Slide 1-การจัดการพื้นที่ดินเค็มภาคอีสาน

You might also like

Download as pptx, pdf, or txt
Download as pptx, pdf, or txt
You are on page 1of 20

การจัดการพื้นที่ดินเคม

็ ภาคตะวันออกเฉียงเหนื อ
Slide 1
ดินเค็มในภาคตะวันออกเฉี ยงเหนื อเกิดจากชั นเกลื ้ อหินมหาสารคาม ซ่ึงอยูล่ ึกตังแต้ ่ 20 เมตร
ขึ้นไป เกลือจึงเคลื่อนที่ข้ึนมาสูผ ่ ิวดินได้โดยการนำพาของน้ำใตด ้ ินเค็ม การที่จะควบคุมไมใ่ ห้
น้ำใตด้ ินเค็มเคลื่อนที่มาสูผ่ ิวดิน สามารถทำไดโ้ ดใชร้ ะบบระบายน้ำใตด ้ ิน ซ่ึงนอกจากจะ
ควบคุมไมใ่ หน ้ ินเคลื่อนที่เขา้ สูผ
้ ้ำใตด ่ ิวดินไดแ
้ ลว้ ยังชว่ ยในการลา้ งดินโดยธรรมชาติไดด ้ ว้ ย
ทศไทยมีพ้ืนที่ท่ีไดร้ ั บอิทธิพลจากเกลือประมาณ 19.7 ลา้ นไร่ มีการแพร่กระจายอยูใ่ น
ะวันออกเฉี ยงเหนื อ คิดเป็ นพื้นที่ประมาณร้อยละ 17 ของพื้นที่
หลักมาจากเกลือในหมวดหินมหาสารคาม มีน้ำเป็ นตัวทำละลาย และเป็ นพาหะในการกระจาย
ลือ
การเกิดและสภาพแวดล ้อมของการ
การเกิดและสภาพแวดลเกิ
อ ดดินเค็ม
้ มของการ
เกิดดินเค็ม
ดินที่ได้รับอิทธิพลของความเค็มพบมากในสภาพที่มีภูมิอากาศแบบกึ่งช้ ืน คอ่ นขา้ งแห้งแลง้
เนื่ องจากในสภาพธรรมชาติไมม ่ ีปริ มาณน้ำเพียงพอที่จะชะลา้ งละลายเกลือที่ละลายได้ออก
ไปจากดิน
องคป ์ ระกอบของสภาพแวดลอ
้ มใน
1.สภาพภูมิ การเกิดดินเค็ม 3.ความสัมพันธของกิจกรรม

อากาศ
สภาพภูมิอากาศที่มีผลตอ ่
น้ำในดิน
การเกิดดินเค็มคือคอ่ น
ขา้ งแห้งแลง้ และการกระ
จายตัวของฝนไม่
สม ่ำเสมอ

2.แหลง่ เกลือ
ภาคอีสานมีแหลง่ เกลือ
จากหินมาหาสารคามและ
้ นที่มี
มีเกลือสะสมในชั นหิ
ลักษณะเป็ นโดมเกลือ
ลักษณะการเกิดดินเค็มในภาคตะวัน
ออกเฉียงเหนือ
ณที่พบการแพร่กระจายของดินเค็มในภาคตะวันออกเฉี ยงเหนื อมีอยู ่ 3 บริ เวณ คือ
โคราช
สกลนคร
มต ่ำทางตอนเหนื อของภาค
ั พันธ์ของดินเค็มกับธรณีวท
ความสม ิ ยา
สภาพภูมป
ิ ระเทศ
สภาพภูมป
ิ ระเทศของภาคตะว ัน
ออกเฉียงเหนือ

