Test

You might also like

Download as ppt, pdf, or txt
Download as ppt, pdf, or txt
You are on page 1of 29

บทที่ 2 การว ัดผลิตภ ัณฑ์มวลรวมในประเทศ

และรายได้ประชาชาติ
2.1 เครื่องชี้วดั เศรษฐกิจมหภาคของไทย
  2556 2557 2558 p
1. จำนวนประชากร (ล้ านคน) 64.79 65.12 65.73
2. ผลิตภัณฑ์ ในประเทศ (อนุกรมใหม่ )
2.1 ผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศ แบบปริมาณลูกโซ่ (พันล้ านบาท) 9,146.1 9,229.8 9,501.2
(% การเปลี่ยนแปลง) 0.8 2.2 2.9
2.1.1 ภาคเกษตรกรรม (พันล้ านบาท) 660.4 656.8 619.5
2.1.2 นอกภาคเกษตรกรรม (พันล้ านบาท) 8,516.5 8,610.3 8,946.6
2.2 ผลิตภัณฑ์รวม ณ ราคาปั จจุบนั (พันล้ านบาท) 12,921.2 13,203.7 13,672.9
2.3 ผลิตภัณฑ์ประชาชาติ (บาทต่อคน) 181,195.0 186,812.0 192,812.0
3. อัตราเงินเฟ้อ
3.1 ดัชนีราคาผู้บริ โภคทัว่ ไป (2558=100) 99.03 100.91 100.00
(% การเปลี่ยนแปลง) 2.20 1.90 -0.90
3.2 ดัชนีราคาผู้บริ โภคพื ้นฐาน (2558=100) 97.42 98.96 100.00
(% การเปลี่ยนแปลง) 1.00 1.60 1.10
4. ภาคต่ างประเทศ
4.1 สินค้ าออก (ตามนิยามดุลการชำระเงิน) (พันล้ านดอลลาร์ สรอ.) 225.4 226.7 214.1
4.2 สินค้ าเข้ า (ตามนิยามดุลการชำระเงิน) (พันล้ านดอลลาร์ สรอ.) 218.7 209.4 187.2
4.3 ดุลการค้ า (พันล้ านดอลลาร์ สรอ.) 6.7 17.3 26.8
4.4 ดุลบัญชีเดินสะพัด (พันล้ านดอลลาร์ สรอ.) -5.2 15.1 32.1
4.5 เงินทุนเคลื่อนย้ ายสุทธิ (พันล้ านดอลลาร์ สรอ.) -2.5 -16.0 -17.1
4.6 ดุลการชำระเงิน (พันล้ านดอลลาร์ สรอ.) -5.0 -1.2 5.9
2.1 เครื่องชี้วดั เศรษฐกิจมหภาคของไทย
  2556 2557 2558 p
4. ภาคต่ างประเทศ
4.1 สินค้ าออก (ตามนิยามดุลการชำระเงิน) (พันล้ าน
ดอลลาร์ สรอ.) 225.4 226.7 214.1
4.2 สินค้ าเข้ า (ตามนิยามดุลการชำระเงิน) (พันล้ าน
ดอลลาร์ สรอ.) 218.7 209.4 187.2
4.3 ดุลการค้ า (พันล้ านดอลลาร์ สรอ.) 6.7 17.3 26.8
4.4 ดุลบัญชีเดินสะพัด (พันล้ านดอลลาร์ สรอ.) -5.2 15.1 32.1
4.5 เงินทุนเคลื่อนย้ ายสุทธิ (พันล้ านดอลลาร์ สรอ.) -2.5 -16.0 -17.1
4.6 ดุลการชำระเงิน (พันล้ านดอลลาร์ สรอ.) -5.0 -1.2 5.9
5. การคลัง (ตามปี งบประมาณ)
5.1 ดุลเงินสด (พันล้ านบาท) -208.9 -327.3 -344.2
5.2 ยอดหนี ้คงค้ างภาครัฐ (พันล้ านบาท) 5,430.6 5,690.8 5,783.3
6. การเงิน
6.1 ปริ มาณเงินความหมายแคบ (พันล้ านบาท) 1,661.3 1,682.5 1,778.1
16,809. 17,551.
6.2 ปริ มาณเงินความหมายกว้ าง (พันล้ านบาท) 16,062.2 1 7
7. อัตราแลกเปลี่ยน
(อัตราอ้ างอิง) เฉลี่ย (บาท : 1 ดอลลาร์ สรอ.) 30.73 32.48 34.25
2.2 กระแสการไหลเวียนการดำเนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจปัจจุบัน
£µ‡˜nµŠž¦ ³ Áš « ¦ µ¥Å—
‹oµ„µ¦ µ¥ ´‹
„…ž ‹¥́

