Download as ppt, pdf, or txt
Download as ppt, pdf, or txt
You are on page 1of 126

สื่อ

การสอน
วิชาฟิ สิกส์ 3

3020
เรื่อ
3ง
สมบัติของ
โด
ครูอัญย
ฑิกา โพธิ์
ไชยย้อย
กลุ่มสาระการเรียนรู้
วิทยาศาสตร์
โรงเรียนท่าทอง
พิทยาคม
คลื่นต้องสามารถ
แสดงสมบัติของคลื่นได้
ครบทั ้ ง 4 ประการคื
1.การสะท้อน อ
2.(Refrection)
การหักเห
(Refraction)
3. การแทรกสอด
4. การเลี้ยวเบน
(Interference)
ข้อ
คุณสมบัตสั งเกต
ิการสะท้ อ น และ กา
เกิดขึ้นได้ท้ งั ในตัวกลางและในค
เกิดขึ้นได้ท้ งั ในตัวกลางและในค
มารถใช้แยกคลื่นออกจากอนุภา
ลางได้
กลางได้
ส่วนคุณสมบัติด้าน
การแทรกสอด และการ
เลี้ยวเบน เกิดขึ้น
ได้เฉพาะในคลื่นเท่านั้น
อนุภาคของตัวกลางไม่
สามารถแสดงสมบัติน้ ไี ด้
เราจะเรียกเหตุการณ์น้ ี
การสะท้อน
(Reflection)
เมื่อคลื่นเคลื่อนที่
ไปถึงจุดสุดขอบเขต
(Boundary)
* ปลายสุของตัดของวกลาง
เช่นตั
* วกลาง
รอยต่อระหว่าง
ตั ว กลาง
จะเกิดการสะท้อนกลับใน
ตัวกลางเดิม
เมื่อไปถึงสุดปลายเขต
คลื่น
ตกกระทบ

คลื่น วัสดุสะท้อน
สะท้อน
เมื่อไปถึงเขตรอยต่อ
ของตัวกลาง
ตัวกลางความหนา ตัวกลางความหนา
แน่นน้อย แน่นมากกว่า

เขตรอยต่อ
ตัวกลาง
รูปแบบการ
สะท้อนของคลื่น
รังสีตกกระ เส้น
รังสี
ทบ ปกติ
สะท้อน

มุม มุม
ตกกระ สะท้อน
ทบ ผิวสะท้อน
กฎการสะท้อน
คลื่น
1. รังสีของคลื
ตกกระทบ
่น เส้ นปกติ
รังสีสะท้อน ต้องอยู่บน
ระนาบเดี ยวกันเสมอ
2. มุมตกกระทบ เท่ากับ
การสะท้อนของคลื่น
แบ่งตามลักษณะของตัว
สะท้อ1.
นได้ตั2วสะท้
แบบ อนคือ
ปลายปิ ด

2. ตัวสะท้อน
ปลายเปิ ด
ตัวสะท้อน
เป็ปลายปิ
นตัวสะท้ด
อนที่ขวาง
การเคลื่อนที่ของคลื่น และ
ยึดตัวกลางตรงจุดที่คลื่น
กระทบไว้ไม่ให้ตัวกลางขยับ
ได้
ปลาย
ปิ ด
ลักษณะของคลื่นที่
สะท้อนจะมีการกระจัดตรง
ข้ามกั บ คลื่ น ที
่ ต
คลื่นสะท้อนมีเฟสกกระทบ
หรืเปลี
อ ¶่ยเรเดี
นไปย180 น o
ตัวสะท้อน
เป็ นตั วสะท้ด
ปลายเปิ อนที่ขวาง
การเคลื่อนที่ของคลื่น
โดยไม่ยึดตัวกลางตรงจุดที่
คลื่นกระทบ ตัวกลาง
สามารถขยับได้อย่าปลายงอิสระ
หรือได้ง่ายกว่าเดิมเปิ ด
ปลาย
เปิ ด
ลักษณะของคลื่นที่
สะท้อนจะมีการกระจัดใน
ทิศเดิหรื
มเหมื อนคลื
อ มีเฟส่ น ที ่
ตกกระทบ
เหมือนเดิม
คุณสมบัติการ
1.สะท้
ความถี ข
่ องคลื

