Download as ppt, pdf, or txt
Download as ppt, pdf, or txt
You are on page 1of 37

ครูอญ

ั ฑิกา โพธิ์ไชยย้ อย
เรื่อง คลืน่ (Wave)
• 1. คลื่น (waves)
• 2. สมบัตขิ องคลื่น (property of waves)
• 3. คลื่นเสียง (sound waves)
• 4. คลื่นแม่ เหล็กไฟฟ้า (electromagnetic)
คลืน่ คืออะไร
• คลื่น ( wave ) เป็ นการเคลื่อนที่แบบหนึง่ เกิดจากการสัน่ กลับไปกลับมา
ของอนุภาค และสามารถส่งผ่านพลังงานจากที่หนึง่ ไปอีกที่หนึง่ ได้
• ในระบบใดๆ ก็ตาม ในธรรมชาติเมื่อมีการเปลี่ยนแปลงไปจากสภาวะสมดุล
ณ บริ เวณใดบริ เวณหนึง่ ในระบบอันเกิดจากการรบกวนอย่างใดอย่างหนึง่
• การเปลี่ยนแปลงนันสามารถแพร่
้ ขยายไปยังส่วนอื่นๆของระบบนี ้ อาจเรี ยก
การแพร่ขยายไปของการเปลี่ยนแปลงนี ้ว่า คลื่น
• เช่น การใช้ มือจุม่ น้ำในขัน ในตุม่ ในสระ ในแม่น้ำลำคลอง หรื อ ขว้ างวัตถุลง
ไปในน้ำ เราจะมองเห็นผิวน้ำกระเพื่อม แล้ วแผ่เป็ นวงกลมออกไปโดยรอบซึง่
ลักษณะนี ้ว่า คลื่นน้ำเกิดขึ ้นบนผิวน้ำ
ชนิดของคลืน่
• 1. พิจารณาการสั่นของตัวกลาง
– 1.1 คลืน่ ตามขวาง (Transverse waves)
– 1.2 คลืน่ ตามยาว (Longitudinal waves)
• 2. พิจารณาการใช้ ตัวกลาง
– 2.1 คลื่นกล (Mechanical waves)
– 2.2 คลื่นแม่ เหล็กไฟฟ้า (Electromagnetic waves)
• 3. พิจารณาการรบกวนตัวกลาง
– 3.1 คลื่นดล (Pulse waves)
– 3.2 คลื่นต่ อเนื่อง (Continuous waves)
ก.   คลืน่ ตามขวาง (Transverse wave)
เป็ นคลื่นที่เกิดขึ้นโดยอนุภาคของตัวกลางสัน่ ในแนวตั้งฉาก
กับทิศทางการเคลื่อนที่ของคลื่น เช่น คลื่นน้ำ   คลื่นบนเส้นเชือก คลื่น
บนสปริ ง จากรู ปทางด้านซ้ายมือ  เมื่อเราสะบัดเชือกที่ปลายด้านหนึ่ง
อาจจะตรึ งติดผนังหรื อไม่ตรึ งก็ได้ โดยสะบัดขึ้นและลงดังภาพด้านล่าง
ซ้าย   จะเห็นท้องคลื่นและสันคลื่นเกิดขึ้น  โดยทิศทางของอนุภาคตั้ง
ฉากกับทิศของการเคลื่อนที่ของคลื่น เรี ยกว่าคลื่นตามขวาง  จะเห็น
การเคลื่อนที่โดยรวมเมื่อสะบัดอย่างต่อเนื่องในภาพด้านล่างนี้
• ข. คลื่นตามยาว (Longitudinal wave ) เป็ นคลื่นที่เกิด
ขึ ้นเมื่ออนุภาคของตัวกลางสัน่ ในแนวเดียวกับทิศทางการเคลื่อนที่
ของคลื่น เช่น คลื่นเสียง  ซึง่ บางครัง้ เราอาจจะเรี ยกว่า คลื่นลูกอัด
ลูกขยาย
ภาพแสดงส่ วนอัด/ขยายของคลื่นเสียง
•     ก.   คลื่นกล  ( Mechanical )  คือ คลื่นที่ตอ้ งอาศัย
ตัวกลางในการเคลื่อนที่ ได้แก่  คลื่นในเส้นเชือก คลื่นน้ำ คลื่น
สปริ ง  คลื่นเสี ยง  เหล่านี้เป็ นต้น  
     
• ข.  คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ า  (Electromagnetic)คือ คลื่นที่
ไม่ตอ้ งอาศัยตัวกลางในการเคลื่อนที่ ได้แก่  คลื่นแสง คลื่นวิทยุ 