¦ µ¥Å—
„oµ¦ ­ n°
Š° „ P ˜ ¨ µ—
Ÿ¨ Ÿ˜
¨·
S
P
Ÿ¨ Ÿ¨ ·˜¤ ª ¨ ¦ ª ¤ D
Q ¦ µ¥‹nµ¥…Š‡
° ¦ ª́ Á¦º° œ
Q
¦ µ¥‹nµ¥ŽÊº° ­ ·œ‡oµ
£ µ‡¦ ´“µ¨
£ µ¬¸› »¦ „‹
· £ µ¬¸‹µ„‡¦ ª́ Á¦º° œ
Á·
Šœ„¥¼o¤º
£ µ‡› »¦ „·‹ ˜ ¨ µ—„µ¦ Á·Šœ £ µ‡‡¦ ª́ Á¦º° œ
° ˜´ ¦ µ—° „ÁȨ̂¥ S
i
Á·
Šœ¨ Ššœ
» Á·
Šœ° ° ¤
D
M ž¦ ·¤ µ–Š
Á·œ
˜ ¨ µ—
ž ´‹‹¥́
¦ µ¥‹nµ¥ž ´‹‹¥́„µ¦ Ÿ˜
¨· ¦ µ‡
µž´‹
‹¥́ ¦ µ¥Å—
žo¦ ³ 
µµ˜·
S
P
‡nµÁ
nµ ‡nµ‹oµŠ—
° „ÁȨ̂¥ D
Q ž¦ ·¤ µ–
2.3 ความหมายของผลิตภัณฑ์ มวลรวมในประเทศ
ผลิตภัณฑ์ มวลรวมในประเทศ (gross domestic product : GDP) หมายถึง
มูลค่าทางตลาดของสิ นค้าและบริ การขั้นสุ ดท้ายที่ผลิตขึ้นได้ท้ งั หมดภายใน
อาณาเขตของประเทศ ในระยะเวลาที่กำหนด โดยปกติ คือ 1 ปี


ี ่ ดิน
แรงงาน สินค้ าและ
ผู้ประกอบการ
บริการ
GDP
ทุน

มูลค่าของสินค้าและบริการ
ขั้นสุดท้ายใน
อาณาเขตประเทศ
2.4 วิธีการวัดมูลค่ าของสินค้ าและบริการที่นับรวมใน GDP
1. การคำนวณมูลค่าตลาดของสินค้ าและบริ การที่มีการผลิตและซื ้อขายในตลาด
2. การนำมูลค่าของสินค้ าและบริ การทังหมดที
้ ่มีการซื ้อขายอยูใ่ นตลาด ไม่รวมสินค้ า
ผิดกฎหมาย
3. หามูลค่าของสินค้ าและบริ การขันสุ
้ ดท้ ายมานับรวมกัน โดยวิธีมลู ค่าเพิ่ม (value
added)
4. มูลค่าของสินค้ าและบริ การที่มีตวั ตน และสินค้ าที่ไม่มีตวั ตน เช่น การรักษาความ
ปลอดภัย รักษาพยาบาล
5. มูลค่าของสินค้ าและบริ การขันสุ
้ ดท้ ายที่ผลิตขึ ้นในปี ปั จจุบนั เท่านัน้
6. มูลค่าของสินค้ าที่ผลิตได้ ทงหมดในอาณาเขตประเทศ
ั้
มูลค่าของสน ิ ค้าทีน
่ ับรวมและมิได้น ับรวมอยู่
ใน GDP ปี ปัจจุบ ัน
สิ นค้ าทีน่ ับรวม สิ นค้ าทีม่ ไิ ด้ นับรวม

