Language 04.Ppsx

You might also like

Download as pptx, pdf, or txt
Download as pptx, pdf, or txt
You are on page 1of 38

เรื่ อง ระบบเสยี งในภาษาไทย

นางสาวภธิรดา สุไหลหมาน
ครู คศ.1

โรงเรี ยนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรี นคริ นทร์ภูเก็ต


ในพระชูปถัมภส
์ มเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี
เสียงสระ
ระบบ
เสียงใน เสียง
ภาษา พยัญชนะ
ไทย เสียง
วรรณยุ กต์

ประกอบรายวิชาภาษาไทย ท 31101
ระบบเสียงในภาษาไทย
ระบบเสียงสําคัญในภาษาไทยที่ได้ จากการวิเคราะห์
คุณสมบัติของเสียง มี ๓ ระบบ ได้ แก่
- ระบบเสียงพยัญชนะ หรื อเสียงแปร
- ระบบเสียงสระ หรื อเสียงแท้
- ระบบเสียงวรรณยุกต์ หรื อเสียงดนตรี

หน้าหลัก

ประกอบรายวิชาภาษาไทย ท 31101
เสียงสระ
มี ๒๑ เสียง

สระเดี่ยว/สระแท้ สระประสม สระเกิน


มี ๑๘ เสียง มี ๓ เสียง

หน้า
หลัก
ประกอบรายวิชาภาษาไทย ท 31101
เสียงสระ
เสียงสระ หรื อ เสียงแท้ มีลกั ษณะและหน้ าที่ ดังนี ้
๑. เป็ นเสียงที่ลมผ่านออกมาได้ โดยสะดวกไม่ถกู อวัยวะใน
ปากกักทางลม
๒. อวัยวะที่ชว่ ยให้ เสียงสระต่างกัน ได้ แก่ลิ ้น และริ มฝี ปาก
๓. เสียงสระออกเสียงได้ ยาวนาน
๔. เสียงสระมีทงเสี
ั ้ ยงสัน้ และเสียงยาว
๕. เสียงสระเป็ นเสียงที่ชว่ ยให้ พยัญชนะออกเสียงได้
หน้าหลัก

ประกอบรายวิชาภาษาไทย ท 31101
๑. เสียงสระแท้ หรือ สระเดี่ยว
สระแท้ หรื อ สระเดี่ยว มี ๑๘ เสียง ดังนี ้
สระเดี่ ยว หมายเหตุ
สระ สระยาว(ที ฆ ระดับลิ้ น สว
่ นของ
สั ้ น(รั สสระ) สระ) ลิ้ น
อะ อา ต ่ำ กลาง
อิ อี สูง ปลาย
อึ อื สูง กลางลิ้น
เอะ เอ กลางสูง ปลายลิ้น
ถัดไป

ประกอบรายวิชาภาษาไทย ท 31101
๑. เสียงสระแท้ หรือ สระเดี่ยว (ต่ อ)
สระเดี่ ยว หมายเหตุ
สระ สระยาว(ที ฆ สว
่ นของ
ระดับลิ้ น ลิ้ น
สั ้ น(รั สสระ) สระ)
แอะ แอ กลางต ่ำ ปลายลิ้น
โอะ โอ กลางสูง โคนลิ้น
เอาะ ออ กลางต ่ำ โคนลิ้น
เออะ เออ กลางสูง กลางลิ้น

ย้อนกลับ หน้าหลัก

ประกอบรายวิชาภาษาไทย ท 31101
๒. เสียงสระเลื่อน หรือ สระประสม
สระเลื่อน หรื อ สระประสม เกิดจากการเลื่อนของลิ ้น ในระดับสูง ลดลง
สูร่ ะดับต่ำ ดังนันจึ้ งเรี ยกอีกชื่อหนึง่ ว่า "สระเลื่อน" ในบางตำรา จะเพิ่มสระ
เลื่อนเสียงสัน้ มักเป็ นคำเลียนเสียงธรรมชาติ หรื อไม่ ก็เป็ นคำที่ยืมมาจาก
ภาษาอื่นมี ๓ คู่ ๖ เสียง
คูท่ ี่ ๑ สระเอียะ เกิดจาก สระอิ + สระอะ
สระเอีย เกิดจาก สระอี + สระอา
คูท่ ี่ ๒ สระเอือะ เกิดจาก สระอึ + สระอะ
สระเอือ เกิดจาก สระอื + สระอา
คูท่ ี่ ๓ สระอัวะ เกิดจาก สระอุ + สระอะ
สระอัว เกิดจาก สระอู + สระอา
ถั ดไป

