธิเลือกผู้ใหญ่ บ้าน
วิธีการเลือกและการแต่ งตั้ง วาระการดำรงตำแหน่ ง และการพ้ น
จากตำแหน่ งของกรรมการหมู่บ้านผู้ทรงคุณวุฒิ และการปฏิบัตหิ น้ าที่
การประชุม และการวินิจฉัยชี้ขาด ของคณะกรรมการหมู่บ้านให้ เป็ นไป
ตามหลักเกณฑ์ และวิธีการทีก่ ระทรวงมหาดไทยกำหนดโดยประกาศใน
ราชกิจจานุเบกษา
ค่ าใช้ จ่ายในการประชุมคณะกรรมการหมู่บ้าน ให้ กระทรวง
มหาดไทยจ่ ายเป็ นเงินอุดหนุน ให้ ตามหลักเกณฑ์ ทกี่ ระทรวงมหาดไทย
กำหนดโดยประกาศในราชกิจจานุเบกษา

มาตรา ๒๙ ทวิ ในตำบลหนึ่งให้ มีกำนันคนหนึ่ง มีอำนาจหน้ าที่


ปกครองราษฎรทีอ่ ยู่ในเขตตำบลนั้น กำนันจะได้ รับเงินเดือนแต่ มใิ ช่ เงิน
จากงบประมาณประเภทเงินเดือน
มาตรา ๓๑ กำนันต้ องออกจากตำแหน่ งด้ วยเหตุใดเหตุหนึ่ง
ดังต่ อไปนี้
(๑) เมือ่ ต้ องออกจากผู้ใหญ่ บ้าน
(๒)ได้ รับอนุญาตให้ ลาออก
(๓) ยุบตำบลทีป่ กครอง
(๔) เมือ่ ข้ าหลวงประจำจังหวัดสั่ งให้ ออกจากตำแหน่ ง เพราะ
พิจารณาเห็นว่ าบกพร่ องในทางความประพฤติ หรือความสามารถไม่
พอแก่ ตำแหน่ ง
(๕) ต้ องถูกปลดหรือไล่ ออกจากตำแหน่ ง
การออกจากตำแหน่ งกำนันนั้นให้ ออกจากตำแหน่ งผู้ใหญ่ บ้าน
ด้ วย เว้ นแต่ การออกตาม (๒) (๓) และ (๔) ไม่ ต้องออกจากตำแหน่ งผู้ใหญ่ บ้าน
มาตรา ๓๔ บรรดาการทีจ่ ะตรวจตรารักษาความเป็ นปกติ
เรียบร้ อยในตำบล คือการทีจ่ ะว่ ากล่ าวราษฎรในตำบลนั้น ให้ ประพฤติ
ตามพระราชกำหนดกฎหมายก็ดหี รือการทีจ่ ะป้ องกันภยันตรายและ
รักษาความสงบสุ ขสำราญของราษฎรในตำบลนั้นก็ดหี รือการทีจ่ ะรับ
กิจสุ ขทุกข์ ของราษฎรในตำบลนั้นขึน้ ร้ องเรียนต่ อผู้ว่าราชการเมืองกรม
การอำเภอ และจะรับข้ อราชการมาประกาศแก่ราษฎรในตำบลนั้นก็ดี
หรือทีจ่ ัดการตามพระราชกำหนดกฎหมาย เช่ น การตรวจและนำเก็บ
ภาษีอากรในตำบลนั้นก็ดี การทั้งนีอ้ ยู่ในหน้ าทีข่ องกำนันผู้เป็ นนาย
ตำบล ผู้ใหญ่ บ้านทั้งปวงในตำบลนั้นและแพทย์ ประจำตำบลจะต้ องช่ วย
กันเอาเป็ นธุระจัดการให้ เรียบร้ อยได้ ตามสมควรแก่หน้ าที่
มาตรา ๓๔ ทวิ นอกจากอำนาจหน้ าทีท่ กี่ ล่ าวโดยเฉพาะ ให้
เป็ นอำนาจหน้ าทีข่ องกำนัน ให้ กำนันเมือ่ มีอำนาจหน้ าทีเ่ ช่ นเดียว
กับผู้ใหญ่ บ้านด้ วย
มาตรา ๓๕ กำนันมีหน้ าทีแ่ ละอำนาจในการทีเ่ กีย่ วด้ วยความ
อาญา ดังต่ อไปนีค้ อื
ข้ อ ๑ เมือ่ ทราบข่ าวว่ ามีการกระทำผิดกฎหมายเกิดขึน้ หรือ
สงสั ยว่ าได้ เกิดขึน้ ในตำบลของตนต้ องแจ้ งความต่ อกรมการอำเภอ
ทราบ
ข้ อ ๒ เมือ่ ทราบข่ าวว่ ามีการกระทำผิดกฎหมายเกิดขึน้ หรือ
สงสั ยว่ าได้ เกิดขึน้ ในตำบลทีใ่ กล้เคียง ต้ องแจ้ งความต่ อกำนันในตำบล
นั้นให้ ทราบ
ข้ อ ๓ เมือ่ ปรากฏว่ าผู้ใดกำลังกระทำผิดกฎหมายก็ดหี รือ
มีเหตุควรสงสั ยว่ าเป็ นผู้ทกี่ ระทำความผิดกฎหมายก็ดี ให้ จับผู้น้ันได้
และรีบนำส่ งต่ อกรมการอำเภอ

ข้ อ ๔ ถ้ ามีหมายหรือมีคำสั่ งตามหน้ าทีร่ าชการให้ จับผู้ใดใน


ตำบลนั้นเป็ นหน้ าทีข่ องกำนันทีจ่ ะจับผู้น้ันแล้วรีบนำส่ งต่ อกรมการ
อำเภอตามสมควร

