Download as ppt, pdf, or txt
Download as ppt, pdf, or txt
You are on page 1of 117

การเขียนข้อพิจารณา

ของฝ่ ายอำนวยการ

โดย
โดย พลตรี
พลตรี เอนก
เอนก แสงสุ
แสงสุกก
ผู
ผู้ท
้ทรงคุ
รงคุณณวุวุฒ
ฒิกิกองบั
องบัญญชาการกองทั
ชาการกองทัพพไทย
ไทย
อะไรเอ่ย?
ตอนที่ 1 หลักการ
การเขี
การเขียยน

• เป็ นวิธีการสื่อความคิดเห็นไปยัง
ผบช. ผบ.หน่วยรอง ฝอ.อื่น ๆ
• โดยใช้ คำสั่ง ข้อเสนอ ข้อ
พิจารณา รายงาน เอกสาร
หลั
หลักกการมู
การมูลลฐานในการ
ฐานในการ
เขี
เขี ยยนน
1. มีเอกภาพ
2. ถูกต้อง
3. ชัดเจน สัน้ กะทัดรัด
4. ใช้คำง่าย ๆ ลดคำฟุ ่มเฟื อย
5. มีความต่อเนื่อง
6. ตรงประเด็น
7. สมบูรณ์
การบั
การบันนทึ
ทึกก
• การเขียนข้อราชการเสนอ ผบช.
• การสั่งการของ ผบช.
• การติดต่อระหว่างส่วนราชการ
• สะดวกในการประสานงานและ
สั่งงาน
ประโยชน์
ประโยชน์ขของการบั
องการบันนทึ
ทึกก
• ลดเวลาของ ผบช.
• ผบช. ได้ทราบความเห็นของ
เจ้าหน้าที่
• ผบช. ได้ทราบข้อมูลก่อน
ตกลงใจ
หลั
หลักกการบั
การบันนทึ
ทึกก
• เจ้าของเรื่องโดยตรงบันทึกก่อน
• บันทึกด้วยความเป็ นกลาง
• สัน
้ และชัดเจน
• ไม่ก้าวก่ายหน้าที่อ่ น

• เรื่องสำคัญปรึกษาผู้ใหญ่ก่อนบันทึก
• รับผิดชอบข้อความที่บันทึก
ข้ข้ออควรระวั
ควรระวังงในการ
ในการ
บั
บันนทึ
ทึกก
• อย่าให้กระทบใจบุคคลหรือหน่วย
• ทำตัวเป็ นกลาง ไม่ผูกมัด ชักจูง
ผบช.
• สิ่งที่เป็ นอำนาจของ ผบช. ให้
ผบช. วินิจฉัยเอง
• ไม่นำเรื่องส่วนตัวมาพัวพัน
ตำแหน่
ตำแหน่งงของผู
ของผู้บ
้บัน
ันทึ
ทึกก
• เรื่องออกนอกหน่วย หน.หน่วย
เป็ นผู้ลงนาม ความเห็นของ
เจ้าหน้าที่ให้อยู่ภายในหน่วย
• เรื่องภายในหน่วย เจ้าหน้าที่
บันทึก
โต้ตอบกันได้
ประเภทของการบั
ประเภทของการบันนทึ
ทึกก
1. บันทึกย่อเรื่อง
2. บันทึกรายงาน
3. บันทึกความเห็น
4. บันทึกติดต่อและสั่งการ
บั
บันนทึ
ทึกกย่ย่ออเรื
เรื่ อ
่ องง
• เป็ นการเขียนข้อความย่อจากเรื่อง
เอาแต่ประเด็นสำคัญมาให้สมบูรณ์
• ช่วยให้ ผบช. อ่านแล้วเข้าใจได้
ไม่ผิดพลาด
บั
บันนทึ
ทึกกรายงาน
รายงาน
• เป็ นการเขียนข้อความรายงานเรื่อง
ที่
ปฏิบัติให้ ผบช. ทราบ
• เป็ นเรื่องในหน้าที่หรือเรื่องที่ได้รับ
มอบหมาย
บั
บันนทึ
ทึกกความเห็
ความเห็นน
• เป็ นการเขียนข้อความแสดงความเห็น
ของเจ้าหน้าที่เกี่ยวกับเรื่องที่เสนอ
• ช่วยให้ ผบช. ทราบ ความเป็ นมา
ปั ญหา ข้อพิจารณา ข้อดีข้อเสีย
ประกอบการตกลงใจ
บั
บันนทึ
ทึกกติติดดต่ต่ออและสั
และสั่ง่งการ
การ
• เป็ นการเขียนข้อความติดต่อ
ภายใน
หน่วยเดียวกัน
• เป็ นการสั่งการของ ผบช. ไปยัง
ผู้ใต้บังคับบัญชา
วัวัตตถุถุป
ประสงค์
ระสงค์ขของข้
องข้ออพิ
พิจจารณา
ารณา
ของ
ของ ฝอฝอ..
•• เพื
เพื่ อ
่ อวิวิเเคราะห์
คราะห์แและเสนอการแก้
ละเสนอการแก้ปัญหา
•• เสนอข้
เสนอข้อสรุ สรุป
ปและข้
และข้ออเสนอให้
เสนอให้ ผบช.
ผบช.
ตกลงใจ
ตกลงใจ
•• คล้
คล้าายกั ยกับ บการประมาณการในการรบ
การประมาณการในการรบ
•• เพื
เพื่ อ่ อช่ช่ววยย ผบช.
ผบช. ในการตกลงใจในเรื
ในการตกลงใจในเรื่ อง
ที
ที่ม
่มีป ีปั ั ญหาซั
ญหาซับบซ้
ซ้ออนน
หลั
หลักกการเขี
การเขียยนข้
นข้ออพิ
พิจจารณา
ารณา
ของ
ของ ฝอ
ฝอ..
1. สัน

2. ชัดเจน
3. ถูกต้อง
4. เกี่ยวโยงกัน
5. มีเอกภาพ
6. มีความสมบูรณ์
รูรูป
ปแบบข้
แบบข้ออพิ
พิจจารณาของ
ารณาของ
ฝอ
ฝอ ..
1. ปั ญหา …
2. สมมุติฐาน …
3. ข้อเท็จจริง …
4. ข้อพิจารณา …
5. ข้อสรุป …
6. ข้อเสนอ ...
บก
บก..ทท
ทท..
• ยึดถือปฏิบัติตามอนุมัติ ผบ.ทหาร
สูงสุด ลง 29 ต.ค.39 ท้าย
หนังสือ ยก.ทหาร
ที่ กห 0304/1222 ลง 24 ต.ค.39
• และอนุมัติ ผบ.ทหารสูงสุด
ลง 25 ก.ย.51 ท้ายหนังสือ
ยก.ทหาร ที่ กห 0304/3275
ลง 25 ก.ย.51
อนุ
อนุมมัตัติ ิ 33 รูรูป
ปแบบ
แบบ
1. ข้อพิจารณาของฝ่ ายอำนวยการ
2. บันทึกความเห็น 5 แบบ
3. รายงานหรือเรื่องนำเรียนเพื่อ
ทราบ
บั
บันนทึ
ทึกกความเห็
ความเห็นน 55 แบบ
แบบ
แบบ 1 แบบสมบูรณ์ 4 หัวข้อ
แบบ 2 มี 4 ข้อ ต่างกันที่ข้อ 1
แบบ 3 มี 4 ข้อ ต่างกันที่ข้อ 1,
2, 3
แบบ 4 มี 3 ข้อ
แบบ 5 มี 2 ข้อ
บั
บันนทึ
ทึกกความเห็
ความเห็นน แบบที
แบบที่ ่
11
1. ปั ญหา …..
2. ข้อเท็จจริง …..
3. ข้อพิจารณา …..
4. ข้อเสนอ …..
บั
บันนทึ
ทึกกความเห็
ความเห็นน แบบที
แบบที่ ่
22
1. ..… (ปั ญหา) …..
2. ข้อเท็จจริง …..
3. ข้อพิจารณา …..
4. ข้อเสนอ …..
บั
บันนทึ
ทึกกความเห็
ความเห็นน แบบที
แบบที่ ่
33
1. ….. (ปั ญหา) …..
2. ..… (ข้อเท็จจริง) ..…
3. ..… (ข้อพิจารณา) …..
4. ข้อเสนอ …..
บั
บันนทึ
ทึกกความเห็
ความเห็นน แบบที
แบบที่ ่
44
1. … (ปั ญหา หรือปั ญหา + ข้อเท็จ
จริง)
2. … (ข้อเท็จจริง + ข้อพิจารณา
หรือ
ข้อพิจารณา) …..
3. ข้อเสนอ …..
บั
บันนทึ
ทึกกความเห็
ความเห็นน แบบที
แบบที่ ่
55
1. ….. (ปั ญหา + ข้อเท็จจริง
+
ข้อพิจารณา) …..
2. ข้อเสนอ …..
ตอนที่ 2 ประสบการณ์
การทำบั
การทำบันนทึ
ทึกกความเห็
ความเห็นน