อนของคลื่น น สะท้ อน
เท่ากับความถี่ของคลื่น
ตกกระทบ
2. ความเร็วและ
ความยาวคลื่นของคลื่น
สะท้อน เท่ากับความเร็วและ
ความยาวคลื่นของคลื่น
ตกกระทบ
3. ถ้าการสะท้อนไม่สูญเสีย
พลังงาน จะได้แอมปลิจูด
ของคลื่นสะท้อน เท่ากับ
แอมปลิจูดของคลื่นตกกระ
ทบ

ไม่เสีย เสีย
ภาพนี้เกิดจาก
ปรากฏการณ์ใด ?

การ
สะท้อน
ของคลื่น
ภาพนี้เกิดอะไร
ขึ้น ?

การสะท้อนรังสีความร้อน
ภาพนี้แสดง
ปรากฏการณ์ใด ?
การหักเห
(Refract
ของคลื่น
ion)
การหักเหของคลื่น
เป็ นการเปลี่ยน
แนวทางเดินของ
คลื่น
เกิ ด จากคลื
่ น
เคลื่อนที่ผ่าน
ตัวกลางต่างกัน
อาก
าศ

้ำ
ถ้าคลื่นตกกระทบตั้งฉาก
กับผิวรอยต่อของตัวกลาง
คลื่นจะไม่เกิด
ถ้าคลื่นตกกระ
ทบทำมุมใดๆกับผิว รอยต่อ
ของตัวกลาง คลื่นจะเกิด
เมื่อคลื่น
เคลื่อนที่ผ่าน
ตัวกลางต่างชนิดกัน
ที่มีความหนาแน่
จะทำให้อัอต น
ั ราเร็วของคลื่น
ต่ างกั น
และความยาวคลื่นเปลี่ยนแปลง
ไป แต่ความถี่ยังคงเดิม
ทำให้ทิศทางการเคลื่อนที่ของ
คลื่นเปลี่ยนแปลงไป เรียก
หลักการหักเห
1.ของคลื
เมื่อคลื่่น
นเคลื่อนที่ผ่าน
ตัวกลาง 2 ชนิดที่มีความ
หนาแน่นต่างกัน จะ
เกิดการหัก เหขึ
คลื่น
้ น ที
ตกกระทบ ตัวกลาง

่ ว
ิ รอย
ต่อของตัวกลางทั ้ตัวงกลาง
ที ่ 1สองนั้น
คลื่น
คลื่น ที่ 2
2. การหักเหของคลื่นทำให้
ความเร็ว (V) และ
ความยาวคลื่น () เปลี่ยน
ไป แต่ความถี่ (f) ยังคง
เดิม
3. คลื่นผ่านตัวกลางต่าง
ชนิดกันโดยไม่เกิดการ
หั
* กเห เมื่อ.......อตัวกลาง
ตกกระทบรอยต่
ตรงๆ โดยมุมตกกระทบ
เส้ น
เท่ากับ
ตัวกลา
0๐
( ตกตั
ปกติ้ ง ฉากรอยต่ อ
ตัวกลาง
งตัวA)
กลาง
B
มุมตกกระทบและมุม
* ตัวกลางทั้งสองมีความ
หนาแน่นเท่ากัน อัตราเร็วของ
คลื่นในตัวกลางทั้ง2จึงเท่ากัน
คลื่น
มุตกกระทบ
มตกกระทบเท่ เส้น าใดก็ตาม จะ
ปกติ มุม
ไม่เตักิวดการหักเห ตกกระความหนา
กลา
ง วA
ตั กลา ทบ แน่นเท่ากัน
มุม
ง B
หักเห คลื่น
มุมตกกระทบ = มุมหักเห
หักเห
4. เมื่อคลื่นเคลื่อนที่จาก
ตัวกลางที่โปร่งกว่า (ความ
หนาแน่นน้อย)ไปยังตัวกลาง
ที่ทึบกว่คลืา่ นตกกระ
(ความหนาแน่
เส้น
ปกติ มุมตกกระ