ข้ อ ๕ เมือ่ เจ้ าพนักงานผู้มหี น้ าทีอ่ อกหมายสั่ งให้ ค้นหรือให้ ยดึ


กำนันต้ องจัดการให้ เป็ นไปตามกฎหมาย
ข้ อ ๖ ถ้ ามีผ้ ูมาขออายัดตัวคนหรือสิ่ งของก็ดี หรือผู้ต้องโจรกรรมจะ
ทำกฎหมายตราสิ นหรือมีผ้ ูจะมาขอชัยสู ตรบาดแผลก็ดี ทั้งนีใ้ ห้ กำนัน
สื บสวนฟังข้ อความแล้ วรีบนำตัวผู้ขอและผู้ต้องอายัดและทรัพย์ สินของ
บรรดาทีจ่ ะพาไปด้ วยนั้นไปยังกรมการอำเภอถ้ าสิ่ งของอย่ างใดจะพาไปไม่
ได้ ก็ให้ กำนันชันสู ตรให้ ร้ ู เห็นแล้วความไปแจ้ งต่ อกรมการอำเภอในขณะนั้น
มาตรา ๓๖ ถ้ ากำนันรู้ เห็นเหตุทุกข์ ร้อนของราษฎร หรือ
การแปลกประหลาดเกิดขึน้ ในตำบลต้ องรีบรายงานต่ อกรมการ
อำเภอให้ ทราบ
มาตรา ๓๗ ถ้ าเกิดจลาจลก็ดี ฆ่ ากันตายก็ดี ปล้ นทรัพย์ กด็ หี รือ
เหตุร้ายสำคัญอย่ างใดๆ ในตำบลของตน หรือในตำบลทีใ่ กล้ เคียง
อันสมควรจะช่ วยได้ กด็ ี หรือมีผ้ ูร้ายแต่ ทอี่ นื่ ๆ มามัว่ สุ มในตำบลนั้นก็ดี
หรือมีเหตุอนั ควรว่ าลูกบ้ านในตำบลนั้น บางคนจะเกีย่ วข้ องเป็ นโจรผู้ร้าย
ก็ดี เป็ นหน้ าทีข่ องกำนันจะต้ องเรียกผู้ใหญ่ บ้านและลูกบ้ านในตำบลออก
ช่ วยต่ อสู้ ตดิ ตามจับผู้ร้าย หรือติดตามเอาของกลางคืน หรือดับไฟหรือ
ช่ วยอย่ างอืน่ ตามควรแก่การโดยเต็มกำลัง
มาตรา ๓๘ ให้ กำนันดูแลคนเดินทาง ซึ่งไม่ มเี หตุควรสงสั ยว่ า
จะเป็ นผู้ร้ายให้ ได้ มที พี่ กั ตามสมควร
มาตรา ๓๙ ถ้ าผู้เดินทางด้ วยราชการจะต้ องการคนนำทาง หรือ
ขาดแคลนพาหนะเสบียงอาหารลงในระหว่ างทาง และจะร้ องขอต่ อกำนัน
ให้ ช่วยสงเคราะห์ กำนันต้ องช่ วยจัดหาให้ ตามทีจ่ ะทำได้ ถ้ าหากว่ าการทีจ่ ะ
ช่ วยเหลือนั้นจะต้ องออกราคาค่ าจ้ างเพียงใดให้ กำนันเรียกเอาแก่ ผ้ ูเดินทาง
นั้น
มาตรา ๔๐ กำนันต้ องร่ วมมือและช่ วยเหลือนายอำเภอและ
องค์ กรปกครองส่ วนท้ องถิน่ ในการดูแลรักษาและคุ้มครองป้องกันทีด่ นิ
อันเป็ นสาธารณสมบัตขิ องแผ่ นดิน และสิ่ งซึ่งเป็ นสาธารณประโยชน์
อืน่ อันอยู่ในตำบลนั้น
มาตรา ๔๑ กำนันต้ องรักษาบัญชีสำมะโนครัวและทะเบียน
บัญชีของรัฐบาลในตำบลนั้น และคอยแก้ ไขเพิม่ เติมให้ ถูกต้ องตรงกับ
บัญชีของผู้ใหญ่ บ้าน
มาตรา ๔๓ กำนันกระทำการตามหน้ าทีจ่ ะเรียกผู้ใดมาหารือให้
ช่ วยก็ได้
มาตรา ๔๔ ในตำบลหนึ่งให้ มีสารวัตรสำหรับเป็ นผู้ช่วยและรับ
ใช้ สอยของกำนันสองคน ผู้ทจี่ ะเป็ นสารวัตรนีแ้ ล้วแต่ ที่กำนันจะขอร้ อง
ให้ ผ้ ูใดเป็ น แต่ ต้องได้ รับความเห็นชอบของผู้ว่าราชการเมืองด้ วย
จึงเป็ นได้ และกำนันมีอำนาจเปลีย่ นสารวัตรได้
มาตรา ๔๕ ในตำบลหนึ่งให้ กำนันและผู้ใหญ่ บ้านประชุม
พร้ อมกันเลือกผู้ทมี่ คี วามรู้ วชิ าแพทย์ เป็ นแพทย์ ประจำตำบลคนหนึ่ง
สำหรับจัดการป้ องกันความไข้ เจ็บของราษฎรในตำบลนั้น

มาตรา ๔๖ การแต่ งตั้งแพทย์ ประจำตำบลให้ ข้าหลวงประจำ


จังหวัดแต่ งตั้งจากผู้ทมี่ ถี นิ่ ทีอ่ ยู่ในตำบลนั้น เว้ นแต่ ผ้ ูทเี่ ป็ นแพทย์ ประจำ
ตำบลทีใ่ กล้ เคียงกันอยู่แล้ วและยอมกระทำการรวมเป็ นสองตำบล
ถ้ าข้ าหลวงประจำจังหวัดเห็นสมควรก็แต่ งตั้งได้
มาตรา ๔๘ แพทย์ ประจำตำบล มีหน้ าทีด่ งั กล่ าวดังต่ อไปนี้ คือ
ข้ อ ๑ ทีจ่ ะช่ วยกำนันผู้ใหญ่ บ้านคิดอ่ าน และจัดการรักษาความ
สงบเรียบร้ อยในตำบลดังกล่ าวไว้ ในมาตรา ๓๖ และ ๕๒
แห่ งพระราชบัญญัตนิ ี้
ข้ อ ๒ ทีจ่ ะคอยสั งเกตตรวจตราความไข้ เจ็บทีเ่ กิดขึน้ แก่ ราษฎร
ในตำบลนั้นและตำบลทีใ่ กล้เคียง ถ้ าเกิดโรคภัยร้ ายแรง เช่ นอหิวาตกโรคก็
ดี กาฬโรคก็ดี ไข้ ทรพิษก็ดี ต้ องคิดป้ องกันด้ วย แนะนำกำนันผู้ใหญ่ บ้าน
ให้ สั่งราษฎรให้ จัดการป้ องกันโรค เช่ น ทำความสะอาด เป็ นต้ น และแพทย์
ประจำตำบลต้ องเทีย่ วตรวจตราชี้แจงแก่ราษฎรด้ วย
ข้ อ ๓ การป้ องกันโรคภัยในตำบลนั้น เช่ น ปลูกทรพิษ ป้ องกัน
ไข้ ทรพิษก็ดที จี่ ะมียาแก้โรคไว้ สำหรับตำบลก็ดี ดูแลอย่ าให้ ในตำบลนั้น
มีสิ่งโสโครกอันเป็ นเชื้อโรคก็ดี การเหล่ านีอ้ ยู่ในหน้ าทีแ่ พทย์ ประจำ
ตำบลๆ จะต้ องคิดอ่ านกับแพทย์ ประจำเมือง และกำนันผู้ใหญ่ บ้านใน
ตำบลนั้นให้ สำเร็จตลอดไป
ข้ อ ๔ ถ้ าโรคภัยร้ ายกาจ เช่ น อหิวาตกโรค กาฬโรค ไข้ ทรพิษ
โรคระบาดปศุสัตว์ เกิดขึน้ ในตำบลนั้น แพทย์ ประจำตำบลต้ องรีบ
รายงานไปยังกรมการอำเภอให้ ทราบโดยทันทีและต่ อไปเนืองๆจนกว่ า
จะสงบโรค
มาตรา ๕๐ เมือ่ กำนันเห็นว่ ามีการอันใดเนื่องในการรักษาความปกติ
เรียบร้ อยในตำบลสมควรจะปรึกษาหารือกันในระหว่ างกำนันผู้ใหญ่ บ้านทั้งปวง
และแพทย์ ประจำตำบลกำนันก็มอำ ี นาจทีจ่ ะเรียกมาประชุมปรึกษาหารือกัน และ
ให้ เอาเสี ยงทีเ่ ห็นพร้ อมกันโดยมากเป็ นทีช่ ี้ขาดตกลงในการทีป่ รึกษาหารือกันนั้น