แอ่งสกลนค

า ภู พ าน
ทิวเข

แองโคราช
แอง่ สกลนคร

แอง่ โคราช
ร้อย
เนื้ อที่ (ไร่) ละ
พบคราบเกลือบนผิวดิน > 50 % 104,019 0.10

พบคราบเกลือบนผิวดิน 10 - 50 % 228,232 0.22


การจัดแบ่ง
ชนั ้ ปริมาณ พบคราบเกลือบนผิวดิน 1 - 10 % 3,836,342 3.63

คราบเกลือ พบคราบเกลือบนผิวดิน <1 % 26,927,687 25.51

บนผิวดิน อยูข่ า้ งลา่ ง


้ นเกลือรองรับ
บริ เวณสูงมีชันหิ 20,549,221 19.47

บริ เวณที่ไมม
่ ีผลกระทบจาก 42,524,729 40.29
คราบเกลือ
บริ เวณพื้นที่ทำเกลือ 1,096 0.001
พื้นที่ภูเขาและแหลง่ 11,362,574 10.76

รวมทังหมด 105,553,963 100
แนวทางการจ ัดการดินเค็มในภาค
ตะว ันออกเฉียงเหนือ
แนวทางแก้ไขและการปรั บปรุ งดิ นเค็ม ต้องอาศั ย การจัดการดิ น น้ำ และ
พื ช ไปพร้อมกั นโดยต้องสั มพั นธก ์ ั นอย่างใกล้ชิด
แนวทางการแก้ไขอาจแบ่งเป็ น 3 แนวทาง
คื อการป้องกันการเกิ ดดิ นเค็มโดยรั กษาสมดุ ลของสภาพแวดล้อมแห่งธรรมชาติ
1.
โดยเฉพาะในการรั กษาความชุ่ มชื้น สร้างระบบอนุ รั กษ์ดิ นและน้ำในพื้ นที่ ท่ี ทำการ
เกษตร ไม่ปล่อยพื้ นที่ ให้วา่ งเปล่า
2. การป้องกั นการแพร่กระจายและการกำจั ดดิ นเค็ม ควรมี การสำรวจด้านวิศวกรรม
ในการจั ดทำคู คลองระบายน้ำ เพื่ อตั ดกระแสการไหลของน้ำใต้ดินที่ พัดพาเกลื อที่
สะสมอยู ่ แล้วเบนลงสู แ ่ หล่งน้ำธรรมชาติ และศึกษาสภาพทางด้านอุ ทกธรณี วิทยา
เพื่ อให้รู้ ทิศทางการไหลของน้ำใต้ดินและน้ำบนดิ น รวมถึ งคุ ณภาพของน้ำใต้ดิน
และสามารถคำนวณปริ มาณน้ำที่ จะใช้ล้างเกลื อด้วยระบบท่อระบายน้ำใต้ดิน เพื่ อ
ป้องกั นการพั ดพาเกลื อขึ้ นสู ผ
่ ิวดิ นทำให้เป็ นอุ ปสรรคในการทำการเกษตร
3. การใช้ท่ี ดินเค็มให้เกิ ดประโยชน์สูงสุ ด โดยจัดทำแผนที่ ดินเค็ม และแบ่งชั ้ น
ความเค็มของดิ นเพื่ อวางแผนบริ หารจัดการพื้ นที่ ดินเค็มตามความเหมาะสม เช่น
การปลู กพื ชทนเค็ม ตามระดับความเค็มของพื้ นที่ เนื่ องจากพื ชแต่ละชนิ ดมี ความ
สามารถทนเค็มได้มากน้อยต่างกัน
การแก้ไขปัญหาโดยใช้มาตรการด้าน
วิศวกรรม
นอกจากวิธีการลดและป้องกั นการแพร่กระจายดิ นเค็มด้วยวิธีการปลู กไม้
ยื นต้นทนเค็ม และหญ้าชอบเกลื อแล้ว การแก้ไขปัญหาดิ นเค็มด้วยวิธี
ทางวิศวกรรมก็ เป็ นวิธีท่ี ให้ผลดี รวดเร็ ว และสามารถป้องกั นได้ดี
มาตรการทางด้านวิศวกรรม มี ดังนี้
1.การระบายน้ำผิวดิ น ด้วยการปรั บสภาพพื้ นที่ ให้ราบ
เรี ยบและสม่ำเสมอ โดยลาดเอี ยงไปในทางเดี ยวกัน
เพื่ อให้การระบายน้ำผิวดิ นไม่ให้ขังในพื้ นที่ แล้วไหล
ไปยั งคู ระบายน้ำหลั ก สง่ ผลให้เกลื อที่ ผิวดิ นไม่ปน
เปื้ อนกับน้ำใต้ดิน
2.การระบายน้ำแบบร่องเปิ ด หรื อคู คลอง
สามารถระบายน้ำได้ปริ มาณมากๆ โดยการขุ ด
ร่องน้ำกว้าง 3 ม. ลึ ก 1.5 ม. เพื่ อระบายน้ำจาก
ผิวดิ นและในพื้ นที่ ลงสู แ
่ หล่งน้ำธรรมชาติ และ
คั นคู สามารถปลู กพื ชทนเค็มได้
3.การระบายน้ำใต้ดิน เป็ นการล้างเกลื อออกจากพื้ นที่
ให้พ้นระบบรากพื ช โดยทำการฝังท่อระบายน้ำใต้ดิน
ลึ กประมาณ 1.2-1.5 ม. ระยะห่างขึ้ นอยู ่กับค่าการซึม
น้ำของดิ น อยู ่ท่ี ประมาณ 20-30 ม. ท่อจะระบายน้ำเค็ม
ออกจากพื้ นที่ และไหลรวมกั นในคลองระบายน้ำแบบ
ระบบระบายน้ำแบบร่อง
เปิ ด(Open-drain Systems)
ในการคำนวณหาระยะห่างของคูระบายน้ำขึน
้ อยูช
่ นิดของพืชทีป ิ ธิภาพการระบายน้ำของดิน
่ ลูก ประสท

