Download as ppt, pdf, or txt
Download as ppt, pdf, or txt
You are on page 1of 41

หน่วยการ
เรียนรู้ที่

๒ มิติ สู่ ๓
มิติ
• สร้างงานทัศนศิลป์ จากรูปแบบ ๒ มิติ เป็ น
๓ มิติโดยใช้หลักการของแสงเงาและน้ำหนัก
(ศ ๑.๑ ป.๖/๓)
๒ มิติ
สู่ ๓ มิติ
นักเรียนเคยเห็นสิ่งใดบ้างที่
มีรูปร่างคล้ายกับ
สิ่งที่อยู่ในภาพ บอกมาให้ได้
มากที่สุด
๑. รูป ๒ มิติ และรูป ๓ มิติ
รูป ๒ มิติ เป็ นรูปที่มีเพียงด้านกว้าง
และด้านยาว แต่รูป ๓ มิติ จะเป็ นรูปที่แสดง ได้
ถึงความลึก ความนูน ความหนา
๒. รูปทรงกับแสงเงา
เราสามารถลงนํา้ หนักแสงเงาเพื่อทำให้รูป
ร่างวงกลม ๒ มิติ กลายเป็ น รูปทรงกลม ๓ มิติ
ได้

รูปทรงสี่เหลี่ยมซึ่งเป็ นภาพ ๓ มิติ จะมีความ


สวยงามสมบูรณ์
มากขึน
้ เมื่อลงน้ำหนักแสงเงา
๓. หลักการลงน้ำหนักแสงเงา
เมื่อแสงไปกระทบกับสิ่งใด ส่วนที่รับแสง
จะสว่างมองเห็นได้ชัดเจน ส่วนที่ได้รับแสงน้อย
หรือไม่ได้รับแสง จะสว่างน้อยลงและมองเห็นไม่
ชัดเจนไปตามลำดับ
ทิศทางของแสงก็เป็ นสิ่งสำคัญ เมื่อแสง
เข้ามาทางด้านใด
ด้านที่รับแสง จะสว่างมากกว่าส่วนอื่น ๆ
วิธีการลงน้ำนักแสงเงา
๑) การฝนลายเส้น
การลงนํา้ หนักแสงเงาในภาพอาจใช้
ดินสอ ปากกา หรือดินสอสี ฝนลายเส้นใน
ภาพเพื่อแสดงส่วนที่เป็ นเงา
๒) ใช้สีระบายลงนํา้ หนักแสงเงา
๓) การระบายสีอ่อนและสีเข้ม
การลงนํา้ หนักแสงเงาในภาพ ด้านที่ได้
รับแสงมากสามารถแสดงได้ด้วยการระบาย
สีอ่อน ๆ ส่วนด้านที่ได้รับแสงน้อย
ก็ระบายด้วยสีเข้ม
๔) การระบายด้วยสีที่มีนา ํ ้ หนักเข้ม
และสีที่มีนาํ ้ หนักอ่อน
การแสดงภาพ ๓ มิติ ด้วยการใช้สีที่มีนาํ้
หนักอ่อนระบาย
ในด้านที่รับแสง และใช้สีที่มีนาํ้ หนักเข้ม
ระบายในด้านที่ไม่ได้รับแสง
๕) การใช้ปากกาสีดำ
การลงแสงเงาด้วยปากกาสีดำเพียงด้าม
เดียว ก็สามารถลงนํา้ หนักแสงเงาในภาพ ๓
มิติ ได้อย่างสมบูรณ์สวยงาม
ตัวอย่างการใช้ปากกาสีดำลงแสงเงา
ตัวอย่างการใช้ปากกาสีดำลงแสงเงา
ตัวอย่างการใช้ปากกาสีดำลงแสงเงา
๔. เงาตกกระทบ
นอกจากแสงจะทำให้เกิดเงาที่วัตถุแล้ว
แสงยังทำให้เกิดเงาที่บริเวณพื้น หรือฉากซึ่ง
อยู่ใกล้วัตถุอีกด้วย เมื่อแสงผ่านวัตถุนัน
้ มาที่
พื้นหรือฉากซึ่งอยู่ใกล้วัตถุไม่ได้ ก็จะเกิดเงา
ตามรูปร่างของวัตถุขึน ้ บนพื้นหรือฉากนัน้
ซึ่งเงาชนิดนีเ้ รียกว่า
เงาตกกระทบ
๕. แสงเงาในภาพทิวทัศน์
ภาพทิวทัศน์ คือ ภาพภูมิประเทศที่
ปรากฏตามธรรมชาติ เช่น ทิวทัศน์ทุ่งนา
ทิวทัศน์ป่าเขา ทิวทัศน์ทะเล ภาพทิวทัศน์
เหล่านีค
้ วรแสดงลักษณะของภาพ ๓ มิติ เพื่อ
ความสวยงามสมจริงและ
ได้บรรยากาศ
๖. แสงเงากับการสร้างสรรค์
แสงและเงา เป็ นปั จจัยสำคัญในองค์
ประกอบภาพ แสงทำให้ภาพดูสว่าง โดดเด่น เงา
ทำให้ภาพดูมีน้ำหนัก เปลี่ยนรูปร่างจาก ๒ มิติ
ให้กลายเป็ นรูปทรงแบบ ๓ มิติ เสมือนจริงมาก
ยิ่งขึน

