Download as pptx, pdf, or txt
Download as pptx, pdf, or txt
You are on page 1of 14

กฎหมายแพ่งและพาณิชย์

1. ความหมายของกฎหมายแพง่ และ
พาณิ ชย ์
กฎหมายแพ่ ง เป็ นกฎหมายสารบั
ญ ญติ ห รื
อ กฎหมายเอกชนว่ าด้
ว ยเรื
อ ่ ง

สิทธิ หน้ าที่ ความสัมพันธ์


ระหว่างเอกชนต่อเอกชน ตัง้ แต่เกิดจนกระทัง่ ตาย
กฎหมายแพ่งของไทยบัญญัติในร ูปของประมวลกฎหมาย
รวมกับกฎหมายพาณิชย์  

รวมเรียกว่า กฎหมายแพ่งและพาณิชย์
กฎหมายพาณิชย์

  กฎหมายว่าด้วยสิทธิและหน้าที่ของบ ุคคล อันเป็นกฎหมายที่เกี่ยวกับการ


เศรษฐกิจและการค้า โดยวางระเบียบเกี่ยวกับการค้าหรือธ ุรกิจระหว่างบ ุคคล
        
การตัง้ ห้างหน้ ุ ส่วน

การประกอบการ เรือ่ งเกี่ยวกับตัว๋ เงิน (เช่น เช็ค)

กฎหมายว่าด้วยการซื้อขาย การเช่าทรัพย์ การจำนอง


การจำนำเป็นต้น    
2. การจ ัดทำประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์

เริ่มขึ้นในสมัยรัชกาลที่ 5 เริ่มร่างครัง้ แรก


ใน ร.ศ. 127 ตรงกับ พ.ศ. 2451
เพื่อริเริ่มขอยกเลิกบรรดาสนธิ สญ
ั ญาที่ราชอาณาจักรสยาม
ทำไว้กบั ต่างประเทศอันมีผลให้สยามต้องเสียเปรียบในด้าน
สิทธิ สภาพนอกอาณาเขตและเอกราชทางการศาล

₊ ₊
โดยมีประมวลกฎหมาย ประกอบกับกฎหมายเดิมของ
ประมวลกฎหมายแพ่ง
แพ่งของประเทศ ประเทฝรัง่ เศส และส สยามเอง กับทัง้ กฎหมายของ
เยอรมัน ญี่ป่ นุ เป็น วิส เป็น แม่แบบรอง ชาติอื่นๆ และกฎหมายระหว่าง
แม่แบบหลัก ประเทศบางส่วน
ร ัชกาลที่ 6 มีการประกาศใชก ้ ฎหมายแพ่งและพาณิชย์ภายใต้อทิ ธิพล
ประมวลกฎหมายแพ่งฝรัง่ เศส แต่ประชาชนอ่านยากและไม่เข้าใจ จึง
จัดทำขึ้นใหม่ภายใต้อทิ ธิพล กฎหมายแพ่งเยอรมัน จนกระทัง่ จัดทำสำเร็จและประกาศใช้เป็ นกฎหมายแพ่งและพาณิ ชย์เรื่อยมาจนครบ

จนครบ 6 บรรพ ในรัชกาลที่ 8

ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิ ชย์ ที่บงั คับใช้อยู่ ณ ปัจจุบนั มีท งั้ หมด 1755 มาตรา อันประกอบไปด้วยเนื้ อหาต่าง ๆ แยกเป็ นหมวดหมู่ ทัง้ หมด
6 บรรพ
การแบ่งหมวดหมูข่ อง
ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์
ปัจจ ุบันกฎหมายแพ่งและกฎหมายพาณิชย์ของ
ประเทศไทยได้บญ ั ญัติรวมเป็นกฎหมายฉบับเดียวกัน
เรียกว่า "ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์"
แบ่งออกเป็น 6 บรรพ 1755 มาตรา             
บรรพ 1 บรรพ 2 บรรพ 3
ว่าด้วยหล ักทว่ ั ไป ว่าด้วยหนี้ ั
ว่าด้วยเอกเทสญญา