คลื่นไมโครเวฟ  รังสี เอ็กซ์ เป็ นต้น     


พิจารณาการรบกวนตัวกลาง

คลื่นดล คลื่นต่อเนื่อง
องค์ประกอบของคลื่น
จากรู ป
• 1. สั นคลืน่ หมายถึง ตำแหน่ งสู งสุ ดของ
คลืน่ เหนือระดับปกติ เช่ น จุด b
• 2. ท้ องคลืน่ หมายถึง ตำแหน่ งต่ำสุ ดของ
λ คลืน่ ใต้ ระดับปกติ เช่ น จุด d
• 3. ความยาวคลืน่ หมายถึง ระยะจากสั น
คลืน่ ถึงสั นคลืน่ ถัดไป หรือ ระยะจากท้ อง
คลืน่ ถึงท้ องคลืน่ ถัดไป เขียนแทนด้ วย แลλ
มดา ( ) มีหน่ วยเป็ น เมตร m
• 4. แอมพลิจูด (A)หมายถึง ตำแหน่ งทีม่ ี
การกระจัดมากทีส่ ุ ด ทั้งอยู่บนสั นคลืน่ และ
ท้ องคลืน่ เช่ น จุด b และ d
  ฉ.  คาบ ( Period , T)  คือ เวลาที่คลื่นเคลื่อนที่ไปได้ 1 ลูกคลื่น หรื อเวลาที่อนุภาคในตัวกลางสัน่
ขึ้น ลงได้ 1 รอบ  มีหน่วยเป็ นวินาที (s)       

   ช.  ความถี่ ( Frequency , f)  คือ จำนวนลูกคลื่นที่เคลื่อนที่ผา่ นจุด ๆ หนึ่ง ในเวลา 1 วินาที
มีหน่วย เป็ นรอบ/วินาที (Hz)

  ซ.  ความเร็วคลืน่ ( Speed wave, V)  คือ ระยะทางที่คลื่นเคลื่อนที่ได้ 1 ลูก( Wave length )
ในเวลา 1 วินาที ใช้บอกการเคลื่อนที่ของคลื่นดลหรื อคลื่นต่อเนื่องก็ได้   มีหน่วยเป็ น
เมตร/วินาที
คลื่นไซน์
แบบฝึ กหัด
• 1. อัตราเร็ วเสียงในอากาศ 340 m/s จงหาความยาวคลื่นเสียงใน
อากาศที่ความถี่ 20,000 Hz (0.017 m)
• 2. ส้ อมเสียง A ความถี่ 450 Hz จะทำให้ เกิดคลื่นเสียงในอากาศ
ความยาวคลื่น 0.8 m ส้ อมเสียง B ความถี่ 1,000 Hz จะเกิด
คลื่นเสียงความยาวคลื่นเท่าใด (0.36 m)
2. สมบัตขิ องคลืน่ (property of waves)
• 1. การสะท้ อนของคลื่น (reflection of waves)
– 1.1 การสะท้อนของคลื่นในเส้นเชือก
– 1.2 การสะท้อนของคลื่นบนผิวน้ำ
• 2. การหักเหของคลื่น (refraction of waves)
– 2.1 มุมวิกฤติ
– 2.2 การหักเหของคลื่นในเส้นเชือก
• 3. การแทรกสอดของคลื่น (interference)
• 4. การเลีย้ วเบนของคลื่น (diffraction of waves)
1. การสะท้อนของคลื่น (Reflection)
• เมื่อคลื่นเคลื่อนที่จากตัวกลางหนึง่ ไปยังรอยต่อของอีกตัวกลางหนึง่
คลื่นจะเคลื่อนที่ย้อนกลับมาในตัวกลางเดิม เราเรี ยกปรากฏการณ์นี ้ว่า
การสะท้ อนของคลื่น
• สรุปกฎการเคลื่อนที่ของคลื่นได้ ดงั นี ้ 
– 1. แนวคลื่นตกกระทบ แนวคลื่นสะท้ อน และแนวปกติ อยูบ่ นระนาบอัน
เดียวกัน
– 2. มุมคลื่นตกกระทบ = มุมคลื่นสะท้ อน
Reflection of Waves