ลักษณะของแสงเงาจะแบ่งตามค่าน้ำหนัก
ของแสงที่เกิดขึน

บนวัตถุ สามารถจำแนกเป็ นลักษณะต่าง ๆ ได้
ดังนี ้
a.บริเวณแสงสว่างจัด เป็ นบริเวณที่อยู่ใกล้กับ
แหล่งกำเนิดแสงมากที่สุด
b.บริเวณแสงสว่าง เป็ นบริเวณที่รับแสงสว่างรอง
เมื่อนักเรียนมีความรู้พ้ืนฐาน และมีความ
เข้าใจเกี่ยวกับการลง
น้ำหนักแสงเงาแล้ว นักเรียนสามารถนำความรู้
พื้นฐานนีม ้ าประยุกต์สร้างสรรค์ผลงาน ทัศน
ศิลป์ ในรูปแบบที่แสดงน้ำหนักแสงเงาเหนือ
ความเป็ นจริงได้ การสร้างสรรค์ในลักษณะนี ้ จะ
เป็ นการผสมผสานความรู้เดิมกับจินตนาการของ
ตนเองเพื่อสร้างผลงานที่มีความสวยงามแปลก
ใหม่
ได้อย่างลงตัว
๒ มิติ
สู่ ๓ มิติ
• สร้างงานทัศนศิลป์ จากรูปแบบ ๒ มิติ เป็ น
๓ มิติโดยใช้หลักการของแสงเงาและน้ำหนัก
(ศ ๑.๑ ป.๖/๓)
๑. ข้อใดเป็ นภาพ ๓ มิติ
ก. ข.

ค. ง.

เฉลย
๒. สิ่งใดมีลักษณะเป็ น ๓ มิติ
ก. ถ้ำที่มองเห็นความลึก
ข. กระดาษวาดเขียน ๑
แผ่น
ค. ภาพถ่ายขนาด ๔ x ๖ นิว้
ง. ผ้าทอพื้นเมือง ๑ ผืน
เฉลย
๓. ข้อใดเป็ นภาพ ๓ มิติที่เกิด
จากการใช้ปากกา ฝนลายเส้น
ก. ข.

ค. ง.
เฉลย
๔. เงาตกกระทบมีผลต่อภาพ
อย่างไร
ก. ทำให้ภาพมีขนาดใหญ่ขึน

ข. ทำให้ภาพมีความสว่าง
มากยิ่งขึน

ค. ทำให้ภาพเดียวมองเห็นได้
หลายมุม
เฉลย
ง. ทำให้ภาพมีน้ำหนักสมจริง
๕. ข้อใดเกี่ยวข้องกับภาพนี ้
ก. ลายเส้นใน
ภาพวาด ๒ มิติ
ข. แสงเงาใน
ภาพทิวทัศน์
ค. รูปทรงที่
แตกต่าง
เฉลย
ง. เงา
๖. จากภาพนีแ
้ สดงให้เห็นว่า
แสงส่องมาใน ทิศทางอย่างไร
ก.
ข.
ค.
ง.
เฉลย
๗. ถ้าต้องการวาดภาพแสดงให้
เห็นว่ามีส่วนที่ รับแสงน้อย
นักเรียนควรทำอย่างไร
ก. ระบายด้วยสีขาว
ข. ระบายด้วยสีอ่อน
ค. ระบายด้วยสีเข้ม
ง. ระบายหลาย ๆ สี
เฉลย
๘. ข้อใดเกี่ยวข้องกับภาพนี ้
ก. แสงเงา
เหนือความเป็ นจริง
ข. น้ำหนัก
ของแสงเงา
ค. รูปทรง
กับแสงเงา
เฉลย
ง. เงา
๙. ภาพใดเป็ นการประยุกต์ใช้
แสงเงา
เหนือความเป็ นจริง
ก. ข.

ค. ง.
เฉลย
๑๐. นักเรียนจะพัฒนาภาพวาด
ของตนเองให้เป็ น ภาพ ๓ มิติที่
สวยงามได้อย่างไร
ก. ฝึ กการใช้เส้นอย่างถูกต้องและ
ลงน้ำหนักเงา โดยยึดหลัก
ความเป็ นจริง
ข. วาดภาพให้องค์ประกอบของ
ภาพมีความ สมดุลกันในทุก
ด้าน เฉลย
เฉลย

๑. ข้อใดเป็ นภาพ ๓ มิติ


ก. ✗ ข.