บรรพ 4 บรรพ 5 บรรพ 6



ว่าด้วยทร ัพย์สน ว่าด้วยครอบคร ัว ว่าด้วยมรดก  
โดยมีผลใช้บงั คับครัง้ แรก
ใน พ.ศ. 2468 จนถึงปัจจุบนั
ประมวลกฎหมายดังกล่าวมีอายุ
เกือบหนึ่งศตวรรษแล้ว
ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ : บรรพ 1-6
บรรพ 1 หลักทัว่ ไป  เป็ นบรรพที่บญ
ั ญัตหิ ลักการทัว่ ไป
ประกอบด้วย บทบัญญัติ 6 ลักษณะ
ลักษณะ 1 บทเบ็ดเสร็จทัว่ ไป
ลักษณะ 2 บ ุคคล
ลักษณะ 3 ทรัพย์
ลักษณะ 4 นิติกรรม
ลักษณะ 5 ระยะเวลา
ลักษณะ 6 อาย ุความ
บรรพ 2 หนี้  เป็ นบรรพที่บญ
ั ญัติหลักการ
ทัว่ ไปเกี่ยวกับหนี้ และบ่อเกิดแห่งหนี้
ประกอบด้วยบทบัญญัติ 5 ลักษณะ ดังนี้
ลักษณะ 1 บทเบ็ดเสร็จทัว่ ไป
ลักษณะ 2 สัญญา
ลักษณะ 3 จัดการงานนอกสัง่
ลักษณะ 4 ลาภมิควรได้
ลักษณะ 5 ละเมิด
ไม่ 
บรรพ 3 เอกเทศสัญญา เป็นบรรพที่บญ ั ญัติหลักเกณฑ์ของสัญญาต่างๆ
ื ฝากทรัพย์ จำนำ เป็นต้นประกอบด้วยบทบัญญัติ 23
เช่น ซื้อขาย กย้ ู ม
ลักษณะ คือ
ลักษณะ 1 ซื้อขาย ลักษณะ 11 ค้ำประกัน
ลักษณะ 2 แลกเปลี่ยน ลักษณะ 12 จำนอง ลักษณะ 18 การพนันและขันต่อ
ลักษณะ 3 ให้ ลักษณะ 13 จำนำ ลักษณะ 19 บัญชีเดินสะพัด
ลักษณะ 4 เช่าทรัพย์ ลักษณะ 14 เก็บของใน ลักษณะ 20 ประกันภัย
ลักษณะ 5 เช่าซื้อ คลังสินค้า ลักษณะ 21 ตัว๋ เงิน
ลักษณะ 6 จ้างแรงงาน ลักษณะ 15 ตัวแทน ลักษณะ 22 หน้ ุ ส่วนและบริษทั
ลักษณะ 7 จ้างทำของ ลักษณะ 16 นายหน้า ลักษณะ 23 สมาคม
ลักษณะ 8 รับขน ลักษณะ 17 ประนีประนอม
ลักษณะ 9 ยืม ยอมความ
ลักษณะ 10 ฝากทรัพย์ 18 กา
บรรพ 4 ทรัพย์สิน  เป็นบรรพที่บญ
ั ญัติหลักเกณฑ์เกี่ยวกับทรัพย์สิน และ

สิทธิต่างๆในทรัพย์สินประกอบด้วยบทบัญญัติ 8 ลักษณะ
ลักษณะ 1 บทเบ็ดเสร็จทัว่ ไป
ลักษณะ 2 กรรมสิทธิ์
ลักษณะ 3 ครอบครอง
ลักษณะ 4 ภาระจำยอม
ลักษณะ 5 อาศัย
ลักษณะ 6 สิทธิเหนือพื้นดิน
ลักษณะ 7 สิทธิเก็บกิน
บรรพ 5 ครอบครัว เป็ นบรรพที่บญ
ั ญัติความสัมพันธ์
ของบ ุคคลในครอบครัว ประกอบด้วยบทบัญญัติ 3
ลักษณะ ดังนี้

ลักษณะ 1 การสมรส
ลักษณะ 2 บิดามารดากับบ ุตร
ลักษณะ 3 ค่าอ ุปการะเลี้ยงด ูบ ุตร
บรรพ 6 มรดก เป็นบรรพที่บญ
ั ญัติหลักเกณฑ์เกี่ยวกับ
กองมรดกประกอบด้วย บทบัญญัติ 6 ลักษณะ ดังนี้
ลักษณะ 1 บทเบ็ดเสร็จทัว่ ไป
ลักษณะ 2 สิทธิโดยธรรมในการรับมรดก
ลักษณะ 3 พินยั กรรม
ลักษณะ 4 วิธีจดั การและปันทรัพย์มรดก
ลักษณะ 5 มรดกที่ไม่มีผร้ ู บั
ลักษณะ 6 อาย ุความ
หลักทัว่ ไป : ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์

You might also like