tonydude.net/NaturalScience100/chapters/chapter27/chapter2
การหักเหของคลื่น
(refraction of waves)
2. การหักเหของคลื่น (refraction of
waves)
การหักเหของคลื่น (refraction of waves) เกิดขึ ้นที่ผิว
รอยต่อของตัวกลาง 2 ชนิด กฎการหักเหมี 2 ข้ อ ดังนี ้
• 1. รังสีตกกระทบ รังสีหกั เห และเส้ นปกติอยูบ่ นระนาบเดียวกัน
• 2. เป็ นไปตามกฎของสเนลล์ดงั นี ้
2. การหักเหของคลื่น (refraction of
waves)
• การหักเหของคลื่น (refraction) เกิดเมื่อคลื่นเคลื่อนที่ผา่ นรอยต่อระหว่างตัวกลางที่
มีคณุ สมบัติตา่ งกัน แล้ วทำให้ อตั ราเร็วของคลื่นเปลี่ยนไป
• เช่น เมื่อคลื่นผิวน้ำเคลื่อนที่ผา่ น บริเวณน้ำลึกกับบริเวณน้ำตื ้น โดยทิศทางการเคลื่อนที่
ของคลื่นไม่ตงฉากกั
ั้ บรอยต่อ คลื่นที่ผา่ นเข้ าไปบริเวณน้ำตื ้น จะมีความยาวคลื่น
เปลี่ยนแปลงและทิศการเคลื่อนที่ของคลื่นก็เปลี่ยนแปลงด้ วย ทำให้ อตั ราเร็ว
เปลี่ยนแปลงด้ วย แต่ความถี่ของคลื่นมีคา่ เท่าเดิม
• แต่หากทิศของคลื่นตังฉากกั
้ บรอยต่อ ก็จะไม่เกิดการหักเหของคลื่น
• มุมวิกฤติ คือ มุมตกกระทบที่ทำให้ มมุ หักเห มีคา่ เท่ากับ 90 องศา
• ตัวอย่างการหักเห เช่น เมื่อเรามองดินสอภายในแก้ วที่มีน้ำ จะเห็นเป็ นรอยต่อคล้ าย
ดินสอหักต่อกัน เป็ นเพราะคลื่นแสงเกิดการหักเห เมื่อเคลื่อนที่จากอากาศ สูแ่ ก้ วและน้ำ
ตามลำดับ
2. การหักเหของคลื่น (refraction of
waves)
• คลื่นที่ผ่านเข้ าไปบริเวณน้ำตืน้
จะมีความยาวคลื่นเปลี่ยนแปลง
และทิศการเคลื่อนที่ของคลื่นก็
เปลี่ยนแปลงด้ วย ทำให้
อัตราเร็วเปลี่ยนแปลงด้ วย แต่
ความถี่ของคลื่นมีค่าเท่ าเดิม

http://www.rpi.edu/dept/phys/ScIT/InformationTransfer/reflrefr/rr_content/refraction_40.html
2. การหักเหของคลื่น (refraction of
waves)

• แต่ หากทิศของคลื่นตัง้ ฉาก


กับรอยต่ อ ก็จะไม่ เกิดการ
หักเหของคลื่น

http://www.rpi.edu/dept/phys/ScIT/InformationTransfer/reflrefr/rr_content/refraction_40.html
Ray Optics
The Broken Pencil
• ตัวอย่างการหักเห เช่น เมื่อเรามอง
ดินสอภายในแก้ วที่มีน้ำ
• จะเห็นเป็ นรอยต่อคล้ ายดินสอหักต่อกัน
• เป็ นเพราะคลื่นแสงเกิดการหักเห
• เมื่อเคลื่อนที่จากอากาศ สูแ่ ก้ วและน้ำ
ตามลำดับ

http://www.physicsclassroom.com/Class/refrn/u14l2b.html
2.1 มุมวิกฤติ (Critical angle)