มี 2 ลักษณะ คือ เรื่องเพื่อทราบ
และเรื่องเพื่อขออนุมัติ
• แบ่งเป็ น 3 แบบ คือ
1.
1. การทำบั
การทำบัน นทึ
ทึกกฯฯ ปะหน้
ปะหน้าาเรื
เรื่ อ ่ องของหน่
งของหน่ววยรอง
ยรอง
2.
2. การทำบั
การทำบัน นทึ
ทึกกฯฯ ปะหน้
ปะหน้าาเรื
เรื่ อ
่ องของหน่
งของหน่ววยนอก
ยนอก
3.
3. การตั
การตัง้ ง้ เรื
เรื่ อ
่ องขึ
งขึน้น
้ เอง
เอง
ศัศัพ
พท์
ท์เเฉพาะ
ฉพาะ
•• หน่
หน่ววยรอง
ยรอง :: นขต.
นขต. และและ หน่ หน่ววยในการ
ยในการ
กำกั
กำกับบดู
ดูแลทางฝ่ ายเสนาธิการ
•• หน่
หน่ววยนอก
ยนอก :: หน่
หน่ววยที
ยที่ไ่ไม่
ม่ใใช่
ช่ นขต.
นขต. และ
และ
หน่
หน่ววยในการกำกั
ยในการกำกับ บดู
ดูแแลทางฝ่
ลทางฝ่ ายาย
เสนาธิ
เสนาธิกการ
าร
การบั
การบันนทึ
ทึกกฯฯ ปะหน้
ปะหน้าาเรื
เรื่ อ
่ องของ
งของ
หน่
หน่ววยรอง
ยรอง

• มี 2 วิธี คือ
1. บันทึกฯ ต่อท้ายในหนังสือของ
หน่วยรอง
2. บันทึกฯ ในกระดาษแผ่นใหม่
การบั
การบัน นทึ ทึกกฯฯ ต่ต่ออท้
ท้าายย
ในหนั
ในหนังงสืสืออของหน่
ของหน่ววยรอง ยรอง
• เป็ นเรื่องเพื่อทราบ หรือเพื่อลงนาม
• หน่วยรองเขียนมาชัดเจนแล้ว
• เป็ นเรื่องเร่งด่วน
• มีที่ว่างพอให้บันทึกฯ ได้
• เขียนด้วยลายมือ หรือพิมพ์ก็ได้
ตัตัววอย่
อย่าางง การบั
การบันนทึ
ทึกกฯฯ ต่ต่ออท้
ท้าายย
ในหนั
ในหนังงสืสืออของหน่
ของหน่ววยรอง
ยรอง
เรี
เรียยน
น ………. ……….
-- เพื
เพื่ อ
่ อกรุ
กรุณณาทราบ
าทราบ
พ.อ.
พ.อ. …………….....
…………….....
……………….
……………….
…../…../…..
…../…../…..
เรี
เรียยน
น ………. ……….
1.
1. เพื
เพื่ อ
่ อกรุ
กรุณณาทราบ
าทราบ
2.
2. เห็
เห็นนควรให้
ควรให้… ………...….ทราบด้
……...….ทราบด้ววยย
พ.อ.
พ.อ. ……………..…
……………..…
……………….
……………….
…../…../…..
…../…../…..
การบั
การบันนทึ
ทึกกฯฯ ปะหน้
ปะหน้าาเรื
เรื่ อ
่ องของ
งของ
หน่
หน่ววยรองโดยใช้
ยรองโดยใช้กกระดาษแผ่
ระดาษแผ่น น
ใหม่
ใหม่
•• แบ่
แบ่งงเป็ เป็น
น 33 ขัขัน
้น้ ตอน
ตอน คืคืออ
ขั
ขัน้น
้ ตอนที
ตอนที่ ่ 11 อ่อ่าาน
น -- สรุ
สรุป
ป คิคิดดโครงร่
โครงร่าางง
วางแผนการเขี
วางแผนการเขียยน น
ขั
ขัน้น้ ตอนที
ตอนที่ ่ 22 ศึศึกกษาหลั
ษาหลักกฐาน
ฐาน ประสานงาน
ประสานงาน
ขั
ขัน้น ้ ตอนที
ตอนที่ ่ 33 บั
บัน นทึ
ทึกกความเห็
ความเห็น น ร่ร่าางหนั
งหนังงสืสืออ
ประกอบ
ประกอบ
ขัขัน
้น
้ ตอนที
ตอนที่ ่ 11
อ่อ่าานน -- สรุ
สรุปป คิคิดดโครงร่
โครงร่าางง วางแผน
วางแผน
การเขี
การเขียยนน
•• สรุ
สรุปปประเด็
ประเด็น น ความต้
ความต้อองการของหน่
งการของหน่ววยย
รอง
รอง
•• คิ
คิดดโครงร่
โครงร่าางในใจ
งในใจ
•• วางแผนการเขี
วางแผนการเขียยน น
ขัขัน
้น
้ ตอนที
ตอนที่ ่ 22
ศึศึกกษาหลั
ษาหลักกฐาน
ฐาน ประสานงาน
ประสานงาน

• ขอเรื่องเดิมมาศึกษา
• ศึกษา กฎ ข้อบังคับ ระเบียบ คำ
สั่ง หลักเกณฑ์ที่เกี่ยวข้อง
• ประสานงาน
ขัขัน
้น
้ ตอนที
ตอนที่ ่ 33
บั
บันนทึ
ทึกกความเห็
ความเห็นน ร่ร่าางหนั
งหนังงสืสืออ
ประกอบ
ประกอบ

• ร่างสำหรับ ผอ.กอง และ ผบ.หน่วย


• บางเรื่อง ร่างหนังสือสำหรับ
ผบ.หน่วย ก่อน
• บางเรื่อง ร่างหนังสือสำหรับ ผอ.กอง
ก่อน
การตั
การตัง้ ง้ ชืชื่ อ
่ อเรื
เรื่ อ
่ องง

• ใช้ตามเรื่องเดิม
• ตัง้ ใหม่ตามความเหมาะสม
การเขี
การเขียยน
น ““ปัปัญหา
ญหา””