สิ นค้าที่ทำการผลิตและซื้ อขาย สิ นค้าผิดกฎหมาย


ในตลาด ประเมิน ณ.ราคาปัจจุบนั
วิธีมูลค่าเพิ่ม สิ นค้าที่อยูร่ ะหว่างการผลิต
การลงทุนในสิ นค้าทุนของธุรกิจ การลงทุนทางการเงิน
มูลค่าของสิ นค้าในรอบ 1 ปี สิ นค้าเปลี่ยนมือ เช่น สิ นค้า
มือสอง
2.5 ความแตกต่างระหว่างผลิตภ ัณฑ์มวลรวม
ในประเทศ และผลิตภ ัณฑ์มวลรวมประชาชาติ
ผลิตภ ัณฑ์มวลรวมในประเทศ (GDP) คือ มูลค่าของ
ิ ค ้าและบริการขัน
สน ้ สุดท ้ายทีผ
่ ลิตได ้ทัง้ หมดในอาณาเขต
ประเทศ
ผลิตภ ัณฑ์มวลรวมประชาชาติ (gross national product) คือ
มูลค่าของสนิ ค ้าและบริการขัน ่ ลิตโดยใช ้
้ สุดท ้ายทีผ
ทรัพยากรของประเทศนัน ้
ความแตกต่างระหว่าง GDP และ GNP คือ รายได ้สุทธิ
จากปั จจัยการผลิตทีม ่ ก
ี ารเคลือ
่ นย ้ายได ้ระหว่างประเทศ
(net factor from abroad) ซงึ่ ได ้แก่ผลต่างระหว่างรายรับและราย
จ่ายจากปั จจัยแรงงาน เงินทุน และผู ้ประกอบการที่มีการเคลื่อน
ปั จจัยการผลิตในระบบเศรษฐกิจ
ที่ดิน+ทรัพยากรธรรมชาติ
ผู้ประกอบการ แรงงาน สินค้ า+บริการ
ทุน
โดยปั จจัยการผลิตที่มีการเคลื่อนย้ ายได้ เช่น แรงงาน เงินทุน และผู้ประกอบการ
GNP = GDP + รายได้ สทุ ธิจากต่างประเทศ
ข้ อมูล GDP, GNP ของไทย หน่ วย : ล้านบาท