ประกอบรายวิชาภาษาไทย ท 31101
๒. เสียงสระเลื่อน หรือ สระประสม
(ต่ อ)
หลักการจำสระเลื่อน หรือ สระประสม ให้ ใช้ หลักการจำ “สระประสม
มี ๓ คู่ ๖ เสียง
คู่ท่ ี ๑ คู่เมีย - สระเอียะ เกิดจาก สระอิ + สระอะ
- สระเอีย เกิดจาก สระอี + สระอา
คู่ท่ ี ๒ คู่เพื่อน - สระเอือะ เกิดจาก สระอึ + สระอะ
- สระเอือ เกิดจาก สระอื + สระอา
คู่ท่ ี ๓ คู่ผัว - อัวะ เกิดจาก สระอุ + สระอะ
- สระอัว เกิดจาก สระอู + สระอา
* สระประสม มี ๓ คู่ ๖ เสียง คือ คู่เมีย คู่ผัว และ คู่เพื่อน
ย้อน
ถัด
ประกอบรายวิชาภาษาไทย ท 31101
๒. เสียงสระเลื่อน หรือ สระประสม
(ต่ อ )
ปั จจุบนั นักภาษาศาสตร์ ถือว่าสระประสมมีเพียง ๓ หน่วย คือ
เอีย เอือ อัว เพราะ ไม่มีคเู่ ทียบเสียงระหว่างเสียงสันและเสี
้ ยงยาว แต่
แบ่งหน่วยเสียงย่อย คือ เสียงย่อยสัน้ และเสียงย่อยยาว เนื่องจาก -
สระเอียะ ที่ไม่มีตวั สะกด ที่พบในภาษาไทย มีเพียงคำว่า
เดียะ เพียะ เปี๊ ยะ (พิณ) เผียะ
- สระอัวะ ที่ไม่มีตวั สะกด ในคาว่า ผัวะ พัวะ
- สระเอือะ ที่ไม่มีตวั สะกด ไม่มีที่ใช้
ดังนัน้ สระประสมเสียงสัน้ ส่วนใหญ่ก็อาศัยรูป เอีย
เอือ อัว เช่น เรี ยก เสือก พวก ใช้ รูปสระเสียงยาว หน้าหลัก
ย้อน
ประกอบรายวิชาภาษาไทย ท 31101
๓. เสียงสระเกิน
สระเกิน คือ สระที่มีเสียงซ้ำกับเสียงสระแท้ และมีเสียงพยัญชนะ
ประสมอยูด่ ้ วย มี ๘ รูป คือ ฤ(รึ) ฤา(รื ) ฦ(ลึ) ฦๅ(ลื)
-ำ(อำ) ไ-(ไอ) ใ-(ใอ) และ เ-า(เอา)
ลำดั สระ เสียง สาเหตุ การเกิดเสียง

๑ ฤ ร + อึ เกิดจากเสยี งพยัญชนะ ร.เรื อ ผสมกับ
เสยี งสระอึ)
๒ ฤๅ ร + เกิดจากเสยี งพยัญชนะ ร.เรื อ ผสมกับ
อือ เสยี งสระอื)
๓ ฦ ล + อึ เกิดจากเสยี งพยัญชนะ ล.ลิง ผสมก ับ
ถั ดไป