• มักใช้เฉพาะเลขข้อ
• สรุปความต้องการของหน่วย
รอง ใคร อะไร เมื่อไร ที่ไหน
อย่างไร ทำไม
การเขี
การเขียยน
น ““ข้ข้ออเท็
เท็จจจริ
จริงง””
• ใช้ 2. ข้อเท็จจริง หรือ 2. ….. ก็ได้
• อาจใช้ “ความเป็ นมา” “เรื่องเดิม”
ก็ได้
• เขียนข้อความต่อจากหัวข้อ หรือใช้
ข้อย่อย ก็ได้
• เขียนเฉพาะข้อมูลที่ตรงประเด็น ให้
สัมพันธ์กับข้อพิจารณา และข้อเสนอ
• อ้างระเบียบ อนุมัติหลักการ การ
ปฏิบัติที่ผ่านมา
การเขี
การเขียยน
น ““ข้ข้ออพิ
พิจจารณา
ารณา””
•• ใช้
ใช้ 3. 3. ข้ ข้ออพิพิจจารณา
ารณา หรื หรืออ 3.
3. …..
….. ก็ก็ไได้
ด้
•• เขี
เขียยนข้นข้ออความต่
ความต่ออจากหั
จากหัววข้ ข้ออ หรื
หรืออใช้ ใช้ขข้อ้อ
ย่ย่ออยย ก็ก็ไได้
ด้
•• ใช้
ใช้รรูป ูปแบบการเขี
แบบการเขียยนให้ นให้สสัมัมพั
พันนธ์ธ์กกับ
ับข้
ข้ออ 22
•• พิ
พิจจารณาเฉพาะประเด็
ารณาเฉพาะประเด็น นสำคั
สำคัญ ญ โน้ โน้มมน้น้าาวว
ไปสู
ไปสู่ข ่ข้อ้อเสนอที
เสนอที่เ่เตรี
ตรียยมไว้
มไว้
•• ประเด็
ประเด็น น :: ผลดี
ผลดี ประโยชน์
ประโยชน์ งบประมาณ
งบประมาณ
อำนาจหน้
อำนาจหน้าาที ที่ต
่ตามกฎหมาย
ามกฎหมาย นโยบาย นโยบาย ผบ. ผบ.
ผลลั
ผลลัพ พธ์ธ์ การตรวจสอบประเมิ
การตรวจสอบประเมิน นผล ผล
การเขี
การเขียยน
น ““ข้ข้ออเสนอ
เสนอ””
• ใช้ 4. ข้อเสนอ เสมอ
• เขียนข้อความต่อจากหัวข้อ หรือใช้
ข้อย่อย ก็ได้
• ถ้ามี 2 ห/ป อาจต้องเสนอทัง้ 2 ห/ป
• ถ้าเสนอให้มีหนังสือถึงหน่วยใด จะ
ต้องร่างหนังสือถึงหน่วยนัน
้ แนบไป
ด้วย
การเขี
การเขียยน
น ““คำลงท้
คำลงท้าายย””
• จึงเรียนมาเพื่อกรุณาอนุมัติในข้อ …
• จึงเรียนมาเพื่อกรุณาพิจารณา
หากเห็นสมควรกรุณาอนุมัติในข้อ …
• …..และลงนามในร่างหนังสือที่แนบ
• …..หากเห็นสมควรกรุณาอนุมัติในข้อ
4 และ (รอง ผบ.หน่วย) กรุณาลง
นามในร่างหนังสือที่แนบ
การร่
การร่าางหนั
งหนังงสืสืออประกอบ
ประกอบ
• จะให้ใครลงนาม
• เขียนให้ จก.สธร.ฯ ลงนามต้องใช้รูป
แบบข้อพิจารณาของฝ่ ายอำนวยการ
• เขียนให้ หน.นขต.บก.ทท. ลงนาม จะ
ใช้เฉพาะเลขข้อ จะไม่มี 4. ข้อเสนอ
• เขียนได้ 2 แบบ
แบบที
แบบที่ ่ 11 อิอิงงหั
หัววข้ข้ออรูรูป
ปแบบบั
แบบบันนทึ
ทึกก
ความเห็
ความเห็นน
1.
1. ปัปั ญหาหรื
ญหาหรืออความต้
ความต้อองการของ
งการของ
หน่
หน่ววยย
2.
2. ข้
ข้ออเท็
เท็จจจริ
จริงงหรื
หรืออความเป็
ความเป็นมา นมา
3.
3. ข้
ข้ออพิ
พิจจารณาของหน่
ารณาของหน่ววยย
4.
4. เสนอว่
เสนอว่าาสมควรอนุ
สมควรอนุม มัตัติใิให้
ห้ดำ
ดำเนิ
เนินนการ
การ
ตามข้
ตามข้ออ 11 หรื หรืออไม่
ไม่
แบบที
แบบที่ ่ 22 เขี
เขียยนโดยลำดั
นโดยลำดับบ
เหตุ
เหตุกการณ์
ารณ์
1.
1. ความเป็
ความเป็นมาหรื
นมาหรืออกล่
กล่าาวนำ
วนำ
2.
2. ข้
ข้ออเท็
เท็จจจริ
จริงงหรื
หรืออความเป็
ความเป็นน
มา
มา
3.
3. ข้
ข้ออพิ
พิจจารณาของหน่
ารณาของหน่ววยย
4.
4. ความต้
ความต้อองการของหน่
งการของหน่ววยย
การทำบั
การทำบันนทึ
ทึกกฯฯ ปะหน้
ปะหน้าาเรื
เรื่ อ
่ องง
ของหน่
ของหน่ววยนอก
ยนอก
• แบ่งเป็ น 3 ขัน้ ตอน คือ
ขัน
้ ตอนที่ 1 อ่าน - สรุป คิดโครงร่าง
วางแผนการเขียน
ขัน้ ตอนที่ 2 ศึกษาหลักฐาน ประสานงาน
ขัน ้ ตอนที่ 3 บันทึกความเห็น ร่างหนังสือ
ประกอบ
ขัขัน
้น
้ ตอนที
ตอนที่ ่ 11
อ่อ่าานน -- สรุ
สรุปป คิคิดดโครงร่
โครงร่าางง วางแผน
วางแผน
การเขี
การเขี ย
ยนน
• สรุปประเด็น ผบ.ทหารสูงสุด หรือ
รมว.กห. อนุมัติอะไร กรม สธร.ฯ หรือ
สป. ต้องการให้หน่วยเราทำอะไร
• เป็ นเรื่องเพื่อทราบหรือต้องดำเนิ
งดำเนินนการ
การ
• พิจารณาความเร่งด่วน
• เตรียมปั ญหาซักถาม
• คิดโครงร่างในใจ
• วางแผนการเขียน
ขัขัน
้น
้ ตอนที
ตอนที่ ่ 22
ศึศึกกษาหลั
ษาหลักกฐาน
ฐาน ประสานงาน
ประสานงาน

•• ขอเรื
ขอเรื่ อ่ องเดิ
งเดิมมมาศึ
มาศึกกษา ษา
•• ศึศึกกษา
ษา กฎ
กฎ ข้ ข้ออบั บังงคัคับบ ระเบี
ระเบียยบ

คำสั
คำสั่ง่ง
หลั
หลักกเกณฑ์
เกณฑ์ท ที่เี่เกีกี่ย่ยวข้
วข้อองง
•• ประสานงาน
ประสานงาน
•• ส่ส่งงโทรสารไปก่
โทรสารไปก่ออน น
ขัขัน
้น
้ ตอนที
ตอนที่ ่ 33
บั
บันนทึ
ทึกกความเห็
ความเห็นน ร่ร่าางหนังหนังงสืสืออ
ประกอบ
ประกอบ
•• บางเรื
บางเรื่ อ ่ องร่
งร่าางหนั
งหนังงสืสืออตอบได้
ตอบได้เเลย
ลย โดย
โดย
ไม่
ไม่ตต้อ้องถามหน่
งถามหน่ววยรอง ยรอง
•• บางเรื
บางเรื่ อ ่ องต้
งต้อองเสนอให้
งเสนอให้ห หน่
น่ววยรอง
ยรอง
พิ
พิจจารณา
ารณา หรื หรืออดำเนิ
ดำเนิน นการก่
การก่ออนน
การตั
การตัง้ ง้ ชืชื่ อ
่ อเรื
เรื่ อ
่ องง