มาตรา ๕๑ ให้ กำนันเรียกผู้ใหญ่ บ้าน และแพทย์ ประจำตำบลมาประชุม


เพือ่ ปรึกษาหารือ การทีร่ ักษาหน้ าทีใ่ นตำบลให้ เรียบร้ อย ไม่ น้อยกว่ าเดือนละ
หนึ่งครั้ง
มาตรา ๕๔ ถ้ าลูกบ้ านผู้ใดไปตั้งทับ กระท่ อม หรือเรือนโรงอยู่ในที่
เปลีย่ วในตำบลนั้นซึ่งน่ ากลัวจะเป็ นอันตรายด้ วยโจรผู้ร้าย หรือ
น่ าสงสั ยจะเป็ นสำนักโจรผู้ร้าย การอย่ างนีใ้ ห้ กำนันกับผู้ใหญ่ บ้านในตำบล
นั้นประชุมปรึกษากันดู เมือ่ เห็นเป็ นการสมควรแล้วจะบังคับให้ ลูกบ้ านคน
นั้นย้ ายเข้ ามาอยู่เสี ยในหมู่บ้านราษฎรก็ได้ และให้ นำความแจ้ งต่ อกรมการ
อำเภอด้ วย
มาตรา ๕๕ ถ้ าราษฎรคนใดทิง้ ให้ บ้านเรือนชำรุดรุงรัง หรือปล่ อย
ให้ โสโครกโสมม อาจเป็ นเหตุให้ เกิดอันตรายแก่ผ้ ูทอี่ ยู่ในทีน่ ้ัน หรือผู้ทอี่ ยู่
ใกล้ เคียงกัน หรือผู้ทไี่ ปมา หรือให้ เกิดอัคคีภัย หรือโรคภัย ให้ กำนัน ผู้ใหญ่
บ้ าน และแพทย์ ประจำตำบลปรึกษากัน ถ้ าเห็นควรจะบังคับให้
ผู้ทอี่ ยู่ทนี่ ้ันแก้ ไขเสี ยให้ ดกี บ็ ังคับได้ ถ้ าผู้น้ันไม่ ทำตามบังคับ ก็ให้ กำนันนำ
ความร้ องเรียนต่ อกรมการอำเภอ
มาตรา ๕๖ ในเวลาใดจะมีอนั ตรายแก่การทำมาหากกินของ
ลูกบ้ านในตำบลนั้น เช่ น มีโรคภัยไข้ เจ็บติดต่ อเกิดขึน้ หรือน้ำมาก
หรือน้ำน้ อยเกินไปเป็ นต้ น ให้ กำนันผู้ใหญ่ บ้านและแพทย์ ประจำ
ตำบลปรึกษาหารือกันในการทีจ่ ะป้ องกันแก้ไขเยียวยาภยันตราย
ด้ วยอาการทีแ่ นะนำลูกบ้ านให้ ทำอย่ างใดหรือลงแรงช่ วยกันได้
ประการใด กำนันมีอำนาจทีจ่ ะบังคับการนั้นได้ ถ้ าเห็นเป็ นการเหลือ
กำลังให้ ร้องเรียนต่ อกรมการอำเภอ และผู้ว่าราชการเมืองขอกำลัง
รัฐบาลช่ วย
มาตรา ๖๐ ในเวลาใดมีการนักขัตฤกษ์ หรือประชุมชนเป็ นการใหญ่ ใน
ตำบลนั้นกำนันจะเรียกผู้ใหญ่ บ้านและแพทย์ ประจำตำบลพร้ อมกันมาช่ วย
พิทกั ษ์ รักษาความเรียบร้ อยในทีอ่ นั นั้น ถ้ าแลเห็นเป็ นการจำเป็ นแล้ ว จะขอแรง
งานราษฎรมาช่ วยด้ วยก็ได้