เสยี งสระอึ) ประกอบรายวิชาภาษาไทย ท 31101


๓. เสียงสระเกิน
(ต่ อ )
ลำดั สระ เสียง สาเหตุ การเกิดเสียง

๕ -ำ อะ + ม เกิดจากเสยี งสระอะ ผสมกับเสยี ง
พยัญชนะ ม.มา้
๖ ไ- อะ + ย เกิดจากเสยี งสระอะ ผสมกับเสยี ง
พยัญชนะ ย.ยักษ์
ข้ อ๗สังเกต ใ- อะ + ย เกิดจากเสยี งสระอะ ผสมกับเสยี ง
อำ ไอ ใอ เอา เป็ น สระเกินพย คือั ญสระที
ชนะ่มีเย.ย
สียงพยัั กษญ์ ชนะประสมอยูด่ ้ วย ดังนัน้
สระเกิ
๘ น เหล่
า นี ้ จึ
ง ไม่
ส ามารถมี ต ว
ั สะกดได้ อี
เ-า อะ + ว เกิดจากเสียงสระอะ ผสมกับเสียงก
พยยั ญชนะ
้ อน หนว.แหวน
้ าหลัก
ประกอบรายวิชาภาษาไทย ท 31101
เสียงพยัญชนะ

พยัญชนะต้ น พยัญชนะท้ าย
มี ๑๘ เสียง มี ๘ เสียง

พยัญชนะต้ นเดี่ยว พยัญชนะต้ นคู่


หน้า
หลัก
ประกอบรายวิชาภาษาไทย ท 31101
เสียงพยัญชนะ
เสียงพยัญชนะ หรือ เสียงแปร คือ เสียงที่เปล่งออกมา
จากลำคอ แล้ วกระทบกับอวัยวะส่วนใดส่วนหนึง่ ในปาก เช่น คอ
ปุ่ มเหงือก ฟั น ริ มฝี ปาก ซึง่ ทำให้ เกิดเป็ นเสียงต่าง ๆ กัน โดย
พยัญชนะไทยมี ๒๑ เสียง ๔๔ รูป ดังต่อไปนี ้
ลำดั เสียงพยัญชนะ ๒๑ รู ปพยัญชนะ ๔๔
บ เสียง รู ป
๑ ก ก
๒ ค ขฃคฅฆ
๓ ง ง ถัดไป

ประกอบรายวิชาภาษาไทย ท 31101
เสียงพยัญชนะ (ต่ อ)
ลำดับ เสียงพยัญชนะ ๒๑ รู ปพยัญชนะ ๔๔ รู ป
เสียง
๔ จ จ
๕ ช ชฌฉ
๖ ซ ซศสษ
๗ ด ดฎ
๘ ต ตฏ
๙ ท ทธฑฒถฐ
๑๐ น นณ
ย้อน ถัดไป

ประกอบรายวิชาภาษาไทย ท 31101
เสียงพยัญชนะ (ต่ อ)
ลำดับ เสียงพยัญชนะ ๒๑ รู ปพยัญชนะ ๔๔ รู ป
เสียง
๑๑ บ บ
๑๒ ป ป
๑๓ พ พภผ
๑๔ ฟ ฟฝ
๑๕ ม ม
๑๖ ย ญย
๑๗ ร ร
๑๘ ล ลฬ
ย้อน ถั ดไป

ประกอบรายวิชาภาษาไทย ท 31101
เสียงพยัญชนะ (ต่ อ)
ลำดับ เสียงพยัญชนะ ๒๑ รู ปพยัญชนะ ๔๔ รู ป
เสียง
๑๙ ว ว
๒๐ ห หฮ
๒๑ อ อ
หน้ าที่ของพยัญชนะ
๑. เป็ นพยัญชนะต้ น
๒. เป็ นพยัญชนะท้ ายพยางค์ (ตัวสะกด)
๓. เป็ นอักษรควบ (ควบแท้ และ ควบไม่แท้ )
ย้อน ถั ดไป

ประกอบรายวิชาภาษาไทย ท 31101
เสียงพยัญชนะ (ต่ อ)
หน้ าที่ของพยัญชนะ (ต่ อ)
๔. เป็ นอักษรนำ อักษรตาม
๕. เป็ นสระ (อ ว ย ร)
๖. เป็ นตัวการันต์
ข้ อสังเกตเกี่ยวกับเรื่องเสียงพยัญชนะ
๑. เสียงพยัญชนะมี ๒๑ เสียง แต่แทนด้ วยรูปพยัญชนะ ๔๔ รูป
จึงมีปัญหาเกี่ยวกับการเขียน
ย้อน ถัดไป