• มักใช้ตามเรื่องเดิม
การเขี
การเขียยน
น ““ปัปัญหา
ญหา””

• มักขึน้ ต้นว่า “ผบ.ทสส. หรือ


รมว.กห. กรุณาอนุมัติให้……”
• กรม สธร.ฯ หรือ สป. ขอให้หน่วย
เราทำอะไร
• ใช้ข้อเสนอของหนังสือเจ้าของ
เรื่องมาสรุปเขียนเป็ นข้อ 1
• มักไม่ใช้ 1. ปั ญหา มักใช้ 1
. ……….
การเขี
การเขียยน
น ““ข้
ข้ออเท็
เท็จจจริ
จริงง””
•• ใช้
ใช้ 2. 2. ข้ข้ออเท็
เท็จจจริ
จริงง หรื
หรืออ 2. 2. …..
….. ก็ก็ไได้
ด้
•• อาจใช้
อาจใช้ “ความเป็“ความเป็นมา” นมา” “เรื “เรื่ อ
่ องเดิ
งเดิมม”” ก็ก็ไได้
ด้
•• เขี
เขียยนข้นข้ออความต่
ความต่ออจากหั
จากหัววข้ ข้ออ หรื หรืออใช้
ใช้ขข้อ้อ
ย่ย่ออยย ก็ก็ไได้
ด้
•• เขี
เขียยนเฉพาะข้
นเฉพาะข้ออมู มูลลที
ที่ต
่ตรงประเด็
รงประเด็น น ให้
ให้
สัสัมมพั
พันนธ์ธ์
กักับบข้
ข้ออพิ
พิจจารณา
ารณา และข้
และข้ออเสนอ เสนอ
•• อ้อ้าางระเบี
งระเบียยบ บ อนุ
อนุม มัต
ัติหิหลัลักกการ
การ การปฏิการปฏิบ บัต
ัติท
ิที่ ี่
ผ่
ผ่าานมานมา
การเขี
การเขียยน
น ““ข้
ข้ออพิ
พิจจารณา
ารณา””
•• ใช้
ใช้ 3. 3. ข้ ข้ออพิ
พิจจารณา
ารณา หรื หรืออ 3.3. …..
….. ก็ก็ไได้
ด้
•• เขี
เขียยนข้นข้ออความต่
ความต่ออจากหั
จากหัววข้ ข้ออ หรื
หรืออใช้ ใช้ขข้อ้อ
ย่ย่ออยย ก็ก็ไได้ด้
•• ใช้
ใช้รรูป ูปแบบการเขี
แบบการเขียยนให้ นให้สสัม
ัมพั
พันนธ์ธ์กกับ
ับข้
ข้ออ 22
•• พิ
พิจจารณาเฉพาะประเด็
ารณาเฉพาะประเด็น นสำคั
สำคัญ ญ โน้ โน้มมน้น้าาวว
ไปสู
ไปสู่ข ่ข้อ้อเสนอที
เสนอที่เ่เตรี
ตรียยมไว้
มไว้
•• ประเด็
ประเด็น น :: ผลดี
ผลดี ประโยชน์
ประโยชน์ งบประมาณ
งบประมาณ
อำนาจหน้
อำนาจหน้าาที ที่ต
่ตามกฎหมาย
ามกฎหมาย นโยบาย นโยบาย ผบ. ผบ.
ผลลั
ผลลัพ พธ์ธ์ การตรวจสอบประเมิ
การตรวจสอบประเมิน นผล ผล
• ถ้ามี ห/ป เดียว เอาไว้เขียนในข้อเสนอ
• ถ้ามี 2 ห/ป ให้เขียนในข้อพิจารณา
• เปรียบเทียบ ข้อดี - ข้อเสีย ทัง้ 2 ห/ป
• สรุปว่า ห/ป
ห/ป ใดใด เหมาะสมที
เหมาะสมที่ส่สุด ุด ด้
ด้ววยย
เหตุผลใด (แต่
(แต่ยยังังไม่
ไม่ใช่
ช่ขข้อ้อเสนอ)
เสนอ)
การเขี
การเขียยน
น ““ข้
ข้ออเสนอ
เสนอ””
•• ใช้
ใช้ 4. 4. ข้
ข้ออเสนอ
เสนอ เสมอ เสมอ
•• ถ้ถ้าามี
มี ห/ป
ห/ป เดี เดียยวว ก็ก็เเสนอ
สนอ ห/ป
ห/ป เดี เดียยวว
•• ถ้ถ้าามี
มี 22 ห/ป
ห/ป
-- ถ้ถ้าาไม่
ไม่มมีรีรายละเอี
ายละเอียยดมาก ดมาก ให้ ให้เเสนอในข้
สนอในข้ออ
เสนอ
เสนอ
-- ถ้ถ้าามี
มีรรายละเอี
ายละเอียยดมาก ดมาก ต้ ต้อองกล่
งกล่าาวถึวถึงงและ
และ
เปรี
เปรียยบเที
บเทียยบให้บให้เเห็ห็น
นในข้
ในข้ออพิ
พิจจารณาก่
ารณาก่ออน น
•• เสนอ
เสนอ ห/ป ห/ป ที ที่เ่เหมาะสมที
หมาะสมที่ส่สุดุดเพี
เพียยงง ห/ป
ห/ป เดี
เดียยวว
•• เสนอให้
เสนอให้ค ครอบคลุ
รอบคลุม มงานที
งานที่ถ่ถูกูกกำหนดให้
กำหนดให้ทำ ทำ
•• อาจเสนอให้
อาจเสนอให้จจัด ัดประชุประชุม มพิ
พิจจารณาก่
ารณาก่ออน น
•• นึ
นึกกทุ
ทุกกเรื
เรื่ อ
่ องที
งที่เ่เกีกี่ย่ยวข้
วข้อองง ใคร/หน่
ใคร/หน่ววยใดยใด --
ปฏิ
ปฏิบบัตัติ ิ ใคร/หน่
ใคร/หน่ววยใด ยใด -- ทราบ
ทราบ เรื เรื่ อ
่ องงบ
งงบ
ประมาณ
ประมาณ ยานพาหนะ ยานพาหนะ การแต่ การแต่งงกาย กาย
ฯลฯ
ฯลฯ
การเขี
การเขียยน
น ““คำลงท้
คำลงท้าาย
ย””
• จึงเรียนมาเพื่อกรุณาอนุมัติในข้อ …
• จึงเรียนมาเพื่อกรุณาพิจารณา
หากเห็นสมควรกรุณาอนุมัติในข้อ …
• …..และลงนามในร่างหนังสือที่แนบ
• …..หากเห็นสมควรกรุณาอนุมัติในข้อ
4 และ (รอง ผบ.หน่วย) กรุณาลง
นามในร่างหนังสือที่แนบ
การร่
การร่าางหน
งหนังส ือ
ังสอื ประกอบ
ประกอบ
•• จะให้
จะให้ใใครลงนาม ครลงนาม
•• ชื
ชื่ อ
่ อเรื
เรื่ อ
่ องปกติ
งปกติใใช้ ช้ชช่ อ
ื่ อ
ื เดิ
เดิมม อาจเปลี
อาจเปลี่ย่ยนแปลงนิ
นแปลงนิดด
หน่
หน่ออยย
•• ใช้
ใช้คำ คำขึ ขึน
้น
้ ต้ต้นนให้
ให้สสอดคล้
อดคล้อองกั งกับ
บคำขึ
คำขึน ้น
้ ต้ต้น
นของหนั
ของหนังงสืสืออ
เจ้
เจ้าาของเรื
ของเรื่ อ ่ องง
•• ต้ต้อองอ้
งอ้าางถึ งถึงงหนัหนังงสืสืออเจ้ เจ้าาของเรื
ของเรื่ อ
่ องเสมอ
งเสมอ
•• เขี
เขียยนให้
นให้เเป็ป็นสำนวนของ
นสำนวนของ ผบ.หน่ ผบ.หน่ววยย ถึถึงง ผบ.หน่
ผบ.หน่ววยย
การต
การตงเรื
ั้ ั้ อ
งเรื ่อ
่ งขึ
งขึน้น
้ เอง
เอง
•• แบ่
แบ่งงเป็
เป็นน 55 ขั
ขัน้น
้ ตอน
ตอน คืคืออ
ขัขัน
้น ้ ตอนที
ตอนที่ ่ 11 พิ
พิจจารณาว่
ารณาว่าา ควรริ
ควรริเเริริ่ม
่มแก้
แก้ไไขหรื
ขหรืออ
ไม่
ไม่
ขัขัน
้น
้ ตอนที
ตอนที่ ่ 22 ศึศึกกษาหลั
ษาหลักกฐาน
ฐาน รวบรวมข้
รวบรวมข้ออมู มูลล
ขัขัน
้น้ ตอนที
ตอนที่ ่ 33 ประสานกั
ประสานกับ บหน่
หน่ววยเกี
ยเกี่ย่ยวข้
วข้อองง
ขัขัน
้น ้ ตอนที
ตอนที่ ่ 44 คิคิดดโครงร่
โครงร่าางง วางแผนการเขี
วางแผนการเขียยน น
ขัขัน
้น ้ ตอนที
ตอนที่ ่ 55 ทำบั
ทำบัน นทึ
ทึกกความเห็
ความเห็น น