มาตรา ๖๑ เวลาข้ าราชการผู้ใหญ่ หรือผู้บังคับบัญชาโดยตรงมา


ตรวจราชการในท้ องที่กำนัน จะเรียกผู้ใหญ่ บ้านและแพทย์ ประจำตำบล
ประชุมพร้ อมกันเพือ่ แจ้ งข้ อราชการ หรือฟังราชการก็ได้
มาตรา ๖๑ ทวิ กำนัน ผู้ใหญ่ บ้าน และแพทย์ ประจำตำบล
ต้ องรักษาวินัยโดยเคร่ งครัดอยู่เสมอ ผู้ใดฝ่ าฝื นให้ ถอื ว่ าผู้น้ันกระทำผิด
ต้ องได้ รับโทษ
วินัยและโทษผิดวินัยให้ ใช้ กฎหมายว่ าด้ วยระเบียบข้ าราชการ
พลเรือนโดยอนุโลม
อำนาจการลงโทษ กำนัน ผู้ใหญ่ บ้าน และแพทย์ ประจำตำบล
ให้ เป็ นไปดังนี้
(๑) กำนันมีอำนาจลงโทษภาคทัณฑ์ ผ้ ูใหญ่ บ้าน
(๒) นายอำเภอมีอำนาจลงโทษกำนัน ผู้ใหญ่ บ้าน และแพทย์
ประจำตำบลดังนี้
(ก) ลดอันดับเงินเดือนไม่ เกินหนึ่งอันดับ
(ข) ตัดเงินเดือน โดยเทียบในฐานะเป็ นผู้บังคับบัญชา
ชั้นหัวหน้ าแผนกกับผู้กระทำผิดชั้นเสมียนพนักงาน ตามทีกำ ่ หนดไว้
ในกฎหมายว่ าด้ วยระเบียบข้ าราชการพลเรือน
(ค) ลงโทษภาคทัณฑ์
เมือ่ กำนันผู้ใหญ่ บ้านคนใดถูกฟ้ องในคดีอาญา เว้ นแต่ คดีความผิด
ในลักษณะฐานลหุโทษหรือความผิดอันได้ กระทำโดยประมาท หรือมีกรณี
ทีต่ ้ องหาว่ าทำผิดวินัยร้ ายแรงถูกสอบสวนเพือ่ ไล่ออกหรือปลดออก แล้ ว
รายงานให้ ข้าหลวงประจำจังหวัดทราบ การสั่ งให้ กลับเข้ ารับหน้ าทีต่ ลอด
ถึงการวินิจฉัยว่ าควรจ่ ายเงินเดือนระหว่ างพักให้ เพียงใดหรือไม่
ให้ ข้าหลวงประจำจังหวัดเป็ นผู้พจิ ารณาสั่ งอนุโลมตามกฎหมายว่ าด้ วย
ระเบียบข้ าราชการพลเรือน
(๓) ข้ าหลวงประจำจังหวัดมีอำนาจลงโทษกำนันผู้ใหญ่ บ้าน
และแพทย์ ประจำตำบลในทุกสถาน ในกรณีการลดอันดับและตัดเงินเดือน
ให้ เทียบข้ าหลวงประจำจังหวัดในฐานะเป็ นผู้บังคับบัญชาชั้นหัวหน้ ากอง
และกำนันผู้ใหญ่ บ้านแพทย์ ประจำตำบลเป็ นชั้นเสมียนพนักงานตามที่
กำหนดไว้ ในกฎหมายว่ าด้ วยระเบียบข้ าราชการพลเรือน
โดยเฉพาะโทษปลด หรือไล่ออก ถ้ ากำนันผู้ใหญ่ บ้านและแพทย์
ประจำตำบลผู้ถูกลงโทษเห็นว่ าตนไม่ ได้ รับความเป็ นธรรม ก็มีสิทธิ
ร้ องทุกข์ ต่อกระทรวงมหาดไทย
การร้ องทุกข์ ให้ ทำคำร้ องลงลายมือชื่อยืน่ ต่ อนายอำเภอภายใน
กำหนดสิ บห้ าวันนับแต่ วนั ทีไ่ ด้ รับทราบคำสั่ งการลงโทษ เพือ่ นายอำเภอ
จักได้ เสนอต่ อไปยังข้ าหลวงประจำจังหวัดและกระทรวงมหาดไทย
ตามลำดับ ภายในกำหนดสิ บห้ าวันนับแต่ วนั ได้ รับคำร้ องทุกข์ พร้ อมด้ วย
คำชี้แจงถ้ าจะพึงมี ให้ กระทรวงมหาดไทยมีอำนาจสั่ งให้ ยกคำร้ องทุกข์
หรือเพิกถอนคำสั่ งการลงโทษหรือลดโทษ
มาตรา ๖๑ ตรี ให้ นำความในมาตรา ๖๑ ทวิ เฉพาะทีเ่ กีย่ วกับ
ผู้ใหญ่ บ้านมาใช้ บังคับแก่ ผ้ ูช่วยผู้ใหญ่ บ้านฝ่ ายปกครองและผู้ช่วยผู้ใหญ่ บ้าน
ฝ่ ายรักษาความสงบโดยอนุโลม
บทบาทอำนาจหน้
บทบาทอำนาจหน้าาทีทีข่ ข่ องกำนั
องกำนันนผูผู้ ใ้ ใหญ่
หญ่บบ้ า้ านน
การใช้ อำนาจหน้ าทีใ่ นการปกครองราษฎร

การรายงานต่ อทางราชการและการบริการ

การนำข้ อราชการไปประกาศแก่ ราษฎร

กิจการสาธารณะประโยชน์

การทีเ่ กีย่ วกับคดีอาญา

อำนาจหน้ าทีต่ ามกฎหมายอืน่


อำนาจหน้าที่การปกครองราษฎร

• ปกครองราษฎรในเขตหมู่บ้าน
• เป็ นหัวหน้ าราษฎรในหมู่บ้าน
• อำนวยความเป็ นธรรมและรักษาความสงบเรียบร้ อยในหมู่บ้าน
• สร้ างความสมานฉันท์ และความสามัคคีในหมู่บ้าน
• กระทำตนเป็ นตัวอย่ างของราษฎร
การรายงานต่ อทางราชการและการบริการ

• ถ้ ากำนันรู้ เห็นเหตุทุกข์ ร้อนของ


ราษฎร หรือแปลกประหลาดเกิดขึน้
ในตำบลต้ องรีบรายงานต่ อกรมการ
อำเภอให้ ทราบ
• ปฏิบัตติ ามคำสั่ งของกำนันหรือทาง
ราชการและราบงายงานเหตุการณ์ ที่
ไม่ ปกติซึ่งเกิดขึน้ ในหมู่บ้านให้ กำนัน
อำเภอทราบ
• ประสานหรืออำนวยความสะดวกแก่
ราษฎรในหมู่บ้านในการติดต่ อหรือ
ขอรับบริการกับส่ วนราชการ
การนำข้อราชการไปประกาศให้ราษฎรทราบ