มากกว่ตัวา
ทบ
) คลื่นจะเบนเข้
กลา ทบความหนาแน่นาหา
งตัวA
เส้นปกติ
กลา น้ อย(โปร่ง) นมาก
ความหนาแน่
ง Bมุม (ทึบ)
มุมหักเหเล็หักกกว่
เหามุม คลื่น
หักเห
5. เมื่อคลื่นเคลื่อนที่จาก
ตัวกลางที่ทึบ ไปยังตัวกลาง
ที่โปร่งกว่าเส้น คลื่นหักเหจะ
เบนออกจากเส้
คลื
่ น
ตัตกกระทบ
วกลา
ปกติ น
มุม
ปกติ
ตกกระความหนาแน่น
ตั ทบ มาก (ทึบ) น
ง วA
กลาง ความหนาแน่
มุม คลื
น้อ่ นย (โปร่ง)
B
หักเห หักเห
มุมหักเห โตกว่า มุมตกกระทบ
เบนออกจากเส้นปกติ
กฎการหักเหของ
สเนลล์ (Snell)
กล่ า วว่ า “
สำหรับตัวกลางคู่หนึ่งๆ
อัตราส่วนของค่า Sine ของ
มุมตกกระทบในตัวกลางที่
1 (θ1) ต่อ ค่า Sine ของ
จากกฎการหักเห
ของสเนลล์ เขียนเป็ น
n = Sine
สมการได้ ว า
่ θ θ V
= 1
=
1Sine θ2 V
1
θ
เราเรียกอัตราส่วนนี้
2 2

ว่า ดัชนีหักเหของตัวกลาง
ข้อ
1. สัในตั
งเกตวกลางที่มี
ความหนาแน่นน้อย คลื่น
เคลื่อนที่ผ่านได้เร็วมาก (V
มาก) มุม2. หักในตั
เห ว(θกลางที
2) จะโตกว่
่มี า
มุ มตกกระทบน(มาก
ความหนาแน่ θ1) คลื่น
เคลื่อนที่ผ่านได้ช้า (V น้อย)
คลื่นตกกระ
ทบ มุม คลื่นตกกระ
θ1 ตกกระ
หนาแน่น ทบV
ทบจากตัวกลาง ที่มี
หนาแน่
น้อย น V
มาก ความหนาแน่นน้อย
มาก มุม
θ2
น้อย ไปยังตัวกลางที่มี
หักเห ความหนาแน่น
คลื่น
หักเห มากกว่า
V V หักเหเข้าหา
มุมหักน้เห
มาก อยθ2 เส้
เล็นกปกติ
กว่ามุม
คลื่นตกกระ
ทบ มุม คลื่นตกกระ
θ1 ตกกระ
หนาแน่น ทบV
ทบจากตั ว กลาง ที ม
่ ี
หนาแน่
มาก น น้อย ความหนาแน่นมาก
V
θ
น้อยมุม 2 มาก
ไปยังตัวกลางที่มี
หักเห คลื่น
หักเห
ความหนาแน่ นน้ อย
กว่า
V V หักเหออกจาก
น้อมุยมหักมาก
เห θ2 เส้ นปกติ
โตกว่า มุม
2
มุมวิกฤต
(Critical รังAngle)
รังสีสะท้อน
กลับ หมด θ tสี
โตกว่ามุม θi หักเห รังสี
วิกฤต ใน 2 หักเห
มุม ม θc
ตัวกลางเดิ 1
วิกฤต θ
θ1 2

แหล่ง
กำเนิดตัคลื
่น
วกลางหนา ตัวกลางหนา
Vน
แน่ น้มาก
อย V
แน่มาก
นน้อย
มุม θ เล็ก รอยต่อมุม θ ใหญ่
มุมวิกฤต (Critical
angle) คือ มุมที่รังสีของ
คลื่น ตกกระทบรอยต่อ
ตัวกลาง 2 ชนิดที่มีความ
หนาแน่นต่างกัน แล้ว
ทำให้รังสีหักเหทำมุม 90 ๐
ถ้ามุม
ตกกระทบโตกว่ามุมวิกฤต
คลื่นจะสะท้อนกลับไปใน
ตัวกลางเดิมทั้งหมด โดย
เราเรียก
ไม่มีการหักเหไปในตัวกลาง
ปรากฏการณ์ที่คลื่นสะท้อน
ที่ 2 การสะท้อน
กลับไปในตัวกลางเดิม
(Total
กลั้บ
ทั้งหมดนี Internal
ว่าหมด
.........
1 2 3