ปี 2556 2557 2558 p


ผลิตภัณฑ์ มวลรวมในประเทศ (GDP) 12,921,155 13,203,737 13,627,851
บวก รายได้ สทุ ธิจากปั จจัยการผลิตต่างประเทศ -825,488 -686,783 -708,974
ผลิตภัณฑ์ มวลรวมประชาชาติ (GNP) 12,095,667 12,516,954 12,963,877
2.6 วิธีการคำนวณผลิตภัณฑ์ มวลรวมในประเทศ
2.6.1. วิธีการคำนวณทางด้ านรายจ่ าย
(1) รายจ่ ายในการบริโภคสินค้ าและบริการของภาคเอกชน (personal
consumption expenditure : C) ประกอบด้ วยสินค้ าที่คงคน สินค้ าที่ไม่คงทน และราย
จ่ายภาคบริ การ
(2) รายจ่ ายในการลงทุนของภาคธุรกิจ (investment : I) ประกอบด้ วย การลงทุน
ในเครื่ องจักร เครื่ องมือและอุปกรณ์ การก่อสร้ าง และสินค้ าคงเหลือ
(3) รายจ่ ายในการซือ้ สินค้ าและบริการของภาครั ฐบาล (government
expenditure : G)
(4) การจ่ ายการส่ งออกสุทธิ (net export : X-M) ประกอบด้ วยมูลค่าการส่งออก
(export : X ) หักด้ วยมูลค่าการนำเข้ า (import : M)
GDP = C + I + G + (X - M)
2.6 วิธีการคำนวณผลิตภัณฑ์ มวลรวมในประเทศ
2.6.1. วิธีการคำนวณทางด้ านรายจ่ าย
(1) รายจ่ ายในการบริโภคสินค้ าและบริการของภาคเอกชน (personal
consumption expenditure : C) ประกอบด้ วยสินค้ าที่คงคน สินค้ าที่ไม่คงทน และราย
จ่ายภาคบริ การ
(2) รายจ่ ายในการลงทุนของภาคธุรกิจ (investment : I) ประกอบด้ วย การลงทุน
ในเครื่ องจักร เครื่ องมือและอุปกรณ์ การก่อสร้ าง และสินค้ าคงเหลือ
(3) รายจ่ ายในการซือ้ สินค้ าและบริการของภาครั ฐบาล (government
expenditure : G)
(4) การจ่ ายการส่ งออกสุทธิ (net export : X-M) ประกอบด้ วยมูลค่าการส่งออก
(export : X ) หักด้ วยมูลค่าการนำเข้ า (import : M)
GDP = C + I + G + (X - M)
ตัวอย่างการคำนวณ GDP วิธท
ี าง
ด ้านรายจ่าย
ปี 2556 2557 2558p
รายจ่ายเพื่อการบริโภคภาคเอกชน 6,746,876 6,941,585 7,024,885
รายจ่ายเพื่อการบริโภคภาครัฐบาล 2,118,916 2,242,933 2,366,136
การสะสมทุนถาวรเบื ้องต้ น 3,278,326 3,260,971 3,373,323
การเปลี่ยนแปลงสต็อกสินค้ า 267,804 -98,217 -331,428
บวก : มูลค่าการส่งออกสินค้ าและบริการ 8,797,512 9,167,178 9,446,147
หัก : มูลค่าการนำเข้ าสินค้ าและบริการ 8,432,173 8,270,435 7,861,679
รายจ่ ายในผลิตภัณฑ์ มวลรวมเบือ้ งต้ น 12,777,261 13,244,015 14,017,384
บวก : ค่าความคลาดเคลื่อนทางสถิติ 143,894 -40,278 -344,533
ผลิตภัณฑ์ มวลรวมในประเทศ (GDP) 12,921,155 13,203,737 13,672,851
2.6 วิธีการคำนวณผลิตภัณฑ์ มวลรวมในประเทศ (GDP)
2.6.2 วิธีการคำนวณทางด้ านรายได้
(1) ส่ วนของรายได้ ประชาชาติ (national income : NI) คือ ผลตอบแทนแก่ปัจจัยการ
ผลิตในระบบเศรษฐกิจ
(ก) เงินชดเชยการจ้ างงาน (compensation of employees: COM) คือ ค่า
ตอบแทนแรงงานของลูกจ้างในรู ปค่าจ้าง เงินเดือน อื่นๆ
(ข) ค่ าเช่ าทีด่ นิ หรื อค่าสัมปทานทรัพยากรธรรมชาติ (rent: R)
(ค) ดอกเบีย้ (interest: IN) คือ ผลตอบแทนของเงินทุน
(ง) กำไรของธุรกิจ (corporate profit: CP) ในรู ปนิติบุคคล เป็ นส่ วนของกำไร
ก่อนหักภาษี ประกอบด้วย ภาษีรายได้บริ ษทั กำไรมิได้จดั สรร และเงินปันผล
(จ) รายได้ ทมี่ ใิ ช่ บริษทั จำกัด (income of unincorporated enterprises:
IUE) ได้แก่ รายได้จากการดำเนินธุรกิจส่ วนตัว และรายได้องค์กรการกุศล
การนำผลตอบแทนในรู ปเงินชดเชยการจ้างงาน ค่าเช่า ดอกเบี้ย กำไร
ของธุรกิจและรายได้ที่มิใช่บริ ษทั จำกัดมานับรวมกัน เรี ยกว่า รายได้ประชาชาติ
NI = COM + R + IN + CP + IUE
(2) ส่ วนทีไ่ ม่ เป็ นรายได้ แต่ รวมอยู่ในราคาสิ นค้ าทีม่ กี ารซื้อขาย ณ. ราคาตลาด
(ก) ภาษีทางอ้ อมของธุรกิจสุ ทธิ (net indirect business taxes: Tn) คือ
ภาษีที่รวมอยูใ่ นราคาสิ นค้า หักด้วยเงินอุดหนุน
(ข) ค่ าเสื่ อมราคา (depreciation: DEP) คือ ค่าใช้จ่ายที่เกิดขึ้นในการ
ลงทุนทำการผลิตสิ นค้าและบริ การของผูผ้ ลิตในแต่ละปี
การคำนวณ GDP วิธที างด้าน
รายได้
ปี 2556 2557 2558 p
ค่าตอบแทนแรงงาน 4,037,743 4,278,891 4,511,999
รายได้ จากทรัพย์สนิ และการประกอบการ 4,633,522 4,750,751 4,759,796
รายได้ จากทรัพย์สนิ (สุทธิ) 547,122 569,423 601,952
ครัวเรื อนและสถาบันไม่แสวงกำไร 523,848 547,794 568,733