• จัดประชุมราษฎรและคณะกรรมการ
หมู่บ้านอย่ างน้ อยเดือนละ ๑ ครั้ง
• อบรมหรือชี้แจงราษฎรให้ มคี วามรู้ ความ
เข้ าใจในข้ อราชการ กฎหมาย หรือระเบียบ
แบบแผนของทางราชการ
• ให้ การสนับสนุน ส่ งเสริม และอำนวยความ
ในการปฏิบัตหิ น้ าทีห่ รือการให้ บริการของ
ส่ วนราชการ
กิจการสาธารณประโยชน์
• แจ้ งให้ ราษฎรช่ วยเหลือในกิจการสาธารณประโยชน์ เพือ่ บำบัดปัดป้อง
ภยันตรายสาธารณะทีม่ มี าโดยฉุกเฉิน รวมตลอดทั้งการช่ วยเหลือ
บรรเทาทุกข์ แก่ ผ้ ูประสบภัย
• ร่ วมมือและช่ วยเหลือนายอำเภอและองค์ กรปกครองส่ วนท้ องถิน่ ในการ
ดูและรักษาป้ องกันทีด่ นิ อันเป็ นสาธารณสมบัตขิ องแผ่ นดิน
• ในเวลาวันนักขัตฤกษ์ กำนันจะเรียกผู้ใหญ่ บ้าน แพทย์ ประจำตำบลมา
ช่ วยรักษาความเรียบร้ อยในทีน่ ้ัน
การทีเ่ กีย่ วกับคดีอาญา

 เมือ่ ทราบข่ าวมีการกระทำผิดกฎหมายเกิดขึน้ หรือสงสั ยว่ าเกิดใน


หมู่บ้านของเองให้ แจ้ งต่ อกำนันทราบ
 เมือ่ ทราบข่ าวมีการกระทำผิดกฎหมายเกิดขึน้ หรือสงสั ยว่ าเกิดใน
หมู่บ้านใกล้ เคียงให้ แจ้ งต่ อผู้ใหญ่ บ้านนั้นทราบ
 เมือ่ ตรวจพบของกลางหรือสิ่ งของทีไ่ ด้ มาโดยผิดกฎหมายให้ จับ
สิ่ งของนั้นไว้ ส่งกำนัน
 เมือ่ มีหมายหรือคำสั่ งหน้ าทีร่ าชการให้ จับผู้ใดในหมู่บ้านนั้นเป็ น
หน้ าทีข่ องผู้ใหญ่ บ้านทีจ่ ะจับผู้น้ันส่ งกำนันและกรมการอำเภอ
อำนาจหน้ าทีต่ ามกฎหมายอืน่

บัตรประจำตัว ทะเบียน ทะเบียน ทะเบียน


ทะเบียนราษฎร
ประชาชน ครอบครัว สัตว์พาหนะ อาวุธปื น

ประมวล การเช่า
การรับราชการ การป้องกันภัย กฎหมาย
กฎหมาย ที่ดินเพื่อ
ทหาร ฝ่ ายพลเรือน ป่ าไม้
อาญาและวิ อาญา เกษตรกรรม

กฎหมาย การสงวนและ
กฎหมายว่าด้วย ระเบียบ ภาษี
ป่ าสงวน คุม้ ครอง
ชลประทาน ว่าด้วยการใช้น ้ำ บำรุงท้องที่
แห่งชาติ สัตว์ป่า

กฎหมายว่าด้วย
โรคติดต่อ
ผักตบชวา
หน้หน้
าที่ตาามกฎหมายว่
ที่ตามกฎหมายว่
าด้วายทะเบี
ด้วยทะเบี
ยนราษฎร
ยนราษฎร

• ผูใ้ หญ่บา้ นเป็ นนายทะเบียนผูร้ ับแจ้ง


แจ้งเกิด แจ้งตาย แจ้งย้ายที่อยู่ แจ้งย้ายปลายทาง ปลูกสร้างใหม่หรื อรื้ อถอน
• ให้ถอ้ ยคำรับรองบุคคล

หน้าที่ตามกฎหมายว่าด้วยบัตรประจำตัวประชาชน

• แจ้งให้ราษฎรผูม้ ีสญ
ั ชาติไทยที่มีอายุครบ ๑๕ ปี บริ บูรณ์ ไปยืน่ คำขอมีบตั ร
• เป็ นเจ้าพนักงานตรวจบัตร
หน้าที่ตามกฎหมายว่าด้วยการจดทะเบียนครอบครัว
• ผูใ้ หญ่บา้ นมีหน้าที่ในฐานะพยานการจดทะเบียน
• กำนันรับจดทะเบียน

หน้าที่ตามกฎหมายว่าด้วยทะเบียนสัตว์พาหนะ
• สำรวจและจัดทำบัญชีสตั ว์ประจำคอก ซึ่งยังไม่ได้ทำตัว๋ รู ปพรรณ (แบบ ส.พ. ๑๘) ส่ ง
นายทะเบียนเป็ นประจำทุกเดือน

หน้าที่ตามกฎหมายว่าด้วยอาวุธปื นฯ
• อาจเป็ นผูใ้ ห้การรับรองความประพฤติและหลักฐานของผูข้ ออนุญาตมีและใช้อาวุธปื น
• เป็ นผูกำ
้ กับ ดูแล ควบคุมตรวจตราการมีและใช้อาวุธปื นภายในตำบลหมู่บา้ น
หน้าที่ตามกฎหมายว่าด้วยการรับราชการทหาร
• ในเดือนกันยายน ของทุกปี ต้องนำประกาศของนายอำเภอแจ้งชายไทยที่มีอายุ
ย่างเข้า ๑๘ ปี ไปลงบัญชีทหารกองเกิน
• ในเดือนตุลาคม ของทุกปี ต้องนำประกาศของนายอำเภอแจ้งชายไทยที่มีอายุยา่ ง
เข้า ๒๑ปี ไปแสดงตนเพื่อรับหมายเรี ยก
• ประมาณเดือนเมษายนนำราษฎรไปแสดงตนเพื่อคัดเลือกทหาร
หน้าที่ตามกฎหมายว่าด้วยการป้ องกันภัยฝ่ ายพลเรื อน
• เป็ นเจ้าพนักงานป้ องกันภัย ตาม พ.ร.บ. ป้ องกันภัยฝ่ ายพลเรื อน พ.ศ.
๒๕๒๒
• เป็ นเจ้าพนักงานตามประมวลกฎหมายอาญา (มาตรา ๔๓)
• มีอำนาจเข้าจัดการใด ๆ และสัง่ ให้บุคคลใด ๆ เข้าช่วยเหลือเท่าที่จำเป็ น เพื่อขจัด
หน้าที่ตามประมวลกฎหมายอาญา
• เป็ นเจ้าพนักงานฝ่ ายปกครอง
• เมื่อผูใ้ หญ่บา้ นทราบข่าวการกระทำผิดกฎหมายในหมู่บา้ น ต้องแจ้งความต่อกำนัน หรื อเมื่อตรวจ
พบของกลาง ให้นำส่ งกำนัน
• มีอำนาจหน้าที่จบั กุมผูก้ ระทำผิด หรื อจัดการให้เป็ นไปตามหมายจับ
• เมื่อกระทำการตามอำนาจหน้าที่ ผูใ้ ดดูหมิ่นหรื อต่อสู้ขดั ขวาง ย่อมมีความผิด