ขนตอนที
ั้ ั้
นตอนที่่1
พิ
พิจจารณาว่
ารณาว่าาควรริ
ควรริเเริริม
่ม
่ แก้
แก้ไไขหรื
ขหรืออ
ไม่
ไม่
• พิจารณาความเป็ นไปได้
• หน่วยรองจะเห็นด้วยหรือไม่
• จะมีหน่วยใดเสียประโยชน์ หรือถูก
ตำหนิหรือไม่
• เป็ นประโยชน์ต่อส่วนรวมหรือไม่
• ความเป็ นไปได้ด้านงบประมาณ

ขนตอนที
ั้ ั้
นตอนที ่่2

ศกึก
ึ ษาหล
ษาหลักฐาน ักฐาน รวบรวม
รวบรวม
•• รวบรวมหลั
ข้อ
ข้อมู
รวบรวมหลักกฐานเอกสารที

มูล
ฐานเอกสารที่เ่เกีกี่ย่ยวข้
วข้อองง
•• รวบรวมข้
รวบรวมข้ออมู มูลลการปฏิ
การปฏิบ บัต
ัติใิในเรื
นเรื่ อ
่ องนั
งนัน
้น
้ ของ
ของ
หน่
หน่ววยรอง
ยรอง หน่ หน่ววยเหนื
ยเหนืออ กรม
กรม สธร.ฯ สธร.ฯ
หน่
หน่ววยข้
ยข้าางเคี
งเคียยงง
•• บั
บันนทึ
ทึกกปัปั ญหาข้
ญหาข้ออสงสั
สงสัยย เตรี
เตรียยมไว้
มไว้ป ประสาน
ระสาน
•• คิ
คิดดแนวทางแก้
แนวทางแก้ไไขปั ขปั ญหาในชั
ญหาในชัน ้น
้ ต้ ต้น


ขนตอนที
ั้ ั้
นตอนที ่่3
ประสานก
ประสานกับหน่ ับหน่ววยเกี
ยเกีย่ย
่ วข้
วข้อองง
• นำปั ญหาข้อสงสัย และแนวทางแก้ไข
ปั ญหาที่คิดไว้ ประสานกับหน่วย
เกี่ยวข้อง
• พัฒนาข้อมูลและแนวทางแก้ไข
ปั ญหา

ขนตอนที
ั้ ั้
นตอนที ่่4
คิ
คิดดโครงร่
โครงร่าางง วางแผนการ วางแผนการ
จะใช้ ว ธ
ิ ใ
ี ดใน 2
•• จะใช้วิธีใดใน 2 วิธี เขี
เขี
วิ ธ ี ย
ย น

วิวิธธีท
ีที่ ี่ 11 เขี เขียยนข้
นข้ออเสนอครบว่
เสนอครบว่าามี มีห
หนทาง
นทาง
แก้
แก้ไไข ข ปัปั ญหาอย่
ญหาอย่าางไรงไร
วิวิธธีทีที่ ี่ 22 เขีเขียยนข้
นข้ออเสนอว่
เสนอว่าาให้ ให้ม
มีกีการ
าร
ประชุ
ประชุม มหารื
หารืออ หรืหรืออมี
มีห
หนั
นังงสืสืออหารื
หารืออ กรมกรม
สธร.ฯ
สธร.ฯ
•• สรุ
สรุป ปประเด็
ประเด็น นปัปั ญหา
ญหา และข้
และข้ออเสนอก่เสนอก่ออน น
•• วางแผนการเขี
วางแผนการเขียยนโดยใช้ นโดยใช้ 44 หั หัววข้
ข้ออ

ขนตอนที
ั้ ั้
นตอนที ่่5
การทำบ
การทำบันทึ ันทึก
กความเห็
ความเห็น

การตั
การตัง้ ง้ ชืชื่ อ
่ อเรื
เรื่ อ
่ องง
•• ใช้
ใช้ช ช่ อ
ื่ อ
ื เรื
เรื่ อ
่ องตามประเด็
งตามประเด็นนของปั
ของปั ญหา
ญหา
•• ใช้
ใช้ช ช่ อ
ื่ อื เรื
เรื่ อ่ องการดำเนิ
งการดำเนินนการในเรื
การในเรื่ อ
่ องง
นั
นัน้น

การเขี
การเขียยน
น ““ปั
ปัญญหา
หา””

• เขียนประเด็นของปั ญหาและประเด็น
ของข้อเสนอ
• เขียน 1. ปั ญหา หรือ 1. …….. ก็ได้
• การเขียน 1. ปั ญหา ทำให้ดูหนักแน่น
กว่า
การเขี
การเขียยน
น ““ข้
ข้ออเท็
เท็จจจริ
จริงง””
•• ใช้
ใช้ 2. 2. ข้
ข้ออเท็
เท็จจจริ
จริงง หรื
หรืออ 2. 2. …..
….. ก็ก็ไได้ด้
•• เขี
เขียยนข้ นข้ออความต่
ความต่ออจากหั
จากหัววข้ ข้ออ หรื
หรืออใช้ใช้ข ข้อ้อย่ย่ออยย
ก็ก็ไได้ด้
•• เขี
เขียยนเฉพาะข้
นเฉพาะข้ออมู มูลลที ที่ต่ตรงประเด็
รงประเด็น น ให้ ให้สสัม ัมพัพัน นธ์ธ์กกับับ
ข้
ข้ออพิ พิจจารณา
ารณา และข้
และข้ออเสนอ เสนอ
•• อ้อ้าางระเบี
งระเบียยบ บ อนุ
อนุมมัตัติห
ิหลัลักกการ
การ การปฏิ
การปฏิบ บัตัติทิที่ผ
ี่ผ่า่าน