รัฐบาล 23,274 21,629 33,219
รายได้ จากการประกอบการ 4,088,401 4,181,327 4,157,844
ครัวเรื อนและสถาบันไม่แสวงหากำไร 2,786,526 2,797,412 2,715,849
นิติบคุ คล 1,299,875 1,383,915 1,441,995
รายได้ ประชาชาติ (NI) 8,671,265 9,029,642 9,271,795
บวก ภาษีทางอ้ อมสุทธิหกั เงินอุดหนุน 1,339,877 1,273,116 1,409,411
บวก ค่าเสื่อมราคา 2,084,525 2,214,196 2,282,671
ผลิตภัณฑ์ มวลรวมประชาชาติ (GNP)
12,095,667 12,516,954 12,963,877
ลบ รายได้ สทุ ธิจากต่างประเทศ -825,488 -686,783 -708,974
ผลิตภัณฑ์ มวลรวมภายในประเทศ (GDP) 12,921,155 13,203,737 13,672,851
การเปรียบเทียบคำนวณ GDP วิธรี าย
จ่ายและวิธรี ายได้
2.6 วิธีการคำนวณ GDP
2.6.3 คำนวณรายได้ ประชาชาติด้านผลผลิต แบ่งเป็ น 2 วิธี คือ
1. คำนวณจากมูลค่าสินค้ าและบริ การขันสุ
้ ดท้ าย(final goods and services method)
2. วิธีการคำนวณ GDP แบบวิธีมลู ค่าเพิ่ม (value added method)
โดยการรวบรวมมูลค่าสินค้ าและบริ การในแต่ละขันตอนการผลิ
้ ตมานับรวมกัน เริ่ ม
จากวัตถุดิบ สินค้ าขันกลาง
้ และสินค้ าขันสุ
้ ดท้ าย
ตัวอย่างวิธีการคำนวณมูลค่าเพิ่มของไก่สด-ซื ้อขาย
กระบวนการผลิต มูลค่ าของสินค้ า (บาท) มูลค่ าเพิ่ม (บาท)
เพาะพันธุ์และเลี ้ยงไก่พนั ธุ์เนื ้อ 40 40 (40-0)
โรงงานเชือด 45 5 (45-40)
ราคาขายไก่โดยพ่อค้ าคนกลาง 50 5 (50-45)
ราคาขายปลีกที่ผ้ บู ริโภคซื ้อ 60 10 (60-50)
มูลค่ า 195 60
ปี 2556 2557 2558 p
ภาคการเกษตร 1,462,422 1,329,796 1,192,293
นอกภาคการเกษตร 11,458,733 11,873,941 12,480,558
เหมืองแร่ และย่อยหิน 496,616 495,671 430,366
อุตสาหกรรม 3,565,264 3,650,863 3,753,419
ไฟฟ้า ก๊ าซ และประปา 361,676 383,571 399,218
การก่อสร้ าง
การค้ าส่งและค้ าปลีก การซ่อมแซมยานยนต์ จักยานยนต์ ของใช้ 344,236 337,238 380,134
ส่วนบุคคลและของใช้ ในครัวเรื อน 1,731,125 1,797,090 1,936,941
โรงแรม และภัตตาคาร 473,250 497,758 598,141
การขนส่ง การเก็บรักษาสินค้ า 693,869 720,830 779,913
ข้ อมูลและการสื่อสาร 291,008 302,529 328,408
สถาบันการเงิน 871,377 961,260 1,043,841
อสังหาริ มทรัพย์ การเช่า และกิจกรรมทางธุรกิจ 820,508 824,038 831,488
การบริ หารราชการแผ่นดิน 765,965 802,183 839,209
การศึกษา
528,291 558,280 587,217
งานด้ านสุขภาพ และงานสังคมสงเคราะห์ 250,865 247,244 255,975
กิจกรรมด้ านการบริ การชุมชน สังคมและบริการ 240,784 208,651 226,058
ลูกจ้ างในครัวเรื อนส่วนบุคคล 23,297 24,774 27,809
ผลิตภัณฑ์ มวลรวมในประเทศ (GDP)
12,921,155 13,203,737 13,672,851
รวม รายได้ สทุ ธิจากต่างประเทศ -825,488 -686,783 -708,974
2.7 ความสั มพันธ์ ระหว่ าง GDP และตัวแปร อืน่ ๆ ทีเ่ กีย่ วข้ อง
2.7.1. ผลิตภัณฑ์ มวลรวมในประเทศสุ ทธิ (net domestic product : NDP) คือ มูลค่า
ตลาดของสิ นค้าและบริ การที่มีการหักค่าใช้จ่ายในรู ปค่าเสื่ อมราคาออก
NDP = GDP - DEP
2.7.2 ผลิตภัณฑ์ มวลรวมประชาชาติสุทธิ (net national product : NNP) คือ มูลค่า
ตลาดของสิ นค้าและบริ การที่มีการหักค่าใช้จ่ายในรู ปค่าเสื่ อมราคาออก
NNP = GNP - DEP
2.7.3 รายได้ ประชาชาติ (national income) คือ รายได้ประชาชาติ ณ ราคาของปัจจัย
การผลิต
NI = COM + R + IN + CP + IUE หรือ NI = NNP - Tn
2.7 ความสั มพันธ์ ระหว่ าง GDP และตัวแปรอืน่ ๆ ทีเ่ กีย่ วข้ อง
2.7.3 รายได้ ส่วนบุคคล (personal income :PI) คือ รายได้ที่ตกถึงมือประชาชนใน
ระบบเศรษฐกิจ โดย NI ในรู ปของเงินปันผล (Dividend : DI) จะตกถึงมือบุคคล ส่ วน
เงินประกันสังคม (Social Security Contribution : SSC)ภาษีกำไรบริ ษทั (Corporate
Income Taxes : CIT) และกำไรมิได้จดั สรร (Undistributed Corporate Profit : UCP)
มิได้ตกถึงมือบุคคล จึงมีการหักออกจาก NI
PI ยังมีรายได้ในรู ปเงินโอนจากรัฐบาล (government transfer payment : GTP)
เช่น เงินประกันการว่างงาน เงินสวัสดิการ
PI = NI - SSC - CIT- UCP+ DI + GTP
2.7.4 รายได้ ในมือบุคคล (Disposal personal income: DPI/DI) คือรายได้ส่วนบุคคล
หลังจากหักภาษีส่วนบุคคล (personal taxes : PT) ออกไปแล้ว
DPI/DI = PI – PT
สรุปความสมพ ั ันธ์ GDP และ
ต ัวแปรอืน
่ ๆ