h = hd – hw ------ (1)
h = hydraulic head (m)
hd = drain depth (m)
hw = design depth of the water table (m)
ระบบระบายน้ำใตด้ ิน
(Sub-drain Systems)
ในการคำนวณหาระยะห่างของระบบระบายน้ำใต ้ดินขึน
้ อยูช
่ นิดของพืชทีป ิ ธิภาพการระบายน้ำ
่ ลูก ประสท
ของดิน

h = hd – hw ------ (1)
h = hydraulic head (m)
hd = drain depth (m)
hw = design depth of the water table (m)
ผลงานทีผ
่ า่ นมา
ผลสำเร็จการใช้ระบบวิศวกรรมในการ
จัดพืการปั
้นที่ดินญหาดิ นเเค็
เค็มจัดบริ มจั
วณบ้ ด
านหนองบ่ อ ม.7 ต.เปื อยใหญ่ อ.โนนศิลา จ.ขอนแก่น
แบบเลขที่ ขก.0260
ปั ญหา: เกษตรกรทำนาข้าวไม่ค่อยได้ผลผลิต
พื้นทีไ่ถข:
การแก้ ูกปล่
สำนัอยทิง้ ร้วกรรมเพื
กวิศ าง ่ อการพัฒนาที่ดิน ร่วมกับสำนักงานพัฒนาที่ดินเขต 5 กรม
พัฒนาที่ดิน ได้ดำเนินการจัดการแก้ไขปั ญหาดินเค็มจัด โดยก่อสร้างระบบระบายน้ำใต้ดิน
และท่อลอดระบายเกลือ เพื่อเป็ นการล้างเกลือและน้ำเค็มออกจากพื้นที่ จำนวน 100 ไร่
โดยฝั งท่อระบายน้ำอยู่ใต้ดินลึกประมาณ 1.20 เมตร ระยะห่าง 25 เมตร ซึ่งท่อจะระบาย
น้ำเค็มออกจากพื้นที่แล้วไหลมารวมกันในร่องคู และก่อสร้างระบบระบายน้ำแบบร่องเปิ ด
ทำหน้าที่ระบายน้ำจากน้ำฝนและน้ำที่ไหลบ่าตามผิวดิน โดยการขุดร่องน้ำดาดคอนกรีต
ขนาดกว้าง 3 เมตร ลึก 1.50 เมตร และฐานร่องกว้าง 1 เมตร รวมทัง้ มีการส่งเสริมให้ปลูก
ไม้ทนเค็
ผลลั พธ์ม: บนคั
ระดับนความเค็
นา และขอบทาง
มลดลงอย่าลำเลี
งต่อยเนื
ง่ อเช่
ง นจากสะเดา ยูคซ
29 เดซิ าลิ ปตัสตและกระถิ
ีเมนส์ นอ
่อเมตร เหลื ออสเตรเลี
ประมาณย8
และพื
เดซิซีเ้นมนส์
ที่ดิน
ตเค็ มจัดปลู
่อเมตร กหญ้าดิ๊กซี่ และกระถิ
เกษตรกรสามารถใช้ พื้นนทีออสเตรเลี
่ในการปลูกยข้าวได้
ผลงานที่ผา่ นมา
ผลงานทีผ