นักเรียนจะอธิบายภาพ
นี้อย่างไร ?
การสะท้อน
กลับหมดใน
ใยแก้ว
นำแสง (Fiber
Optic)
ท่อใยแก้วนำแสงที่ใช้ใน
เครื่องมือแพทย์
การหักเหของแสง
ผ่านเลนซ์นูน
นักเรียนคิดว่าภาพนี้เกิดจาก
ปรากฏการณ์ใด ?
เก่งจัง !
ลูกใครเนี่ย ?
เมื่อวัตถุเคลื่อนที่มา
ชนกัน นักเรียนคิดว่าจะเกิด
อะไรขึ้น ?
ถ้าคลื่น 2
ลูก เคลื่อนที่สวน
ทางกัน มาพบกัน
นักเรียนคิดว่าจะเกิด
อะไรขึ้นกับคลื่นทั้งสองนี้ ?
การรวมกันได้ของคลื่น
(Superposition)
เกิดอะไรขึ้นกับคลื่น
หลักการรวมกันได้
(Superposition
ของคลื่น
Principle)
กล่าวว่า “
เมื่อคลื่น 2 ขบวนหรือ
มากกว่าเคลื่อนที่มาพบกัน
การกระจัดของคลื่นลัพธ์ที่ตำ
แหน่งใดๆ จะเท่ากับผล
การกระจัดทิศ การกระจัดทิศ
นักเรียนคิดว่าคลื่น
ตามยาวเกิดการซ้อนทับกัน
ได้หรือไม่ ?
การที่คลื่นสามารถ
เคลื่อนที่ผ่านกันไปได้โดย
ไม่รบกวนซึ่งกันและกันนี้
การแทรก
เป็ นสมบัติของคลื่นที่เรียก
ว่า...............
(สอด
Interfere
แหล่งกำเนิด
(Coherent
คลื่นอาพันธ์
เป็ นแหล่งกำเนิด
source)
คลื่นตั้งแต่ 2 แหล่งขึ้นไป
ผลิตคลื่นที่มีความถี่เท่ากัน
ตลอด แต่มีเฟสต่างกันคงที่
การแทรกสอด (Interference)
คลื่นอาพันธ์ ตั้งแต่สองคลื่นเคลื่อนที่มาซ้อนทับกัน ผลรวมของอัมพลิจูด
ของคลื่นลัพธ์ จะเปลี่ยนแปลงไปและขึ้นกับ เฟสและอัมพลิจูดของคลื่นที่เข้า
มารวมกัน เป็ นไปตามหลักการซ้อนทับ (superposition principle)
การแทรกสอดแบบเสริ มกัน (constructive int
erference) เมื่อเฟสต่างกัน 0, 2, 4,…

การแทรกสอดแบบหักล้างกัน (Destructive i
nterference) เมื่อเฟสต่างกัน , 3,
5
สัน
คลื่น

ท้อง
คลื่น

แหล่งกำเนิดคลื่นแหล่ง
จุดตัดกันของหน้าคลื่น
คือจุดที่เกิดการแทรด
สอดของคลื่น
1. สันคลื่นรวมกับ
สันคลื่น