มา
มา
•• ถ้ถ้าาอ้อ้าางอิ
งอิงงเอกสารหลายฉบั
เอกสารหลายฉบับ บ ทำดั
ทำดัช ชนี นีตติดิดทุ
ทุกกฉบั ฉบับ บ
การเขี
การเขียยน
น ““ข้
ข้ออพิ
พิจจารณา
ารณา””
•• ใช้
ใช้ 3. 3. ข้ ข้ออพิพิจจารณา
ารณา หรื หรืออ 3.
3. …..
….. ก็ก็ไได้
ด้
•• เขี
เขียยนข้นข้ออความต่
ความต่ออจากหั
จากหัววข้ ข้ออ หรื
หรืออใช้ ใช้ขข้อ้อ
ย่ย่ออยย ก็ก็ไได้
ด้
•• ใช้
ใช้รรูป ูปแบบการเขี
แบบการเขียยนให้ นให้สสัมัมพั
พันนธ์ธ์กกับ
ับข้
ข้ออ 22
•• พิ
พิจจารณาเฉพาะประเด็
ารณาเฉพาะประเด็น นสำคั
สำคัญ ญ โน้ โน้มมน้น้าาวว
ไปสู
ไปสู่ข ่ข้อ้อเสนอที
เสนอที่เ่เตรี
ตรียยมไว้
มไว้
•• ประเด็
ประเด็น น :: ผลดี
ผลดี ประโยชน์
ประโยชน์ งบประมาณ
งบประมาณ
อำนาจหน้
อำนาจหน้าาที ที่ต
่ตามกฎหมาย
ามกฎหมาย นโยบาย นโยบาย ผบ. ผบ.
ผลลั
ผลลัพ พธ์ธ์ การตรวจสอบประเมิ
การตรวจสอบประเมิน นผล ผล
•• ถ้ถ้าามี
มี ห/ป
ห/ป เดี
เดียยวว เอาไว้
เอาไว้เเขี ขียยนในข้
นในข้ออ
เสนอ
เสนอ
•• ถ้ถ้าามี
มี 22 ห/ป
ห/ป ให้ ให้เเขี
ขียยนในข้
นในข้ออพิพิจจารณา
ารณา
(แต่
(แต่ยยังังไม่
ไม่ใใช่
ช่ขข้อ้อเสนอ)
เสนอ)
•• เปรี
เปรียยบเทีบเทียยบบ ข้ ข้ออดีดี -- ข้
ข้ออเสี
เสียย ทั
ทัง้ ง้ 22 ห/ป
ห/ป
•• เขี
เขียยนผลการประสานงาน
นผลการประสานงาน และความ และความ
เห็
เห็น น
ของหน่
ของหน่ววยเกี ยเกี่ย่ยวข้
วข้อองง
การเขี
การเขียยน
น ““ข้
ข้ออเสนอ
เสนอ””
•• ใช้
ใช้ 4. 4. ข้
ข้ออเสนอ
เสนอ เสมอเสมอ
•• เขี
เขียยนข้นข้ออความต่
ความต่ออจากหัจากหัววข้ ข้ออหรื
หรืออใช้ใช้ขข้อ้อย่ย่ออยก็
ยก็ไได้ด้
•• เขี
เขียยนตามที
นตามที่ค่คิดิดไว้
ไว้ และพั
และพัฒ ฒนาจากการประสาน
นาจากการประสาน
•• เรี
เรียยงลำดั
งลำดับ บ ไคร
ไคร อะไร
อะไร เมื เมื่ อ
่ อไร
ไร ที
ที่ไ่ไหน
หน อย่ อย่าางไร งไร
•• ถ้ถ้าาเสนอให้
เสนอให้จจัดัดประชุ
ประชุม ม ประสานวั
ประสานวัน นว่ว่าางของ
งของ
ห้ห้อองประชุ
งประชุม มและประธานก่
และประธานก่ออน น
•• ถ้ถ้าาเสนอให้
เสนอให้ทำ ทำหนั หนังงสืสืออหารื
หารืออ ต้ต้อองร่ งร่าางแนบไป
งแนบไป
ด้ด้ววยย
การเขี
การเขียยน
น ““คำลงท้
คำลงท้าาย
ย””
•• ไม่
ไม่ค ควรใช้
วรใช้ จึจึงงเรี
เรียยนมาเพื
นมาเพื่ อ
่ อกรุ
กรุณ
ณาอนุ
าอนุม มัตัติใิใน

ข้
ข้ออ … …
•• ควรใช้
ควรใช้ จึจึงงเรี
เรียยนมาเพื
นมาเพื่ อ
่ อกรุ
กรุณ ณาพิ
าพิจจารณาารณา
หากเห็
หากเห็น
นสมควรกรุ
สมควรกรุณ ณาอนุ
าอนุมมัต
ัติใิในข้
นข้ออ … …
•• ถ้ถ้าาเสนอให้
เสนอให้จจัดัดประชุ
ประชุมม อาจต่
อาจต่ออด้ด้ววย…..
ย….. กักับ บ
กรุ
กรุณ ณากำหนดวั
ากำหนดวัน น เวลา
เวลา ประชุ
ประชุม มตามข้
ตามข้ออ….. …..
การร่
การร่าางหน
งหนังส ือ
ังสอื ประกอบ
ประกอบ
•• ใช้
ใช้ “เรี
“เรียยน”
น” หรื
หรืออ “เสนอ”
“เสนอ” แล้ แล้ววแต่
แต่เเรืรื่ อ
่ องนั
งนัน้น
้ ๆ

•• เขี
เขียยนได้
นได้ 22 แบบ
แบบ คืคืออ
แบบ
แบบ 11 อิอิงงหั หัววข้
ข้ออรูรูป
ปแบบบั
แบบบันนทึ
ทึกกความเห็
ความเห็น น
แบบ
แบบ 22 เขี เขียยนโดยลำดั
นโดยลำดับ บเหตุ
เหตุกการณ์
ารณ์
แบบที
แบบที่ ่ 11 อิ
อิงงห
หัวข้
ัวข้อ
อรูรูป
ปแบบบ
แบบบันทึ
ันทึก

ความเห็
ความเห็น น
1. ปั ญหาหรือความต้องการของ
งการของ
หน่วย
2. ข้อเท็จจริงหรือความเป็ นมา
3. ข้อพิจารณาของหน่วย
4. เสนอว่าสมควรอนุมัติให้
ดำเนินการ
ตามข้อ 1 หรือไม่
แบบที
แบบที่ ่ 22 เขี
เขียยนโดยลำดั
นโดยลำดับบ
เหตุ
เหตุกการณ์
ารณ์
1.
1. ความเป็
ความเป็นมาหรื
นมาหรืออกล่
กล่าาวนำ
วนำ
2.
2. ข้
ข้ออเท็
เท็จจจริ
จริงงหรื
หรืออความเป็
ความเป็นน
มา
มา
3.
3. ข้
ข้ออพิ
พิจจารณาของหน่
ารณาของหน่ววยย
4.
4. ความต้
ความต้อองการของหน่
งการของหน่ววยย
การร่
การร่าางหนั
งหนังงสืสืออภายนอก
ภายนอก