ประกอบรายวิชาภาษาไทย ท 31101
เสียงพยัญชนะ (ต่ อ)
ข้ อสังเกตเกี่ยวกับเรื่องเสียงพยัญชนะ (ต่ อ)
๒. รูปพยัญชนะมีลกั ษณะผูกพันกับเสียงวรรณยุกต์ การที่จดั อักษรสูง
อักษรกลาง และอักษรต่ำ แสดงว่า ตัวพยัญชนะไทย เมื่อผสมสระ
แล้ วจะเกิดเสียงวรรณยุกต์ติดตามมา
๓. รูปพยัญชนะบางตัวไม่ออกเสียง ได้ แก่
- พยัญชนะที่มีเครื่ องหมายทัณฑฆาตกำกับ เช่น สงฆ์ วงค์ จันทร์
- พยัญชนะที่ตามหลังพยัญชนะสะกดบางคำ เช่น สมุทร พุทธ
- ร ซึง่ เป็ นส่วนหนึง่ ของอักษรควบไม่แท้ เช่น ทรง ทราบ ทรวง
ย้อน ถั ดไป

ประกอบรายวิชาภาษาไทย ท 31101
เสียงพยัญชนะ (ต่ อ)
ข้ อสังเกตเกี่ยวกับเรื่องเสียงพยัญชนะ (ต่ อ)
- ร หรื อ ห ที่นำหน้ าพยัญชนะสะกดบางคำ เช่น ปรารถนา พรหม
- ห หรื อ อ ที่นำอักษรเดี่ยว เช่น หลาย หลาก อย่า อยู่
๔. ตัวอักษรเรี ยงกัน ๒ ตัว บางครัง้ ออกเสียงควบ บางครัง้ ออกเสียง
สระแทรก เช่น จมปลัก ปรักหักพัง
๕. ตัว "ว" ทำหน้ าที่ได้ หลายอย่าง เช่น สระอัว เช่น กลัว รวย
- พยัญชนะควบ เช่น ควาย ขวาด พยัญชนะต้ น วูบ วาบ
- อักษรนำ เช่น หวัน่ ไหว พยัญชนะท้ าย เช่น ราว ร้ าว
ย้อน หน้าหลั ก

ประกอบรายวิชาภาษาไทย ท 31101
๑. พยัญชนะต้ น
เสียงพยัญชนะต้ น คือ เสียงของพยัญชนะตัวแรกที่ประสมกับเสียง
สระ เป็ นเสียงของทุกเสียงของพยัญชนะไทย เช่น
ก้าน ของ ครอบ หลาย กด วูบ กรรม อ่ าน

อักษรที่พิมพ์ตัวหนาสีแดงคือพยัญชนะต้ น
เสียงในภาษาไทย
คำ พยัญชนะ
ต้น สระ ตัวสะกด วรรณยุ กต์
กา้ น ก -า น โท
ของ ข -อ ง จัตวา
หน้า
ถั ดไป ประกอบรายวิชาภาษาไทย ท 31101
๑. พยัญชนะต้ น (ต่ อ)
เสียงในภาษาไทย
คำ พยัญชนะ
ต้น สระ ตัวสะกด วรรณยุ กต์
โกรธ ก -า น เอก
ความ ข -อ ง สามัญ
หรู หร -ู - จัตวา
รวย ร -ัว ย สามัญ
พยัญชนะที่ใชแ้ ทนเสยี งพยัญชนะตน ้ ่ี เสยี งพยัญชนะ
้ ดูไดท
พยัญชนะต้ น แบ่งออกเป็ น ๒ ประเภท คือ พยัญชนะต้ นเดี่ยว และ พยัญชนะต้ น
คู(่ พยัญชนะควบ)
หน้าหลั ก