่ า่ นมา
ผลสำเร็จการใช้ระบบวิศวกรรมในการ
จัดพืการปั
้นที่ดินญหาดิ นเเค็
เค็มจัดบริ มจั
วณบ้ ด ่ใหญ่ ม.4 ต.เมืองเพีย อ.บ้านไผ่ จ.ขอนแก่น
านดู
ปัแบบเลขที
ญหา:เกษตรกรมี่ ขก.0662 ปัญหาดินเค็มจัด แหล่งน้ำมีความเค็ม ไม่สามารถ
ทำการเกษตรได้
การแก้ไข: สำนักวิศวกรรมเพื่อการพัฒนาที่ดิน ร่วมกับสำนักงานพัฒนาที่ดินเขต 5 กรม
พัฒนาที่ดิน ได้ดำเนินการจัดการแก้ไขปั ญหาดินเค็มจัด โดยก่อสร้างระบบระบายน้ำใต้ดิน และ
ท่อลอดระบายเกลือ เพื่อเป็ นการล้างเกลือและน้ำเค็มออกจากพื้นที่ จำนวน 60 ไร่ โดยฝั งท่อ
ระบายน้ำอยู่ใต้ดินลึกประมาณ 0.80 เมตร ระยะห่าง 20 เมตร ซึ่งท่อจะระบายน้ำเค็มออกจาก
พื้นที่แล้วไหลมารวมกันในร่องคู และก่อสร้างระบบระบายน้ำแบบร่องเปิ ด ทำหน้าที่ระบายน้ำ
จากน้ำฝนและน้ำที่ไหลบ่าตามผิวดิน โดยการขุดร่องน้ำดาดคอนกรีตขนาดกว้าง 3 เมตร ลึก
1.50 เมตร และฐานร่องกว้าง 1 เมตร และจัดทำ “ระบบโพลเดอร์” เป็ นคันคูล้อมรอบพื้นที่
ดินเค็มจัดเป็ นรูป วงรีเพื่อลดแรงปะทะของน้ำ คันดินทำหน้าที่กน ั ้ น้ำในคูไม่ให้เข้ามา ในพื้นที่
เมื่อมีฝนตกน้ำจะถูกขัง และชะเกลือลงไปในชัน ้ ดินล่างและ คูน้ำ และมีการควบคุมระดับน้ำในคู
ให้ต่ำกว่ารากพืช พื้นที่ภายใน โพลเดอร์ และมีการส่งเสริมให้ปลูกไม้ทนเค็มบนคันนา และขอบ
ผลลัพทาง
ธ์: ปั จจุ บันยเกษตรกรสามารถปลู
ลำเลี ง เช่น สะเดา ยูคาลิปกตัพืสชผัและกระถิ
กและข้าวได้ (ผลผลิตยข้าและพื
นออสเตรเลี วเปลื้น อที
กเพิ
่ดิน่มเค็
จากเดิ ม 300
มจัดปลู กหญ้าดิ๊กซี่
กิโลกรัและกระถิ
มต่อไร่ เพิน่มออสเตรเลี
ขึน
้ เป็ น 400-500
ย กิ โ ลกรั มต่ อไร่ ) และมี ร ายได้ เ สริ ม จากการปลู ก ยู ค าลิ ปตัส
(รายได้เฉลี่ยสุทธิ 1,087 บาทต่อไร่ต่อปี ) ท้าให้เกษตรกรมีรายได้เพิ่มขึน ้ และมีความเป็ นอยู่ที่ดีขน ึ้