• มุมวิกฤติ คือ มุมตกกระทบที่


ทำให้ มุมหักเห มีค่าเท่ ากั
บ 90 องศา

http://www.rpi.edu/dept/phys/ScIT/InformationTransfer/reflrefr/rr_content/refraction_40.html
การแทรกสอดของคลื่น
(Interference of waves)
3. การแทรกสอดของคลื่น (interference)
• Interference เกิดเมื่อคลื่น 2 ขบวนที่เหมือนกันทุกประการ ที่มี
แหล่งกำเนิดเหมือนกัน เคลื่อนที่มาพบกันทำให้ เกิดการซ้ อนทับกัน
• หลักการรวมกันของคลื่น มี 2 ข้ อ
– 1. การกระจัดของคลื่นรวมกันแบบเวกเตอร์
– 2. รูปร่างของคลื่นเปลี่ยนไปขณะรวมกัน แต่หลังรวมกันแล้ วคลื่นมีรูปร่าง
เหมือนก่อนรวมกัน
3. การแทรกสอดของคลื่น (interference)
• Interference เกิดเมื่อคลื่น 2 ขบวนที่เหมือนกันทุกประการ ที่มีแหล่งกำเนิด
เหมือนกัน เคลื่อนที่มาพบกันทำให้ เกิดการซ้ อนทับกัน
• หากสันคลื่นกับสันคลื่นหรื อท้ องคลื่นกับท้ องคลื่นเคลื่อนที่มาซ้ อนทับกัน แอมพลิจดู
ของคลื่นทังสองจะเสริ
้ มกัน เรี ยกว่า เกิดการแทรกสอดแบบเสริมกัน เรี ยกตำแหน่งที่มี
การกระจัดมากที่สดุ ว่า ปฏิบัพ (antinode)
• ส่วนตำแหน่งที่สนั คลื่นพบท้ องคลื่น แอมพลิจดู ทังสองจะหั
้ กล้ างกัน เรี ยกว่า การแทรก
สอดแบบหักล้ าง และเรี ยกตำแหน่งที่มีการกระจัดน้ อยที่สดุ นี ้ว่า บัพ (node)
• ตัวอย่าง ของการแทรกสอดของคลื่น เช่น การติดตังลำโพงเสี
้ ยงที่ใกล้ กนั ทำให้ เสียงจาก
สองแหล่งเกิดการแทรกสอดฟั ง ผู้ฟังที่อยู่ตำแหน่งบัพจะไม่ได้ ยินเสียง ขณะที่ผ้ อู ยู่
ตำแหน่งปฏิบพั ได้ ยินเสียงดังเกินไป
Interference
Young observed light and dark bands on the
screen, which was the result of constructive and
destructive interference of light waves.
A similar pattern can be seen in a
wave tank experiment with two
vibrating rods.
บีตส์
การเลีย้ วเบนของคลื่น
(diffraction of waves)
4. การเลี้ยวเบนของคลื่น (diffraction)
• การเลี ้ยวเบนของคลื่น (diffraction) เกิดเมื่อคลื่นเคลื่อนที่ไปพบสิง่ กีดขวาง ซึง่ กัน้
ทางเดินของคลื่นเพียงบางส่วน จึงมีคลื่นส่วนหนึง่ แผ่จากขอบของสิง่ กีดขวางไปทางด้ าน
หลังของสิง่ กีดขวาง
• ถ้ าให้ คลื่นต่อเนื่องเคลื่อนที่ผา่ นสิง่ กีดขวางที่มีลกั ษณะเป็ นช่องเปิ ด ที่เรี ยกว่า สลิต
(slit) การเลี ้ยวเบนจะแตกต่างกัน โดยขึ ้นอยูก่ บั ความกว้ างของสลิต
• ถ้ าสลิตกว้ างมากกว่าความยาวคลื่น คลื่นที่ผา่ นสลิตจะมีหน้ าคลื่นเป็ นเส้ นตรง ยกเว้ น
บริ เวณขอบที่โค้ งเล็กน้ อย
• เมื่อสลิตแคบลงจนใกล้ เคียงและน้ อยกว่าความยาวคลื่น หน้ าคลื่นจะมีความโค้ งมากขึ ้น
เกือบเป็ นวงกลม
• ตัวอย่าง การเลี ้ยวเบน เช่น เราได้ ยินเสียงเพื่อนคุยกันที่นอกห้ อง เพราะคลื่นเสียง
เคลื่อนที่อ้อมผ่านกำแพง หรื อประตูที่เปิ ดอยูไ่ ด้
http://www.chemistry.ohio-state.edu/~grandinetti/teaching/Chem121/lectures/waveparticle/waveparticlelight.html
สรุ ปสมบัติของคลื่น (wave properties)
– คลื่นทุกชนิดแสดงสมบัติ 4 อย่าง คือ
– 1. การสะท้ อน (reflection)  เกิดจากคลื่นเคลื่อนที่ไปกระทบสิง่ กีดขวาง
แล้ วเปลี่ยนทิศทางกลับสูต่ วั กลางเดิม
– 2. การหักเห (refraction)  เกิดจากคลื่นเคลื่อนที่ผา่ นตัวกลางที่ตา่ งกัน แล้ ว
ทำให้ อตั ราเร็ วเปลี่ยนไป
– 3. การแทรกสอด (interference)  เกิดจากคลื่นสองขบวนที่เหมือนกันทุก
ประการเคลื่อนที่มาพบกัน แล้ วเกิดการซ้ อนทับกัน ถ้ าเป็ นคลื่นแสงจะเห็นแถบมืด
และแถบสว่างสลับกัน ส่วนคลื่นเสียงจะได้ ยินเสียงดังเสียงค่อยสลับกัน
– 4. การเลีย้ วเบน (diffraction)  เกิดจากคลื่นเคลื่อนที่ไปพบสิง่ กีดขวาง
ทำให้ คลื่นส่วนหนึง่ อ้ อมบริเวณของสิง่ กีดขวางแผ่ไปทางด้ านหลังของสิง่ กีดขวางนัน้

You might also like