หน้าที่ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา
• มีอำนาจหน้าที่รักษาความสงบเรี ยบร้อยภายในเขตที่รับผิดชอบ
• เป็ น “พนักงานฝ่ ายปกครองหรื อตำรวจ” ตาม ป. วิ อาญา มีอำนาจหน้าที่ในเขตท้องที่ของตน ดังนี้
- สื บสวนคดีอาญา
- จับกุมผูก้ ระทำความผิดอาญา
- มีอำนาจค้น
- มีอำนาจหน้าที่จดั การให้เป็ นไปตามหมายอาญา
หน้าที่ตามกฎหมายว่าด้วยการเช่าที่ดินเพื่อเกษตรกรรม
• เป็ นคณะกรรมการเช่าที่ดินเพื่อเกษตรกรรมประจำตำบล (คชก.ตำบล) มีอำนาจหน้าที่กำหนด
อัตราค่าเช่าชั้นสู งของแต่ละท้องที่ และพิจารณาวินิจฉัยเกี่ยวกับการเรี ยกเก็บค่าเช่า
• เป็ นอนุกรรมการส่ วนอำเภอ (อชก.ส่ วนอำเภอ) ช่วยเหลือเกษตรกรและผูย้ ากจน

หน้าที่ตามกฎหมายว่าด้วยป่ าไม้
• เป็ นพนักงานเจ้าหน้าที่ตาม พ.ร.บ. ป่ าไม้ พ.ศ. ๒๔๘๔
• มีอำนาจหน้าที่ป้องกันและปราบปรามการลักลอบตัดไม้ทำลายป่ าและการกระทำผิดตาม พ.ร.บ.
ป่ าไม้ ในเขตท้องที่รับผิดชอบ ดังนี้
- การทำไม้หวงห้ามโดยไม่ได้รับอนุญาต (ไม้หวงห้ามมี ๒๐๐ ประเภท)
- การเก็บหรื อทำอันตรายของป่ าหวงห้าม
- การแปรรู ปไม้โดยไม่ได้รับอนุญาต หรื อมีไม้แปรรู ปไว้ในครอบครอง
- การเคลื่อนย้ายไม้เรื อนเก่าโดยไม่ถูกต้อง
- การบุกรุ กทำลายป่ า
หน้าที่ตามกฎหมายว่าด้วยป่ าสงวนแห่งชาติ
• เป็ นพนักงานเจ้าหน้าที่ตาม พ.ร.บ. ป่ าสงวนแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๐๗
• มีอำนาจหน้าที่ป้องกันและปราบปรามการลักลอบตัดไม้ทำลายป่ าในเขตป่ าสงวนแห่งชาติ
• มีอำนาจสัง่ ให้ผใู ้ ดออกจากเขตป่ าสงวนแห่งชาติหรื องดเว้นการกระทำใด ๆ ในเขตปาสงวนแห่ง
ชาติ

หน้าที่ตามกฎหมายว่าด้วยการสงวนและคุม้ ครองสัตว์ป่า
• เป็ นพนักงานเจ้าหน้าที่ตาม พ.ร.บ. สงวนและคุม้ ครองสัตว์ป่า พ.ศ. ๒๕๓๕
• มีอำนาจหน้าที่ป้องกันและปราบปรามการกระทำผิดตามกฎหมายนี้ รวมทั้งตรวจสอบการอนุญาต
ต่าง ๆ ในเขตท้องที่ที่รับผิดชอบ ดังนี้
- ห้ามมิให้ผใู ้ ดล่าสัตว์ป่าสงวน ครอบครองสัตว์ป่าสงวนหรื อซากสัตว์ป่าสงวน
- ห้ามมิให้ผใู ้ ดล่าสัตว์ป่าคุม้ ครอง ครอบครองสัตว์ป่าคุม้ ครองเกินกำหนด หรื อค้าสัตว์ป่าคุม้ ครอง
- ห้ามมิให้ผใู ้ ดค้า หรื อมีซากสัตว์ป่าคุม้ ครองชนิดที่ กำหนดไว้ในกฎกระทรวง
หน้าที่ตามกฎหมายว่าด้วยชลประทานราษฎร์

• มีอำนาจหน้าที่เกณฑ์แรงงานหรื อเครื่ องอุปกรณ์การชลประทานส่ วนราษฎร


• เป็ นผูแ้ บ่งและควบคุมงาน ในการแบ่งปันการงานและเครื่ องอุปกรณ์การชลประทานส่ วนราษฎร
• แบ่งปั นน้ำในเขตชลประทานส่ วนราษฎร

หน้าที่ตามระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี วา่ ด้วยการบริ หารการใช้น ้ำฯ พ.ศ. ๒๕๒๕


• มีหน้าที่ประสานงานการขอโครงการกับกลุ่มราษฎร องค์กรระดับหมู่บา้ น
• จัดหางบประมาณหรื อแรงงานสมทบการก่อสร้างตามที่จำเป็ น
• จัดตั้งกลุ่มใช้น ้ำและสนับสนุนให้มีการวางระเบียบเพื่อบริ หารการใช้น ้ำ
• ดำเนินกิจกรรมต่อเนื่องของโครงการ วางแผนการนำน้ำไปใช้ และใช้น ้ำให้เกิดประโยชน์สูงสุ ด
• เร่ งรัดกลุ่มผูใ้ ช้น ้ำให้มีส่วนร่ วมในการบำรุ งรักษาและซ่อมแซมโครงการ
• ดูแลรักษาคันคลองและทางน้ำชลประทานในเขตท้องที่ ตามกฎหมายว่าด้วยชลประทานหลวง
หน้าที่ตามกฎหมายว่าด้วยภาษีบำรุ งท้องที่
• เป็ นเจ้าพนักงานสำรวจตามแบบแสดงรายการที่ดิน (ภ.บ.ท. ๕) มีอำนาจหน้าที่ ดังนี้
- จัดทำประกาศกำหนดวัน เวลา สำรวจที่ดิน
- เข้าไปในที่ดินเพื่อสำรวจตามที่เห็นว่าถูกต้อง กรณี เจ้าของที่ดินไม่ยอมแจ้งจำนวนเนื้อที่ดิน
- สำรวจและยืน่ แบบแสดงรายการที่ดิน
- สำรวจที่ดิน กรณี รับแจ้งจากเจ้าของที่ดินว่าเป็ นเจ้าของที่ดินรายใหม่ หรื อจำนวนเนื้อที่ดิน
เปลี่ยนแปลงไป