2.สันคลื่นรวมกับ
ท้องคลื่น
3.ท้องคลื่นรวมกับ
ท้องคลื่น

จุดแทรกสอดของ
การแทรกสอดของคลื่นจากแหล่ง
กำเนิดอาพันธ์เฟสตรงกัน
เมื่อคลื่นจากแหล่ง
กำเนิดอาพันธ์เคลื่อนที่มา
รวมกันอย่างต่อเนื่องเป็ น
ขบวน จะเกิดการรวม (
แทรกสอด) ของ
1. การรวมแบบเสริมกัน
เกิดจาก สันคลื่น รวมกับ
สันคลื่น หรือ ท้อง
คลื่นรวมกับท้องคลื่น ทำ
ให้อัมปลิจูดของคลื่นทั้งสอง
เราเรีนยแบบเวกเตอร์
รวมกั กจุดที่มีการรวมแบบ ได้
อัเสริ
มปลิจุกัจดนูดปฏิ
ม นีพ
ลั ้ ว่าธ์บทัพ
ี่มีขนาดใหญ่
ปฏิบัพ หรือ
2. การรวมแบบหักล้าง
กัน เกิดจาก สันคลื่น
รวมกับ ท้องคลื่น อัมปลิจู
ดลัพธ์ที่เกิดจากการรวมกัน
แบบเวกเตอร์ของอัมปลิจูด
เราเรี
ของคลื ยกจุ ด้ งทีสองจึ
่ นทั ่มีการรวมแบบ
งหักล้าง
จุดบัพีค่าลดลง
หักักนล้างกั น
ทำให้นี ้ วมา

บัพ หรือ
nod
es

Antino
การแทรกสอดเมื่อระยะห่างระหว่างแหล่ง
กำเนิดคลื่นเปลี่ยนไป
การแทรกสอดเมื่อ
ความยาวคลื่นเปลี่ยนไป
การทดลองการแทรกสอดของยัง Young’s
interference experiment
• 1801 Thomas Young
ทำการทดลอง พิสูจน์วา่ แสงเป็ นคลื่น โดยมี
ริ้วสว่ าง สมบัติการแทรกสอดผ่านช่องเปิ ดคู่
แสงเข้ า

ริ้วสว่ าง
ริ้วสว่ าง • แสงจากแหล่งกำเนิดแสง S0 มากระทบ
S2

S0 ริ้วสว่ าง ช่องเปิ ดคู่ S1 และ S2 เกิดภาพบนฉาก


C เป็ นริ้ วมืด (dark band, dark frin
ริ้วสว่ าง
ges or minima) และริ้ วสว่าง (brigh
S1

ริ้วสว่ าง t band, bright fringes or maxima)


ริ้วสว่ าง เรี ยกลักษณะดังกล่าวว่า “ริ้ วการแทรก
A B C สอด” (interference pattern)
ลวดลายการแทรกสอดจากช่องเปิ ดคู่

แสงเข้ า

S2

S1

D
หลักของฮอยเกนส์
(Huygens s Principle)
,
Christian
นัHuygens

วิทยาศาสตร์
ชาว
เนเธอร์แลนด์
หรือ
ฮอยเกนส์ อธิบายหลักเกณฑ์
“ ทุ
การเกิ กๆจุ
่ นไว้วด่า.........
ดคลื บนหน้าคลื่น
สามารถทำหน้าที่เป็ นต้น
กำเนิดของคลื่นลูกใหม่ได้

เมื่อตัวกลางถูกรบกวน
ทำให้เกิดคลื่นลูกแรก
ทุกๆจุดบนหน้าคลื่นลูกแรก
นี้จะทำหน้าที่เป็ นต้นกำเนิด
คลื่น เส้ นสัมเกิ
ทำให้ ผัดสหน้
ของหน้ าคลื่น
าคลื่น
ย่อยกระจายออกไป
ยเหล่านี้จะเป็ นหน้าคลื่น
รวม และทำหน้าที่ทำให้เกิด
หลักของฮอยเกน
ส์น้ ใี ช้อธิบาย
ปรากฏการณ์ต่างๆ
โดยเฉพาะอย่
เกี่ยวกับคลื่น า ง
ยิ่งเรื่อง.....
การเลี้ยวเบน ได้ เป็ น
อย่างดี
การเลี้ยวเบนของคลื่น
(Diffraction)