โครงสร้าง

การเขียนหัวหนังสือ
การเขียนเหตุที่มี

หนังสือไป
การเขียนจุดประสงค์

การเขียนท้ายหนังสือ

โครงสร้
โครงสร้าางหนั
งหนังงสืสืออ
ภายนอก
ภายนอก

 ส่วนหัวหนังสือ
ส่วนข้อความ

ส่วนท้ายหนังสือ

หั
หัววหนั
หนังงสืสืออ :: การเขี
การเขียยนชื
นชื่ อ
่อ
เรื
เรื่ อ
่ องง

 ย่อสัน
้ ที่สุด
เป็ นประโยคหรือวลี

พอรู้ใจความโดยไม่ต้องอ่าน

ละเอียด
แยก เก็บ ค้น อ้างอิง ง่าย

แยกความแตกต่างได้

เหตุ
เหตุทที่มี่มีห
ีหนั
นังงสืสืออไป
ไป

 เพื่อให้ผู้รับทราบสาเหตุที่มีหนังสือไป
ตอนเดียว + จุดประสงค์

เรื่องเดิม + เรื่องต่อมา + จุดประสงค์


เรื่องเดิม + เรื่องต่อมา + ผล + จุด


ประสงค์
คำเริ
คำเริ่ม่มต้ต้น
นเหตุ
เหตุท
ที่มี่มีห
ีหนั
นังงสืสืออ
ไป
ไป

ด้วย : เป็ นเรื่องใหม่
เนื่องจาก : ต้องการให้หนักแน่น

ตาม ตามที่ อนุสนธิ : เคยติดต่อ

กันมาก่อน ต้องมี “นัน ้ ” เสมอ


ต้องมีตอนที่ 2 ก่อน “จึง”
ที
ที่ม่มาของเหตุ
าของเหตุทที่มี่มีห
ีหนั
นังงสืสืออ
ไป
ไป

เหตุจากผู้มีหนังสือไป
เหตุจากบุคคลภายนอก

เหตุจากเหตุการณ์ที่ปรากฏ

ขึน

เหตุจากผู้รับหนังสือ

จุจุดดประสงค์
ประสงค์ทที่มี่มีห
ีหนั
นังงสืสืออไป
ไป

 คำแจ้ง : เพื่อทราบ พิจารณา
อนุมัติ ให้ดำเนินการ ให้ร่วมมือ ให้
ถือปฏิบัติ
คำซักซ้อม : เพื่อให้เข้าใจ

คำยืนยัน : เพื่อให้แน่ใจ

คำสั่ง : เพื่อให้ปฏิบัติ


คำเตือน : เพื่อไม่ให้ปฏิบัติ
คำกำชับ : เพื่อให้ปฏิบัติ

ตาม สังวรระวัง
คำถาม : เพื่อขอทราบ

คำหารือ : เพื่อขอความเห็น

วิวิธธีเีเขีขียยนจุ
นจุดดประสงค์
ประสงค์

 ย่อหน้าขึน ้ บรรทัดใหม่
มีข้อความประกอบให้

สมบูรณ์ สละสลวย สุภาพ


โน้มน้าวจูงใจ ผูกมัดจิตใจ
คำขอร้อง คำขอบคุณ เรื่อง

เกี่ยวเนื่อง เรื่องไม่เกี่ยวเนือง
หลั
หลักกการเขี
การเขียยนจุ
นจุดด
ประสงค์
ประสงค์

ให้ตรงกับลักษณะและ
ความมุ่งหมาย
แจ้งจุดประสงค์ให้ชัดเจน

ใช้ถ้อยคำให้เหมาะสม

การเขี
การเขียยนหนั
นหนังงสืสืออบาง
บาง
แบบ
แบบ

หนังสือขอความร่วมมือ
หนังสือตอบปฏิเสธ

หนังสือขอความช่วยเหลือ

หนั
หนังงสืสืออขอความร่
ขอความร่ววมมื
มมืออ

หนังสือถึงผู้มีหน้าที่เกี่ยวข้อง
กัน
กล่อมใจด้วยคารม

จับใจด้วยเหตุผล

ตัง
 ้ ความหวังและขอบคุณ
หนั
หนังงสืสืออตอบปฏิ
ตอบปฏิเเสธ
สธ

 ตอบปฏิเสธการให้ : ขอบคุณ
อ้างเหตุที่ไม่รับ ขอโอกาสอื่น
ตอบปฏิเสธคำขอที่ไม่ใช่ตาม

กฎหมาย : สุภาพนุ่มนวล อ้าง
เหตุขัดข้อง ขออภัย แสดงน้ำใจ
ตอบปฏิเสธคำขอตามกฎหมาย :

ไม่ต้องขออภัย หรือแสดงน้ำใจ
หนั
หนังงสืสืออขอความช่
ขอความช่ววยย
เหลื
เหลืออ

 บอกความจำเป็ น ความต้องการ
ยกย่องความสามารถของเขา

ชีผ
 ้ ลที่จะเกิดขึน
้ หากได้รับความ
ช่วยเหลือจากเขา
ขอความช่วยเหลือจากเขา

ตัง
 ้ ความหวัง ขอบคุณ
ข้ข้ออสัสังงเกตการใช้
เกตการใช้คำ
คำ

ภาษาพูด – ภาษาเขียน
คำเชื่อม : ที่ – ซึ่ง – อัน, และ

– กับ – รวมทัง้ – ตลอดจน


คำที่ใช้แทนกันได้ – ไม่ได้

คำเบา - คำหนักแน่น


คำบังคับ – คำขอร้อง
คำทำลาย – คำเสริมสร้าง

หางเสียง : ต่อไป – ได้ – ด้วย


คำฟุ ่มเฟื อย

สำนวนตามสมัยนิยม

การเขี
การเขียยนรายงาน
นรายงาน
หรื
หรืออเรื
เรื่ อ
่ องนำเรี
งนำเรียยนเพื
นเพื่ อ
่ อทราบ
ทราบ
 หลักการ
 ประสบการณ์
การสรุ
การสรุปปความ
ความ

สรุปประเด็นสำคัญของเรื่อง
กระทำได้ทง
 ั ้ ในใจและข้อเขียน
ใช้ถ้อยคำที่เขียนขึน
 ้ ใหม่
ไม่ใช่ตัดทอนมา
อาจต้องมีการประสานเพิ่มเติม


 ต้องมีหลักการคิดและหลักการ
เขียนที่ดี
ต้องสมบูรณ์ ชัดเจน สัน
 ้ เข้าใจ
ง่าย
นำไปสู่การปฏิบัติงานที่สมบูรณ์

ของ ฝอ.
ไม่จำเป็ นต้องลำดับความตาม

ต้นเรื่อง

 ใคร อะไร เมื่อใด ที่ไหน ทำไม
อย่างไร
ฝอ. ต้องสรุปความได้อย่างตรง

ประเด็น
ฝอ. ต้องมีความคิดกว้างไกล

กว่าหน่วยเจ้าของเรื่อง
รูรูป ปแบบรายงาน
แบบรายงาน
หรื
หรืออเรื
เรื่ อ
่ องนำเรี
งนำเรียยนเพื
นเพื่ อ
่ อทราบ
ทราบ
1...........
2...........
3...........
4...........
ประสบการณ์
ประสบการณ์

 ยึดหลัก ใคร อะไร เมื่อใด ที่ไหน
ทำไม อย่างไร
หนังสือภายนอก

- ดูช่ อ
ื เรื่องก่อน
- อ่านรอบที่ 1 สรุปให้ได้ว่าเขา
ต้องการอะไร
- อ่านรอบที่ 2 แล้วตอบคำถาม
6W
หนังสือภายใน


- แจ้งอนุมัติ ผบ.ทสส.ประเด็น
สำคัญมักอยู่ที่ข้อเสนอ
- แจ้งเรื่องให้หน่วยทราบ ประเด็น
สำคัญมักอยู่ที่ข้อสุดท้าย
- ร่างครัง้ ที่ 1 แล้วพิมพ์ อ่านใหม่