หน้าที่ตามกฎหมายว่าด้วยโรคติดต่อ
• หากพบโรคติดต่อเกิดขึ้นในตำบล หมู่บา้ น ต้องรี บแจ้งให้ทางราชการทราบ เพื่อป้ องกันมิให้โรค
ระบาดลุกลามต่อไป

หน้าที่ตามกฎหมายว่าด้วยการกำจัดผักตบชวา
• เป็ นเจ้าพนักงานผูป้ กครองท้องที่ มีหน้าที่เรี ยกระดมราษฎรช่วยกันกำจัดผักตบชวา โดยให้ถือว่า
เป็ นสาธารณประโยชน์อย่างหนึ่ง
สำนักบริหารการปกครองท้ องที่
ส่ วนบริหารงานกำนันผูผ้ ใู หญ่ บ้าน
โทร. ๐-๒๖๒๙-๘๓๐๖-๑๕ ต่อ ๔๐๔

ขอบคุณครับ
การจัดระเบียบการปกครองของไทย
- จะเป็ นรู ปแบบใดขึ้นอยูก่ บั สภาพการณ์ ปัจจัยต่าง ๆ ในช่วงเวลานั้น ๆ
เช่น สถานการณ์การเมือง อิทธิพลของชาติตะวันตก ขีดความสามารถ
ของพลเมือง
- ชนชาติไทยมีการรวมตัวกันเป็ นปึ กแผ่นมาตัง่ แต่สมัยน่านเจ้า แต่เริ่ มมี
การบันทึกเป็ นหลักฐานในสมัยสุ โขทัย(สมัยพ่อขุนรามคำแหงมหาราช)
ประมาณ พ.ศ.๑๘๐๐
วิวฒั นาการรู ปแบบการปกครองของไทย
• แบ่งออกเป็ น ๔ ยุค ดังนี้
- สมัยสุ โขทัย
- สมัยอยุธยา
- สมัยกรุ งธนบุรี
- สมัยรัตนโกสิ นทร์ (ปัจจุบนั )
สมัยสุ โขทัย
• เป็ นลักษณะพ่อปกครองลูก หากราษฎรผูอ้ ยูใ่ ต้ปกครองได้รับความเดือด
ร้อนก็จะร้องทุกข์ต่อพ่อขุนราคำแหงมหาราช โดยวิธีการสัน่ กระดิ่ง พระ
มหากษัตริ ยก์ จ็ ะดำเนินการไต่สวนแก้ปัญหาความเดือดร้อนให้กบั
ราษฎรซึ่ งเปรี ยบเสมือนลูก
• ประดิษฐ์อกั ษรไทยขึ้นใช้เป็ นครั้งแรก
สมัยอยุธยา
- เมื่อสุ โขทัยเสื่ อมอำนาจลง ชนชาติไทยได้มีการสถาปนาราชธานีแห่ง
ใหม่ ในปี พ.ศ.๑๘๙๓ คือ กรุ งศรี อยุธยา
- ลักษณะการปกครองได้เปลี่ยนแปลงไปตามคติพราหมณ์
- การจัดการปกครองในส่ วนกลางแบ่งออกเป็ น ๔ กรม เรี ยกว่า จตุสดมภ์ แต่ละ
กรมมีเสนาบดีเป็ นผูป้ กครองบังคับบัญชา คือ
๑. เวียง รับผิดชอบปกครองท้องที่ ดูแลทุกข์สุขของประชาชนและรักษา
ความสงบเรี ยบร้อย
๒. วัง รับผิดชอบเกี่ยวกับราชสำนัก
๓. คลัง รับผิดชอบจัดเก็บรายได้ เงินผลประโยชน์ของแผ่นดิน
๔. นา รับผิดชอบเกี่ยวกับไร่ นา เตรี ยมเสบียงเพื่อการสงคราม
- ต่อมาสมัยพระบรมไตรโลกนาถ ประมาณ ๑๙๙๑ได้มีการปรับปรุ งลักษณะการปกครองโดย
แยกกิจการฝ่ ายทหารออกจากฝ่ ายพลเรื อน และได้กำหนดให้มีตำแหน่งอัครเสนาบดีข้ ึน ๒ ตำแหน่ง
- ต่อมาสมัยพระบรมไตรโลกนาถ ประมาณ ๑๙๙๑ได้มีการปรับปรุ ง
ลักษณะการปกครองโดยแยกกิจการฝ่ ายทหารออกจากฝ่ ายพลเรื อน
และได้กำหนดให้มีตำแหน่งอัครเสนาบดีเพิ่มขึ้น ๒ ตำแหน่ง คือ
๑. สมุหกลาโหม ทำหน้าที่บงั คับบัญชากิจการฝ่ ายทหารทั้งปวง
๒. สมุหนายก ทำหน้าที่บงั คับบัญชาสตุสดมภ์และกิจการฝ่ าย
พลเรื อนทั้งปวง
การปกครองอาณาเขต
- มีการขยายราชธานี กว้วงออกไปโดยรอบกำหนดเมืองที่อยูใ่ นราชธานี เป็ น
เมืองจัตวา อยูใ่ นอำนาจของเจ้ากระทรวงต่าง ๆ ที่อยูใ่ นราชธานี
- หัวเมืองชั้นนอกราชธานีออกไป จัดเป็ นเมือง เอก โท ตรี ตามขนาดและความสำคัญ
ของเมือง พระเจ้าแผ่นดินจะตั้งพระราชวงศ์หรื อข้าราชการชั้นสูงไปปกครอง
- หัวเมืองที่ห่างออกไปซึงต่างชาติต่างภาษาให้เป็ นเมืองประเทศราชมีเจ้านายของ
ชนชาติน้ นั ปกครองตามจารี ตประเพณี ของชนชาติน้ นั
- การปกครองท้องที่ในเมืองหนึ่งนั้น เริ่ มตัง่ แต่ บ้าน หลายบ้านรวมกันมี ผูใ้ หญ่บา้ น
เป็ นผูป้ กครอง
- หลาย ๆ หมู่บา้ นรวมกันเป็ นตำบล มีกำนันเป็ นผูป้ กครอง กำนันเกิด
ขึ้นเป็ นครั้งแรก
- หลาย ๆ ตำบลรวมกันเป็ นแขวง มีหมื่นแขวงเป็ นผูป้ กครอง