ประกอบรายวิชาภาษาไทย ท 31101
๑.๑ พยัญชนะต้น
เสียง เดี่ ยรู ปว เสียง รู ป เสียง รู ป
/ก/ ก /ย/ ย ญ อยฺ หฺย /ป/ ป
/ค/ ขฃคฅฆ หฺญ /พ/ ผพภ
/ง/ ง /ด/ ฎดฑ /ฟ/ ฝฟ
/จ/ จ /ต/ ฏต /ม/ ม หฺม

ฉชฌ ฐ ฑฒถท ร หฺร


/ช/ /ท/ ธ /ร/

/ซ/ ซ ส ศ ษ ศฺร /น/ น ณ หฺน /ล/ ล หฺล


ซฺร ทฺร /บ/ บ /ว/ ว หว
/ห/ หฮ /อ/ อ
ต่อไป
ประกอบรายวิชาภาษาไทย ท 31101
๑.๑ พยัญชนะต้น

เดี ย ว (ต่ อ)
เสียงพยัญชนะจากตารางข้ างต้ น ใช้ เป็ นพยัญชนะต้ นได้ ทงหมด
ั้
*ข้ อสังเกต/ข้ อควรจำ*
- เสียงพยัญชนะต้ นเดี่ยว จะพบใน รูปพยัญชนะทุกตัว รวมถึง
อักษร นำ(ห นำ ต่ำเดี่ยว อ นำ ย)
คำควบไม่แท้ (ทร ออกเสียงเป็ น ซ, จร ร ไม่ออกเสียง เช่น จริ ง สร
ศร
ร ไม่ออกเสียง เช่น สร้ อย)
ยกเว้ น พยัญชนะต้ นที่เป็ นคำควบกล้ำแท้
หน้าหลั ก
ย้อน
กลับ

ประกอบรายวิชาภาษาไทย ท 31101
๑.๒ พยัญชนะต้น
คู ่ /พยั ญชนะต ้ นควบ
เสียงพยัญชนะควบ คือ เสียงพยัญชนะสองเสียงที่ออกมาพร้ อมกัน
ในภาษาไทยมีเสียง /ร/ /ล/ /ว/ ที่ใช้ เป็ นสียงควบกับเสียงอื่น เช่น
- กร ขร ครเช่น กรุ้มกริ่ ม ขรุขระ ครื น้ เครง
- ตร เช่น ตรวจตรา
- ปร เช่น ปราบปราม
- พร เช่น พร้ อมเพรี ยง
- กล ขล คล เช่น กลิ ้งกลอก ขลาด คลาคล่ำ
- ปล เช่น เปลี่ยนแปลง
ต่อไป

ประกอบรายวิชาภาษาไทย ท 31101
๑.๒ พยัญชนะต้นคู ่/พยัญชนะต้น
- พลควบ (ต ่ อ)
เช่น โพล้ เพล้
- กว ขว คว เช่น แกว่งไกว ขว้ างขวาน เคว้ งคว้ าง
* ข้ อควรระวัง*
- อักษรนำ ร ลว เช่น หรูหรา หลาย หวาน ไม่ ใช่ คำควบกล้ำ
และ ไม่ ใช่ พยัญชนะต้ นคู่ เพราะ ไม่ได้ ออกเสียงพยัญชนะต้ นสอง
เสียงพร้ อมกัน (หร ออกเสียง ร / หล ออกเสียง ล / หว ออกเสียง ว)
- คำที่ออกเสียง อะ กึง่ เสียง แต่มีรูปคล้ าย คำควบกล้ำ แต่คำเหล่า
นี ้ไม่ใช่ควบควบกล้ำ และไม่ใช่พยัญชนะต้ นคู่ เช่น เปรี ยญ อ่านว่า ปะ-
เรี ยน ปลัด อ่านว่า ปะ-หลัด หน้าหลั ก

ประกอบรายวิชาภาษาไทย ท 31101
๒. พยัญชนะท้ าย
เสียงพยัญชนะท้ าย หรื อ พยัญชนะตัวสะกด มี ๘ เสียง คือ เสียง
ของพยัญชนะที่ใช้ บงั คับเสียงท้ ายคำ เมื่อพิจารณาเสียงพยัญชนะท้ าย
กับมาตราตัวสะกดของไทย ได้ ดงั นี ้
เสียงพยัญชนะ มาตราตัว พยัญชนะที่ ใช้แทน
ท้าย สะกด เสียง ตัวอย่าง