ค. ง.
เฉลย ข. เหตุผล รูปกล้วย มีลักษณะที่สามารถมอง ต่อ๒ข้อ
เห็นได้ ทัง้ ความลึก
๒. สิ่งใดมีลักษณะเป็ น ๓ มิติ
✗ก. ถ้ำที่มองเห็นความลึก
ข. กระดาษวาดเขียน ๑
แผ่น
ค. ภาพถ่ายขนาด ๔ x ๖ นิว้
ง.างผ้ความยาว
าทอพื้นเมือง ๑ ผืน
เฉลย ก. เหตุผล ลักษณะของภาพ ๓ มิติ จะมี
ความกว้
และความลึกหนา
ต่อข้อ

๓. ข้อใดเป็ นภาพ ๓ มิติที่เกิด
จากการใช้ปากกา ฝนลายเส้น
ก. ข.

ค.
✗ ง.
เฉลย ค. เหตุผล เป็ นภาพ ๓ มิติที่เกิดจากการใช้
ปากกาสีดำลงน้ำหนักแสงเงาในภาพ ๓ มิติเป็ นลาย ต่อ๔ข้อ
๔. เงาตกกระทบมีผลต่อภาพ
อย่างไร
ก. ทำให้ภาพมีขนาดใหญ่ขึน ้
ข. ทำให้ภาพมีความสว่าง
มากยิ ✗ ่งขึน ้
เฉลย ค. ทำให้
ง. เหตุ ภาพเดีเกิยดจากแสงที
ผล เงาตกกระทบ วมองเห็ นได้
่ทำให้
หลายมุม ภาพมีน้ำหนักสมจริงมากยิ่งขึน้
เกิดเงาของวัตถุซึ่งจะมีรูปร่าง ตามวัตถุ การวาดเงา
ตกกระทบจะทำให้
ง. ทำให้ภาพมีน้ำหนักสมจริ๕ง
ต่อข้อ
๕. ข้อใดเกี่ยวข้องกับภาพนี ้
ก. ลายเส้นใน
ภาพวาด ๒ มิต ✗ิ
ข. แสงเงาใน
ภาพทิวทัศน์
เฉลย ข. เหตุผล ภาพนีม
บริเวณชายทะเล
ค.
้ ี ลักษณะของทิ วทัศรูน์ปทรงที่

แตกต่
ซึ่งมีการให้า
แงสงเงาทำให้ภาพสวยงามสมจริงได้
บรรยากาศมากขึน ้
ง. เงา ๖
ต่อข้อ
๖. จากภาพนีแ
้ สดงให้เห็นว่า
แสงส่องมาใน ทิศทางอย่างไร
เฉลย ก. เหตุผล จาก
✗ ก.ภาพกระต่ายที่ปรากฏ
มีแสงสว่างส่องมาจาก
ข.ทางซ้ายมือ เพราะ
บริเวณใบหน้าและลำ
ค.ตัว ด้านหน้าของ
กระต่าย มีการ ลงแสง
ง.เงาที่อ่อนกว่าส่วนอื่น
แสดงว่ามีแสงสว่ต่าองข้อ
มากที่สุด ๗
๗. ถ้าต้องการวาดภาพแสดงให้
เห็นว่ามีส่วนที่ รับแสงน้อย
นักเรียนควรทำอย่างไร
ก. ระบายด้วยสีขาว
✗ข. ระบายด้วยสีอ่อน
ค. ระบายด้วยสีเข้ม
ง. ระบายหลาย ๆ สี่เข้ม
เฉลย ค. เหตุผล บริเวณที่มีแสงน้อย การลงน้ำ
หนักแสงเงาจะต้ องลงด้วยเส้นและแสงที
เนื่องจากเป็ นด้านที่ไม่ได้รับแสง ต่อข้อ

๘. ข้อใดเกี่ยวข้องกับภาพนี ้
ก. แสงเงา
เหนือความเป็ ✗ นจริง
ข. น้ำหนัก
ของแสงเงา
ค. รูกปของแสง
เฉลย ข. เหตุผล การลงน้ำหนั ทรง
เงาเป็ นการระบายสีอ่อน
กับแสงเงา
และสีเข้มลงบนกล่อง ตามแสงที่ไป
กระทบ
ง. เงา ๙
ต่อข้อ
๙. ภาพใดเป็ นการประยุกต์ใช้
แสงเงา
เหนือความเป็ นจริง
ก. ข.


ค. ง.
เฉลย ง. เหตุผล การประยุกต์แสงเงาเหนือความ
เป็ นจริงเป็ นการใช้ความคิดสร้างสรรค์ผสมผสาน
ต่อข้อ
กับความรู้ให้เป็ นผลงานแปลกใหม่สวยงาม ๑๐
๑๐. นักเรียนจะพัฒนาภาพวาด
ของตนเองให้เป็ น ภาพ ๓ มิติที่
สวยงามได้
✗ อย่างไร
ก. ฝึ กการใช้เส้นอย่างถูกต้องและ
ลงน้ำหนักเงา โดยยึดหลัก
ความเป็ นจริง
ข. วาดภาพให้องค์ประกอบของ
ภาพมีความ สมดุลกันในทุก
เฉลย ก. เหตุผล การฝึ กพัฒนาการวาดภาพ ๓ มิติ
ด้ให้
าน มีความสวยงาม ไปหน้า
แรก
ทำได้ด้วยการฝึ กวาดเส้น และลงน้ำหนักแสงเงาโดย

You might also like