- วิธีการปกครองระหว่าง พุทธสักราช ๑๙๙๑ – ๒๐๗๒ ในสมัย
อยุธยาได้ใช้เป็ นหลักสื บมา จนถึงรัตนโกสิ นทร์จะแก้ไขบ้างก็เป็ นเพียง
ส่ วนย่อยหลักใหญ่ยงั คงใช้มาจนถึงปัจจุบนั
สมัยกรุ งธนบุรี
- หลังจากเสี ยกรุ งให้พม่าสมเด็จพระเจ้าตากสิ นมหาราชก็ได้สถาปนา
ราชธานีแห่งใหม่ข้ ึนมา คือ กรุ งธนบุรี
- พุทธศักราช ๒๔๓๕ สมัยรัชกาลที่ ๕ ได้มีพระบรมราชโองการให้ต้ งั
กระทรวงแบบใหม่สำหรับการปกครองส่ วนกลางโดยจัดสรรอำนาจ
หน้าที่ความรับผิดชอบของกระทรวงให้เป็ นสัดส่ วน
- การปกครองอาณาเขตกำหนดให้อยูใ่ นความรับผิดชอบของกระทรวง
มหาดไทย โดยมอบหมายให้ สมเด็จกรมพระยาดำรงราชา นุภาพเป็ น
องค์ปฐมเสนาบดี ดำเนินการจัดรู ปแบบการปกครองในส่ วนภูมิภาคที่
เรี ยกว่า เทศาภิบาล
- แบ่งหัวเมืองออกเป็ น มณฑล เมือง และอำเภอ มีสมุหเทศาภิบาลผู ้
ว่าการเมืองและนายอำเภอเป็ นผูป้ กครอง
สมัยรัตนโกสิ นทร์ (ปัจจุบนั )
• รัฐธรรมนูญเป็ นกฎหมายสูงสุ ดที่ใช้ในการปกครองประเทศ แบ่งอำนาจ
ออกเป็ น ๓ อำนาจ คือ
- อำนาจนิติบญั ญัติ คือ รัฐสภา ทำหน้าที่ออกกฎหมาย
- อำนาจบริ หาร คือ รัฐบาล
- อำนาจตุลาการ คือ อำนาในการพิจารณาพิพากษาคดีของศาลต่าง
ฝ่ ายบริ หาร
• มี พ.ร.บ.ระเบียบบริ หารราชการแผ่นดิน เป็ นกฎหมายที่วางหลักในการ
บริ หารราชการของประเทศ โดยแบ่งออกเป็ น ๓ ส่ วน คือ
๑. ราชการบริ หารส่ วนกลาง
๒. ราชการบริ หารส่ วนภูมิภาค
๓. ราชการบริ หารส่ วนท้องถิ่น
ราชการบริ หารส่ วนกลาง
• ประกอบด้วย
- สำนักนายกรัฐมนตรี
- กระทรวง ปั จจุบนั มี ๒๐ กระทรวง
- ทบวง
- กรม หรื อส่ วนราชการที่เรี ยกชื่ออย่างอื่นและมีฐานะเป็ นกรม ซึ่ งสังกัด
หรื อไม่สงั กัดสำนักนายก กระทรวง ทบวง กรม
ราชการบริ หารส่ วนภูมิภาค
- คือ การแบ่งอำนาจของราชการส่ วนกลาง กระทรวง ทบวง กรมต่าง ๆ
ไปให้ส่วนภูมิภาคเพื่อสนองความต้องการของประชาชนในเขตการ
ปกครอง นั้น ๆ แต่มิใช่การกระจายอำนาจ
- เจ้าหน้าที่ส่วนภูมิภาคอยูใ่ ต้การบังคับบัญชาของส่ วนกลาง
- ราชการบริ หารส่ วนภูมิภาคได้รับมอบอำนาจวินิจฉัยสัง่ การเฉพาะบาง
เรื่ อง บางประการเท่านั้น
- ราชการบริ หารส่ วนภูมิภาค ประกอบด้วย
๑. จังหวัด
๒. อำเภอ
- จังหวัด ประกอบด้วย
๑. ผูว้ า่ ราชการจังหวัด
๒. รองผูว้ า่ ราชการจังหวัด
๓. ผูช้ ่วยผูว้ า่ ราชการจังหวัด (ปัจจุบนั ยังไม่มีการแต่งตั้ง)
๔. ปลัดจังหวัด
๕. หัวหน้าสำนักงานจังหวัด
• ๖. หัวหน้าส่ วนราชการประจำจังหวัด
• ๗. คณะกรมการจังหวัด ประกอบด้วย
- ผูว้ า่ ราชการจังหวัด
- รองผูว้ า่ ราชการจังหวัดคนหนึ่งตามที่ผวู ้ า่ ราชการจังหวัดมอบหมาย
- ปลัดจังหวัด
- อัยการจังหวัด
- ผูบ้ งั คับการตำรวจภูธรจังหวัด
- หัวหน้าส่ านราชการประจำจังหวัดจากกระทรวง หรื อทบวงละ ๑ คน ยกเว้น
กระทรวงมหาดไทย
อำเภอ
- ไม่มีฐานะเป็ นนิติบุคคล
- หลาย ๆ ตำบลรวมกันเป็ นอำเภอ
- ประกอบด้วย นายอำเภอ ปลัดอำเภอ หัวหน้าส่ วนราชการประจำ
อำเภอ
- กำนัน ผูใ้ หญ่บา้ น เป็ นผูช้ ่วยเหลือนายอำเภอตามมาตรา ๒๗ และ
มาตรา ๓๔ ทวิ
ราชการบริ หารส่ วนท้องถิ่น
- กระจายอำนาจ
- ประกอบด้วย
๑. กรุ งเทพฯ
๒. เมืองพัทยา
๓. เทศบาล
๓.๑ เทศบาลนคร
๓.๒ เทศบาลเมือง
๓.๓ เทศบาลตำบล
๔. องค์การบริ หารส่ วนจังหวัด
๕. องค์การบริ หารส่ วนตำบล อยูใ่ นการกำกับดูแลของนายอำเภอ
รู ปแบบการปกครองท้องที่

• ประกอบด้วย
- หมู่บา้ น
- ตำบล
- อำเภอ

You might also like