/ก/ แม่ กก ก ข ค ฆ นก มุข ภาค เมฆ


ดจชฎฏฐฑฒต นัดดา มัจฉา นุ ช
/ต/ แมก
่ ด ตร ถ ท ธ ศ ษ และ นาฏ อำนาจ พุธ
ส เพศ โสต ฯลฯ
/ป/ แมก
่ บ บปฟพฟภ ธู ป กราฟ โลภ
หน้าถั ด
ไป
ประกอบรายวิชาภาษาไทย ท 31101
๒. พยัญชนะท้ าย (ต่ อ)
เสียงพยัญชนะ มาตราตัว พยัญชนะที่ ใช้ ตัวอย่าง
ท้าย สะกด แทนเสียง
/ง/ กง ง สอง
บุญ ญาณ มาร
/น/ กน ญณนรลฬ พาล วิรุฬห์
/ม/ กม ม สม้
/ย/ เกย ย รวย
/ว/ เกอว ว เขียว
- แม่ ก กา - -

ย้อน หน้า
กลับ ถั ดไป ประกอบรายวิชาภาษาไทย ท 31101
๒. พยัญชนะท้ าย (ต่ อ)
เสียงพยัญชนะท้ าย หรื อ พยัญชนะตัวสะกด มี ๘ เสียง คือ
/ก/ /ป/ /ต/ /ม/ /น/ /ง/ /ย/ และ /ว/
*ข้ อควรจำ*
นอกจากคำที่มีรูปตัวสะกดจากตารางข้ างต้ นแล้ ว ยังมีคำที่ประสม
ด้ วย สระเกิน ที่มีเสียงพยัญชนะท้ ายด้ วย เพราะสระเกินเกิดจากเสียง
สระแท้ คือ สระ -ะ รวมกับเสียงตัวสะกด เช่น
- รำ ประสมด้ วย สระ -ำ (-ะ + ม) มีเสียงพยัญชนะท้ ายเสียง /ม/
- ไป ประสมด้ วย สระ ไ- (-ะ + ย) มีเสียงพยัญชนะท้ ายเสียง /ย/
ย้อน หน้า
กลับ ถั ดไป ประกอบรายวิชาภาษาไทย ท 31101
๒. พยัญชนะท้ าย (ต่ อ)
- ใน ประสมด้ วย สระ ใ- (-ะ + ย) มีเสียงพยัญชนะท้ ายเสียง /ย/
- เกา ประสมด้ วย สระ เ-า (-ะ + ว) มีเสียงพยัญชนะท้ ายเสียง /ว/
ตัวอย่ าง เขาถอนมันสำปะหลังในไร่
มีพยางค์ที่มีเสียงพยางค์ท้าย ดังนี ้
- เขา มีเสียงพยางค์ท้าย /ว/ หรื อ มาตราตัวสะกด แม่เกอว
- ถอน มีเสียงพยางค์ท้าย /น/ หรื อ มาตราตัวสะกด แม่กน
- มัน มีเสียงพยางค์ท้าย /น/ หรื อ มาตราตัวสะกด แม่กน
- สำ มีเสียงพยางค์ท้าย /ม/ หรื อ มาตราตัวสะกด แม่กม
ย้อน หน้า
กลับ ถั ดไป ประกอบรายวิชาภาษาไทย ท
๒. พยัญชนะท้ าย
(ต่ อ )
ตัวอย่ าง เขาถอนมันสำปะหลังในไร่ (ต่ อ)
มีพยางค์ที่มีเสียงพยางค์ท้าย ดังนี ้
- หลัง มีเสียงพยางค์ท้าย /ง/ หรื อ มาตราตัวสะกด แม่กง
- ใน มีเสียงพยางค์ท้าย /ย/ หรื อ มาตราตัวสะกด แม่เกย
- ไร่ มีเสียงพยางค์ท้าย /ย/ หรื อ มาตราตัวสะกด แม่เกย