ปรับแก้ตกแต่งให้สละสลวย
หั
หัววข้ข้ออรายงานผลการร่
รายงานผลการร่ววมม
ประชุ
ประชุ มม
1. อ้างอิงสั่งการ ผบ.หน่วย
1. อ้างอิงสั่งการ ผบ.หน่วย
2.
2. สรุ
สรุปปสาระสำคั
สาระสำคัญ ญ
-- วัวัต
ตถุถุป
ประสงค์
ระสงค์
-- ประธาน/ผู
ประธาน/ผู้เ้เข้ ข้าาร่ร่ววมประชุ
มประชุมม
-- วาระ/เอกสารการประชุ
วาระ/เอกสารการประชุม ม
-- มติ
มติท ที่ป
ี่ประชุ
ระชุมม
3.
3. ความเห็
ความเห็น นของผู
ของผู้ร้รายงาน/หน่
ายงาน/หน่ววยย
หั
หัววข้ข้ออรายงานผลการร่
รายงานผลการร่ววมม
สัสัมมมนา
มนา
1. อ้างอิงสั่งการ ผบ.หน่วย
2. สรุปสาระสำคัญ
- วัตถุประสงค์
- ประธาน/ผู้เข้าร่วมสัมมนา
- การดำเนินการสัมมนา
การบรรยาย การแยกกลุ่ม
- ผลการสัมมนา
3. ความเห็นของผู้รายงาน/หน่วย
ข้ข้ออคิคิดดบางประการ
บางประการ
• ทุกส่วนราชการใน บก.ทท.
ต้องยึดถือรูปแบบตามที่
ผบ.ทสส. อนุมัติ
• ส่วนราชการนอก กห. ก็ใช้
หัวข้อตาม
แนวทางนีเ้ ช่นเดียวกัน
คำแนะนำบางประการ
คำแนะนำบางประการ
•• จะใช้
จะใช้เเลขข้
ลขข้ออ หรื
หรืออหั
หัววข้
ข้ออ ขึ
ขึน้น
้ อยู
อยู่ก่กับ
ับ
1.
1. ต้ต้อองการให้
งการให้เเรืรื่ อ
่ องนั
งนัน
้น
้ มี
มีนำ นำหนั
หนักกเพี
เพียยงใด
งใด
2.
2. ผบ.หน่
ผบ.หน่ววยย รูรู้เ้เรืรื่ อ่ องเดิ
งเดิม มเพี เพียยงใด
งใด
3.
3. มี
มีข ข้อ้อมู
มูลลหรื
หรืออข้
ข้ออคิคิดดที ที่จ่จะเขี
ะเขียยนได้
นได้คครบถู
รบถูกกหั
หัววข้
ข้ออ
หรื
หรืออไม่ ไม่
• บางครัง้ ต้องเปลี่ยนแผนการเขียน
ตาม ข้อมูล หรือเนื้อหาที่มี
• การเขียนข้อพิจารณาของฝ่ าย
อำนวยการ เหมือนกับการสร้าง
งานศิลปะ ต้องขึน ้ รูปหลักก่อน
แล้วจึงตกแต่งรายละเอียด
• การเขียนข้อพิจารณาเกี่ยวกับการขอ
อนุมัติหลักการ ควรระวังอย่าจำกัด
ตัวเองด้วยการใช้คำว่า “ประจำปี …..
” หรือ “ประจำปี งบประมาณ…..”
• เรื่องขออนุมัติหลักการที่ต้องการให้มี
น้ำหนัก ควรประสานขอให้
ผบ.หน่วย เป็ น ผู้อนุมัติเอง
• การตัง้ ชื่อเรื่อง อาจใช้ตามเรื่อง
เดิม
หรือตัง้ ใหม่ก็ได้
• ดูที่ความต้องการ หรือที่ข้อเสนอ
• ชื่อเรื่องไม่ควรยาวเกิน 1 บรรทัด
• การอ้างถึง ควรอ้างถึงเฉพาะเรื่อง
ที่เป็ น
คำสั่ง ระเบียบ หรือข้อบังคับ
• ไม่ควรอ้างถึงหนังสือ….ในหนังสือ
เรียน
ผู้บังคับบัญชา
• ควรกำหนดเป็ นสิ่งที่ส่งมาด้วย
• การเขียนข้อ 1 ควรใช้ถ้อยคำหรือ
ข้อความ
ของเรื่องที่ทำบันทึกฯ ปะหน้านัน้
• บางครัง้ อาจต้องเรียบเรียงใหม่
• ควรกล่าวถึงสิ่งที่ส่งมาด้วย
1,2,3,4
ให้ครบ และเรียงตามลำดับ
• ไม่ควรใช้คำซ้ำหรือคำฟุ ่มเฟื อย เช่น
หากเห็นเป็ นการสมควร
หน่วยได้ทำการแต่งตัง้ คณะ
กรรมการขึน ้
หน่วยได้พิจารณาแล้วเห็นว่า
ขออนุมัติในหลักการ
•• การเขี
การเขียยนข้ นข้ออพิพิจจารณาเป็
ารณาเป็นข้ นข้ออที
ที่ย่ยากที
ากที่ส่สุด
ุด
•• วิวิธธีงีง่า่ายย ๆ ๆ คืคืออ เขี
เขียยนข้ นข้ออเสนอก่
เสนอก่ออน น
•• เมื
เมื่ อ่ อมีมีกการเขี
ารเขียยน น 2.ข้2.ข้ออเท็
เท็จจจริ
จริงง จะต้
จะต้อองง
เขี
เขียยน น
3.ข้
3.ข้ออพิ พิจจารณา
ารณา และ และ 4.ข้4.ข้ออเสนอ
เสนอ เสมอ เสมอ
•• ระวั
ระวังงอย่ อย่าาลืลืม
มเปลี
เปลี่ย่ยนรู
นรูป
ปแบบหั
แบบหัววข้ ข้ออให้
ให้
สัสัมมพั พัน นธ์ธ์กกัน
ัน เมื
เมื่ อ
่ อมี
มีกการเปลี
ารเปลี่ย่ยนแปลง
นแปลง
แผนการเขี
แผนการเขียยน น
• ไม่ควรพยายามเขียนให้ครบทุกหัวข้อ
ถ้าไม่มีเนื้อหาที่จะเขียน
• การเขียนข้อเสนอ จะต้องใช้ “ข้อ
เสนอ”
เสมอ ตัวเลขข้ออาจเป็ น 2,3,4 ก็ได้
• ถ้าเป็ นเรื่องที่ต้องการให้ ผบ.หน่วย
ลงนาม ไม่ควรเขียนในข้อเสนอ ควร
เขียนในคำลงท้าย
• การคิดรายละเอียดของข้อเสนอ
- ตัวตัง้ คือ ใคร ทำอะไร เมื่อไร ที่ไหน
อย่างไร
- การจัดกำลังพล ควรเฉลี่ยหน่วย
- การแจกจ่ายเอกสาร ควรเสนอให้
แจกจ่ายหน่วยที่มีหน้าที่เกี่ยวข้อง
- การแจกจ่ายสิ่งของ ควรเฉลี่ยตาม
ยอด
กำลังพล
• ใช้คำย่อที่มีหลักฐานอ้างอิงกำหนดไว้
สรุ
สรุปป
• การเขียนข้อพิจารณาของ ฝอ. ได้ดี
เพียงใดขึน
้ อยู่กับ
1.
1. อุอุป
ปนิ
นิสสัยัย
2.
2. ประสบการณ์
ประสบการณ์
3.
3. เวลา
เวลา
4.
4. ปริ
ปริม มาณงาน
าณงาน
5.
5. ความสำคั
ความสำคัญ ญและความเร่
และความเร่งงด่
ด่ววนของ
นของ
เรื
เรื่ อ
่ องง
6.
6. นโยบายของ
นโยบายของ ผบ.หน่ ผบ.หน่ววยย
• การเขียนข้อพิจารณาของ ฝอ. ไม่
น่าจะมี ถูกหรือผิด
• ฝอ. ควรตัง้ ใจไว้เสมอว่า ในฐานะ
ฝ่ ายอำนวยการ น่าจะต้องมี ข้อคิด
เห็น ข้อพิจารณา ข้อเสนอ
แนะ ทุกเรื่อง
จบแล้วครับ กลับบ้านได้

You might also like