¦ µ¥Å—
­o »š › ·‹µ„˜nµŠž¦ ³ Áš«
„µ¦ ­ nŠ° ° „­ »š › ·
¦ µ¥‹nµ¥…° Š nµÁ­ ºÉ°¤ ¦ µ‡
‡ µ
£µ‡¦ ´“ µ¨ £µ¬¸š µŠ° °o ¤­ »š› ·
®´„ ÁŠ·œž¦ ³ „´œ­ ´Š‡
¤ £µ¬¸¦ µ¥Å—
o ¦ ·¬ š´

„µ¦ ¨ Ššœ…Š
» ° „εŦ ¤·Å—o—
‹ ´­ ¦ ¦
£µ‡ › »¦ „·‹
ª ÁŠ
„ ·œÃ° œ¦ ´“µ¨ ¨ ³ ÁŠ
·œž´œŸ¨
®´„£µ¬¸­ nª œ»‡
‡¨ ¨ ³
—° „ÁȨ̂¥‹nµ¥
„µ¦  ¦ ·Ã£ ‡…Š ° GNP = GDP + NNP GNP - NI NNP -
£µ‡ ‡¦ ª́ Á¦º° œ ¦ µ¥Å—š›
­o » ·‹µ„
nµÁ­ ºÉ° ¤¦ µ‡
‡ µ £µ¬¸š µŠ
˜nµŠž¦ ³ Áš«
° °o ¤­ »š› ·

