Download as pptx, pdf, or txt
Download as pptx, pdf, or txt
You are on page 1of 10

ประเพณี ไทย

และ
วัฒนธรรมไทย
๔ ภาค
ประเพณี ไทยและวัฒนธรรมไทย

ประเพณี ไทย หมายถึง แบบความเชื่อ ความคิด การกระทำ ค่านิ ยม ทัศนคติ ศีลธรรม


จารีต ระเบียบ แบบแผน และวิธกี ารกระทำสิ่งต่าง ๆ ตลอดจนถึงการประกอบพิธกี รรมในโอกาส
ต่าง ๆ ที่กระทำกันมาแต่ใน อดีต ลักษณะสำคัญของประเพณี คือ เป็นสิ่งที่ปฏิบตั เิ ชื่อถือมานาน
จนกลายเป็นแบบอย่างความคิด หรื อการ กระทำที่สืบต่อกันมา และยังมีอิทธิพลอยูใ่ นปั จจุบนั
วัฒนธรรม หมายถึง วิถชี วี ิตของคนไทยในสังคมไทย ซึ่งเป็นแบบแผนของการประพฤติ
ปฏิบตั ทิ ่ ดี งี านและการแสดงออกถึงความรู ส้ ึกนึ กคิดในสถานการณ์ตา่ งๆ ที่สมาชิกในสังคมไทย
สามารถรู ้ เข้าใจ ซาบซึ้ง ยอมรับ และใช้ปฏิบตั ริ ่วมกันในสังคมไทย ได้แก่ ภาษา
ประเพณี ไทยและวัฒนธรรมไทยภาคกลาง

ภาคกลาง ดินแดนแห่งความหลากหลายทางประเพณีและวัฒนธรรมที่
มีความน่าสนใจไม่นอ้ ยไปกว่าภาคอื่นของไทย เพราะเป็ นเมืองที่เต็มไปด้วย
เสน่หม์ นต์ขลัง ภาคกลางประเพณีมปี ระเพณีสำคัญดังนี้
ประเพณีอุม้ พระดำน้ำ ประเพณีว่ งิ ควาย ประเพณีโยนบัว ประเพณีกำฟ้ า
ประเพณีตกั บาตรดอกไม้ ประเพณีกวนข้าวทิพย์ ประเพณีตกั บาตรเทโว
ประเพณีทำขวัญข้าว ประเพณีเผาเทียนเล่นไฟ
ประเพณี ภาคกลางประเพณี โยนบัว

ประเพณี รบั บัว เป็ นประเพณีเก่าแก่สิบทอดกันมาแต่โบราณ ของชาวอำเภอ


บางพลี จังหวัดสมุทรปราการ โดยจัดงานทุกวันขึ้น ๑๔ ค่ำ เดือน ๑๑ ของทุกปี โดยใน
สมัยก่อน อำเภอบางพลี มีประชาชนอาศัยอยูแ่ บ่งเป็ น ๓ กลุม่ คือ คนไทย คนลาว
และคนรามัญ ทุกกลุม่ ชนต่างทำมาหากินและอยูร่ ่วมกันอย่างอบอุน่ เสมือนญาติมิตร
ประเพณี รบั บัว เกิดขึ้นเพราะความมีน้ำใจที่ดตี อ่ กันระหว่างคนในท้องถิ่นกับคน
มอญพระประแดงซึ่งทำนาอยูท่ ่ ตำี บลบางแก้ว ในช่วงออกพรรษาจะกลับไปทำบุญที่
อำเภอพระประแดง ได้เก็บดอกบัวเพื่อบูชาพระหรื อถวายแด่พระสงฆ์และฝากเพื่อนบ้าน
ประเพณี ไทยและวัฒนธรรมไทยภาคใต้

ภาคใต้ ดินแดนแห่งความหลากหลายทางประเพณีและวัฒนธรรมที่มี
ความน่าสนใจไม่นอ้ ยไปกว่าภาคอื่นของไทย ชวนให้น่าขึ้นไปสัมผัส
ความงดงามเหล่านี้ย่ งิ นักภาคใต้มปี ระเพณีสำคัญประเพณีลอยเรื อ
งานประเพณีแห่พระแข่งเรื อ ประเพณีข้ ึนถ้ำวัดถ้ำเขาขุนกะทิง
ถือศีลกินเจ ประเพณีสารทเดือนสิบ ประเพณีตกั บาตรธู ปเทียน
ประเพณีลากพระ (ชักพระ) ประเพณีอาบน้ำคนแก่
ประเพณี ภาคใต้ประเพณี ลอยเรือ

ประเพณี ลอยเรือชาวเล เป็ นงานประเพณีเก่าแก่ท่ หี าดูได้ยากของ


ชาวเลเกาะลันตา งานนี้จดั ขึ้นตรงกับวันเพ็ญเดือน ๖ และเดือน ๑๑ โดย
กลุม่ ชาวเลจะมาชุมนุ มกันทำพิธลี อยเรื อ เพื่อสะเดาะเคราะห์ มีการร้องรำ
ทำเพลง และการร่ายรำรอบลำเรื อด้วยจังหวะและทำนองเพลงรองเง็ง
ความสำคัญ ประเพณีลอยเรื อเป็ นประเพณีท่ สี ืบทอดมาจาก
บรรพบุรุษดัง้ เดิมของชาวอูรักลาโวย ที่อาศัยอยูใ่ นจังหวัดกระบี่เมื่อถึง
เวลาที่กำหนดสมาชิกในชุมชนแยกย้ายถิ่นไปทำมาหากินในแถบทะเล
และหมูเ่ กาะต่างๆ ในทะเลอันดามันจะพากันเดินทางกลับมายังถิ่นฐาน
เพื่อประกอบพิธี
ประเพณี ไทยและวัฒนธรรมไทยภาคอี สาน