*หมายเหตุ* พยัญชนะที่ไม่ใช้ เป็ นตัวสะกด คือ


“ฃ ฅ ฉ ฒ ผ ห อ ฮ”
หน้าหลั ก
ย้อน
กลับ ประกอบรายวิชาภาษาไทย ท 31101
เสียงวรรณยุกต์

เสียง และ ฝึ กผันเสียง


รู ปวรรณยุกต์

หน้า
หลัก
ประกอบรายวิชาภาษาไทย ท 31101
เสียงวรรณยุกต์
วรรณยุ กต์ คือ เครื่ องหมายสำหรับบอกระดับเสยี ง
ใชเ้ ขียนไวข้ า้ งบนพยัญชนะหรื อขา้ งบนสระ ทำใหคำ ้ มี
ความหมายแตกตา่ งกันไป เชน ่ เสอื เส่อื เส้อ

เสียงวรรณยุ กต์ หรื อ เสยี งดนตรี ก็คือ เสยี งสระ
หรื อเสยี งพยัญชนะ ซ่ึงเวลาเปลง่ เสยี งแลว้ เสยี งจะมี
ระดับสูง ต ่ำ เหมือนกับเสยี งดนตรี สำหรับเสยี ง
วรรณยุกตท ์ ่ีใชใ้ นภาษาไทยมี ๕ เสยี ง
รู ปวรรณยุกต์ มี ๔ รู ป คือ –่(เอก) –้(โท) –๊
(ตรี) –๋ (จัตวา) ถัดไป
เสียงวรรณยุกต์ มี ๕ เสียง คือ ประกอบรายวิ
สามัญ เอกท 31101
ชาภาษาไทย โท
เสียงวรรณยุกต์ (ต่ อ)
รู ปวรรณยุกต์ และเสียงวรรณยุกต์ ไม่ จำเป็ นต้ องตรงกันเสมอไป
สังเกตตารางต่อไปนี ้
เสียง
พยั ญชนะ
สามั เสียง เสียง เสียง เสียง หมายเหตุ
ต้น เอก โท ตรี จัตวา

คำเป็นพื้นเสยี งเป็นเสยี ง
กจดต
ฎฏบน กา กา่ /กา กา้ /กา้ ก๊า/ก๊า กา๋ /กา๋ สามัญ
ปอ บ บ บ บ คำตายพื้นเสย ี งเป็นเสยี ง
เอก

คำเป็นพื้นเสยี งเป็น
ขฃฉฐถผ
ขา่ ขา้
- ถัดไป ขา
เสยี งจัตวา
ฝศษ - ขะ ขยะ้ ้ อน คำตายพื้นเสยี งเป็น
สห กลับ

ประกอบรายวิ
ชาภาษาไทย ท 31101
เสียงวรรณยุกต์ (ต่ อ)
เสียง ี ี ี ี
พยั ญชนะ
สามั เสยง เสยง เสยง เสยง หมายเหตุ
ต้น เอก โท ตรี จัตวา

ค ฅฆช คำเป็นพื้นเสยี งเป็น


ซฌฑฒ เสยี งสามัญ
คา่ คา้ หากผันร่วมกับอักษรสูง
ทธฟภย คา คะ่ คะ คะ้
พฮญล จะผัน
คาด
ณนมรฬ ไดค ้ รบ ๕ เสยี ง เชน ่ คา
งว ขา่ คา่ (ขา้ ) คา้ ขา

* คำเป็ น
** คำตาย หน้าหลั ก
ย้อน
กลับ ประกอบรายวิชาภาษาไทย ท 31101
คำเป็ น

คำตาย กลับหน้า
เดิ ม
ประกอบรายวิชาภาษาไทย ท 31101
คำตาย

คำเป็ น กลั บหน้า


เดิ ม

ชาภาษาไทย
ชาภาษาไทย
ประกอบรายวิ
ประกอบรายวิ ท 31101 ท
การผันเสยี งวรรณยุกต์

หน้า
หลัก
ประกอบรายวิชาภาษาไทย ท 31101

You might also like