GDP GNP NNP NI PI DI


ั ันธ์ระหว่ าง GDP
ความสมพ
และ NI
การคำนวณ GDP วิธีรายจ่ าย การคำนวณ GDP วิธีรายได้
(วิธีท่ ี 1) (วิธีท่ ี 2)

GDP = รายจ่ายการบริ โภคครัวเรื อน + การลงทุน NI = เงินชดเชยแก่การจ้ างงาน + ค่าเช่า +


+ รายจ่ายรัฐบาล + การส่งออกสุทธิ ดอกเบี ้ย + กำไร + รายได้ ที่มิใช่บริ ษัทจำกัด
GNP = GDP + รายได้ สทุ ธิจากต่างประเทศ NNP = NI + ภาษีทางอ้ อมธุรกิจ
NNP = GNP – ค่าเสื่อมราคา GNP = NNP + ค่าเสื่อมราคา
NI = NNP – ภาษีทางอ้ อมธุรกิจ GDP = GNP - รายได้ สทุ ธิจากต่างประเทศ
ความสั มพันธ์ GDP และ NI ของไทย ปี 2558
การคำนวณ GDP วิธีรายจ่ าย การคำนวณ GDP วิธีรายได้
รายการ จำนวนเงิน รายการ จำนวนเงิน
(ล้ านบาท) (ล้ านบาท)
รายจ่ายในการบริ โภคของครัวเรื อน 7,024,885 ค่าตอบแทนแรงงานของลูกจ้ าง 4,511,999
รายได้ จากทรัพย์สินและการ
บวก รายจ่ายในการลงทุนของธุรกิจ 3,041,895 ประกอบ- 4,759,796
บวก รายจ่ายของภาครัฐบาล 2,366,136 การของครัวเรื อนและสถาบันไม่-
บวก การส่งออกสุทธิ 1,239,935 แสวงหากำไร รัฐบาล/นิติบคุ คล
ผลิตภัณฑ์ มวลรวมในประเทศ 13,672,851 รายได้ ประชาชาติ 9,271,795
บวก รายได้ สทุ ธิจากต่างประเทศ -708,974 บวก ภาษี ทางอ้ อมธุรกิจสุทธิ 1,409,411
ผลิตภัณฑ์ มวลรวมประชาชาติ
ผลิตภัณฑ์ มวลรวมประชาชาติ 12,963,877 สุทธิ 10,681,206
หัก ค่าเสื่อมราคา 2,282,671 บวก ค่าเสื่อมราคา 2,282,671
ผลิตภัณฑ์ มวลรวมประชาชาติ
สุทธิ 10,681,206 ผลิตภัณฑ์ มวลรวมประชาชาติ 12,963,877
หัก ภาษี ทางอ้ อมธุรกิจสุทธิ 1,409,411 หัก รายได้ สทุ ธิจากต่างประเทศ -708,974
รายได้ ประชาชาติ 9,271,795 ผลิตภัณฑ์ มวลรวมในประเทศ 13,672,851
2.7.5 รายได้ เฉลีย่ ต่ อบุคคล คือ การนำมูลค่าของผลิตภัณฑ์รวมหาร
ด้วยจำนวนประชากร แทนด้วย Per Capita Income
ปี 2554 2555 2556 p
ผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศ (GDP) (ล้ านบาท) 12,921,155 13,203,737 13,672,851
ผลิตภัณฑ์มวลรวมประชาชาติ (GNP) (ล้ านบาท) 12,095,667 12,516,954 12,963,877
รายได้ ประชาชาติ (NI) (ล้ านบาท)
8,671,265 9,029,642 9,271,795
Per Capita GDP (บาท) 193,561 197,062 203,356
Per Capita GNP (บาท) 181,195 186,812 192,812
Per Capita NI (บาท) 129,897 134,765 137,899
จำนวนประชากร (พันคน) 66,755 67,003 67,236
2.8 GDPทีเ่ ป็ นตัวเงิน และ GDPทีแ่ ท้ จริง
2.8.1 GDP ทีเ่ ป็ นตัวเงิน (money GDP/ current GDP
คือ ผลิตภัณฑ์มวลรวมที่ประเมินตามราคาปัจจุบนั หาได้จากผลรวมของราคา
คูณกับปริ มาณสิ นค้า
2.8.2 GDP ทีแ่ ท้ จริง (real GDP)
คือ การวัดการเปลี่ยนแปลงในมูลค่าของผลิตภัณฑ์มวลรวมในช่วงเวลาที่ต่างกัน
หรื อประเมิน ณ. ราคาคงที่
ผลิตภัณฑ์มวลรวม = ผลิตภัณฑ์มวลรวมที่เป็ นตัวเงิน x 100
ที่แท้จริ ง ดัชนีราคาผลิตภัณฑ์มวลรวม
ดัชนีราคาผลิตภัณฑ์ มวลรวม (GDP deflator) คือ ดัชนีที่ใช้วดั การเปลี่ยนแปลงของ
ราคาสิ นค้าและบริ การโดยทัว่ ไปในระบบเศรษฐกิจ ให้ปีฐานเท่ากับ 100
วิธีการคำนวณ Real GDP
ปี
ของไทย
มูลค่า GDP ปั จจุบนั ดัชนีราคาผลิตภัณฑ์มวลรวม มูลค่า GDP ที่แท้ จริง
(พันล้ านบาท) ภายในประเทศ (พันล้ านบาท)
( ปี 2533 = 100)
2555 11,306.9 127.00 8,902.8
2556 12,921.2 141.27 9,146.1
2557 1,3,203.7 143.06 9,229.8
2558 13,672.9 143.91 9,501.2
2.8.3 อัตราการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ
อัตราการเจริ ญเติบโตทางเศรษฐกิจ (economic growth) คือ อัตราการ
ขยายตัวของปริ มาณสิ นค้าและบริ การที่แท้จริ งในระบบเศรษฐกิจ
อัตราการเจริ ญ = Real GDP ปี ปัจจุบนั - Real GDPปี ที่ผา่ นมา x100
เติบโตทางเศรษฐกิจ Real GDPปี ที่ผา่ นมา
2.8.3 อัตราการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ และอัตราเงินเฟ้อ