ประเพณีลว้ นได้รับอิทธิพลมาจากสิ่งแวดล้อมภายนอกที่เข้าสู ส่ งั คมรับ


เอาแบบปฏิบตั ทิ ่ หี ลากหลายเข้ามาผสมผสานในการดำเนิ นชีวิต
ประเพณีจึงเรียกได้วา่ เป็ น วิถแี ห่งการดำเนิ นชีวิตของสังคม โดยเฉพาะ
ศาสนาซึ่งมีอทิ ธิพลต่อประเพณีไทยมากที่สุดมีประเพณีสำคัญดังนี้
เทศกาลขึ้นเขาพนมรุ ง้ เทศกาลผีตาโขน เทศกาลแห่เทียนเข้าพรรษา
เทศกาลไหลเรื อไฟ เทศกาลเที่ยวทุง่ ดอกกระเจียวบาน เทศกาลชมแห่
นาคโหด เทศกาลบุญบัง้ ไฟ
ประเพณี ภาคอีสานประเพณี บญ
ุ บัง้ ไฟ

ประเพณี บุญบัง้ ไฟ
ประวัตคิ วามเป็ นมา ประเพณีบุญบัง้ ไฟ เป็ นประเพณีหนึ่ งของภาคอีสาน
ของไทยรวมไปถึงลาว โดยมีตำนาน มาจากนิ ทานพื้นบ้านของภาคอีสานเรื่ อง
พระยาคันคาก เรื่ องผาแดงนางไอ่ ซึ่งในนิ ทางพื้นบ้าน ดังกล่าวได้กล่าวถึง การที่
ชาวบ้านได้จดั งานบุญบัง้ ไฟขึ้นเพื่อเป็ นการบูชา พระยาแถน ซึ่งชาวบ้านมีความ
เชื่อว่า พระยาแถนมีหน้าที่คอยดูแลให้ฝนตก หากหมูบ่ า้ นใดไม่จดั ทำการจัดงาน
บุญบัง้ ไฟบูชา ฝนก็จะไม่ตกถูกต้องตามฤดูกาล
ประเพณี บุญบัง้ ไฟ เป็ นประเพณีสำคัญของภาคอีสานบ้านเราที่ปฏิบตั สิ ืบทอด
กันมาตัง้ แต่สมัยโบราณ ถือเป็ นหนึ่ งในฮีตสิบสองเดือนของชาวอีสานที่ทำกันใน
เดือน ๖ช่วงเข้าสู ฤ่ ดูฝนซึ่งเป็ นฤดู ทำนา จะมีการจุดบัง้ ไฟเพื่อบูชาเทพยดา และสิ่ง
ศักดิ์สิทธิ์ทงั้ หลาย หรื อที่ชาวอีสานเรียกกันว่า พญาแถน
ภาคประเพณี ไทยและวัฒนธรรมไทยเหนื อ

เกิดจากการผสมผสานการดำเนิ นชีวิต และศาสนาพุทธความเชื่อเรื่ องการ


นับถือผี ส่งผลทำให้มปี ระเพณีท่ เี ป็ นเอกลักษณ์ของประเพณีท่ จี ะแตกต่างกัน
ไปตามฤดูกาล ทัง้ นี้ ภาคเหนื อจะมีงานประเพณีในรอบปี แทบทุกเดือน จึงขอ
ยกตัวอย่างประเพณีภาคเหนื อบางส่วนมานำเสนอประเพณีสำคัญมีดงั นี้ประ
เพณีย่ เี ป็ ง ประเพณีทานขันข้าว ประเพณีอุม้ พระดำน้ำ
ประเพณีปอยส่างลอง(งานบวชลูกแก้ว) ประเพณีฟ้อนผีป่ ูย่า
ประเพณีสลากภัต
ประเพณี ไทยภาคเหนื อประเพณี ยี่เป็ ง

ประเพณี ยี่เป็ ง เป็ นประเพณีของชาวล้านนา จะจัดขึ้นอย่างยิ่ง


ใหญ่ทุก ๆ ปี ท่ จี งั หวัดเชียงใหม่ ที่มาของชื่อมาจากภาษาล้านนา โดย
คำว่า “ยี่” หมายถึง เดือนที่สองของคนล้านนา ส่วนคำว่า “เป็ ง”
หมายถึง พระจันทร์ในคืนวันเพ็ญ เนื่ องจากประเพณีน้ ีจะจัดขึ้นในวัน
เพ็ญเดือนสองของชาวล้านนา ซึ่งตรงกับเดือนสิบสองตามปฏิทนิ
จันทรคติไทย กิจกรรมที่จะมีข้ ึนในช่วงประเพณีตลอด ๔ วัน มีดว้ ย
กันหลากหลาย เช่น การแสดงประติมากรรมโคมไฟสีสนั ยี่เป็ ง การ
ประกวดหนู นอ้ ยยี่เป็ ง พิธบี วงสรวงขอขมาแม่น้ำปิ ง การเข้าวัดทำบุญ

You might also like