คลื่น
การเลี้ยวเบนของ
คลื่นต่อเนื่อง
นักเรียนจะอธิบายภาพนี้
เมื่อมีสิ่ง
กีดขวางมากั้นทางเดินของ
คลื่นเพียงบางส่วน คลื่น
สามารถเคลื่อนที่ไปยังด้าน
หลังการเลี
ของสิ่งกี้ ย
ดวเบน
ขวางนั้นๆได้
เรียกว่(า....
Diffract
ของคลื่น
ของคลื่น
ตัวกลางเลี้ยวเบนไม่
สรุปเกี่ยวกับการ
1.เลี
้ ยวเบน
การเลี
้ ยวเบน คือ การ
ที่คลื่นสามารถเคลื่อนที่
ผ่านสิ่งกีดขวาง โดย
เคลื่อนที่อ้อมไปด้านหลัง
ของสิ่งกีดขวาง
2. การเลี้ยวเบนจะ
เกิดได้ดี ถ้าความกว้าง
ของช่องแคบ (Slit) เล็ก
กว่า(หรือเท่d
ากับ <
โดยเสมื อนว่า่ นช่ของคลื
ความยาวคลื องแคบนั
่ น ้น
, = λ )
ทำหน้าที่เป็ นแหล่งกำเนิด
คลื่นใหม่ ให้หน้าคลื่น
การเลี้ยวเบนผ่านช่องแคบ
เดี่ยว Single Slit

จะเกิดคลื่นใหม่หลัง
แผ่นกั้นช่องแคบเดี่ยว ที่
คลื่นต่อเนื่อง หน้าคลื่นเส้นตรง
เคลื่อนที่ผ่านช่องแคบเดี่ยว จะ
ได้คลื่นที่มีลักษณะอย่างไร ?
นักเรียนคิดว่าขนาดของ
ช่องแคบ (Slit) จะมีผลต่อ
การเลี้ยวเบนของคลื่นหรือ
ไม่ ?
การเลี้ยวเบนของ การเลี้ยวเบนของ
คลื่นหน้าคลื่นเส้นตรง คลื่นหน้าคลื่นเส้นตรง
ผ่านช่องแคบเดี่ยว ผ่านช่องแคบเดี่ยว
(Single Slit) ที่ (Single Slit) ที่
การเลี้ยวเบนผ่าน
( Double
ช่องแคบคู่

?
Slits )
การเลี้ยวเบนผ่านช่องแคบคู่
ทำให้เกิดคลื่นใหม่ 2 กระบวนที่
มีหน้าคลื่นเป็ นวงกลม และเกิด
คุณสมบัติอ่ น ื ๆที่
1. เกิดกกั
การถู ดูดบกลื
คลืน่ น(Absorption)
เมื่อคลื่นเคลื่อนที่ผ่านเข้าไปในตัว
กลางใดๆ จะมีการถ่ายเทพลังงาน
ของคลื่นบางส่วนให้กับตัวกลาง
นั้นๆดังทำให้
นั้นเมืพ
่ อลัคลื
งงานของคลื
่ นเคลื่อนที่ไ่ นปได้
ลด
ลง มีผลให้
ระยะหนึ ่ง อพลั
ัมปลิ จูดของคลื่ น
งงานของคลื ่ นจึลด

ลง
ลดลงเรื่อยๆ
2. การกระจัดกระจาย หรือการก
ระเจิง (Scattering) เมื่อคลื่น
ตกกระทบบนตัวกลางที่รวมกัน
เป็ นกลุ่ม พลังงานบางส่วน
จะสะท้อนออกมา บางส่วนหักเห
เข้าไปในตัวกลาง ทำให้ถูกดูดกลืน
และเปลี่ยนรูปไปเป็ นพลังงานรูป
อื่น บางส่วนถูกคายออกมาอย่าง
ไม่เป็ นระเบียบ ทำให้เกิดการกระ
สนธยาฟ้ าแดง จาก
การกระเจิงของแสงสีฟ้า
สร้างสรรค์
โดย
ครูอัญฑิกา โพธิ์
กลุ่มไชยย้ อย ยนรู้
สาระการเรี
วิทยาศาสตร์
โรงเรียนท่าทอง
พิทยาคม
พบกันใหม่เรื่อง
ต่อไป
เสียง
สว ัสดี

You might also like