ปี มูลค่ า GDP ปั จจุบัน ดัชนีราคาผลิตภัณฑ์ มวลรวม มูลค่ า GDP ที่แท้ จริง


(พันล้ านบาท) ภายในประเทศ (พันล้ านบาท)
( ปี 2533 = 100)
2557 13,203.7 143.06 9,229.8
2558 13,672.9 143.91 9,501.2

ร้ อยละการ 13,672.9-13203.7 x 100 143.91-143.06 x 100 9,501.2-9,229.8 x 100

เปลี่ยนแปลง 13,203.7 143.06 9,229.8


% (+, - ) 3.55 0.59 2.94
2.9 ข้ อพึงระวังในการประเมิน GDP
1. มูลค่าของ GDP ไม่นบั รวมมูลค่าของกิจกรรมนอกกฎหมาย หรื อเศรษฐกิจ
ใต้ ดิน
2. มูลค่าของ GDP ไม่สามารถบันทึกกิจกรรมทางเศรษฐกิจที่มีการหลีกเลี่ยงการ
เสียภาษี ได้
3. มูลค่าของ GDP ไม่นบั รวมกิจกรรมที่มีการกระทำภายในครัวเรื อนได้
4. มูลค่าของ GDP แสดงถึงการวัดทังสิ
้ ง่ ที่ดีและสิง่ ที่เลวในระบบเศรษฐกิจ
5. มูลค่าของอัตราการเจริ ญเติบโตทางเศรษฐกิจสูงๆ ก่อให้ เกิดผลกระทบทางลบ
ในระบบเศรษฐกิจได้
6. GDP ไม่สามารถวัดมูลค่าการพักผ่อน หรื อสวัสดิการในสังคมได้

You might also like