ผลงานที่ผา่ นมา
ผลงานทีผ
่ า่ นมา
ผลสำเร็จการใช้ระบบวิศวกรรมในการ
จัดพืการปั
้นที่ดินญหาดิ นเเค็
เค็มจัดบริ มจั
วณบ้ ด
านหนองนาวั ว ม.3 ต.หัวหนอง อ.บ้านไผ่ จ.ขอนแก่น
ปัแบบเลขที ่ ขก.0163
ญหา: เกษตรกรมี ปัญหาดินเค็มจัด แหล่งน้ำมีความเค็ม ไม่
สามารถทำการเกษตรได้
การแก้ไข: สำนักวิศวกรรมเพื่อการพัฒนาที่ดิน ร่วมกับสำนักงานพัฒนาที่ดินเขต 5 กรมพัฒนาที่ดิน
ได้ดำเนิ นการจัดการแก้ไขปัญหาดินเค็มจัด โดยมีการทำระบบระบายน้ำแบบผิวดิน ทำการปรับสภาพ
พื้นที่ใหร้ าบเรี ยบและสม ่ำเสมอ ใหพ ้ ้ ืนที่มีความลาดเอียงไปในทิศทางเดียวกันไมใ่ หน ้ ้ำขังในพื้นที่ แลว้
ใหน ้ ้ำในพื้นที่ไหลไปยังร่องระบายน้ำหลัก มีการกอ ่ สร้างระบบระบายน้ำใตด ้ ิน และทอ่ ลอดระบายเกลือ
เพื่อเป็ นการลา้ งเกลือและน้ำเค็มออกจากพื้นที่ จำนาน 100 ไร่ โดยฝังทอ่ ระบายน้ำอยูใ่ ตด ้ ินลึก
ประมาณ 0.80 เมตร ระยะหา่ ง 25 เมตร ซ่ึงทอ่ จะระบายน้ำเค็มออกจากพื้นที่แลว้ ไหลมารวมกันในร่อง
คู และกอ ่ สร้างระบบระบายน้ำแบบร่องเปิ ด ทำหน้าที่ระบายน้ำจากน้ำฝนและน้ำที่ไหลบา่ ตามผิวดิน โดย
การขุดร่องน้ำดาดคอนกรี ตขนาดกวา้ ง 4เมตร ลึก 1.50 เมตร และฐานร่องกวา้ ง 2 เมตร รวมมีการสง่
เสริ มใหป ้ ลูกไมท ้ นเค็มบนคันนา และขอบทาง ลำเลียง เชน ่ สะเดา ยูคาลิปตัส และกระถินออสเตรเลีย
และพื้นที่ดินเค็มจัดปลูกหญา้ ดิ๊กซ่ี และกระถินออสเตรเลีย
ผลลัพธ์: ปั จจุบันเกษตรกรสามารถปลูกพืชผักและข้าวได้ (ผลผลิตข้าวเปลือกเพิ่มจากเดิม 300
กิโลกรัมต่อไร่ เพิ่มขึน ้ เป็ น 400-500 กิโลกรัมต่อไร่) และมีรายได้เสริมจากการปลูกยูคาลิปตัส
(รายได้เฉลี่ยสุทธิ 1,087 บาทต่อไร่ตอ่ ปี ) ท้ าให้ เกษตรกรมีรายได้ เพิ่มขึ ้น และมีความเป็ นอยูท่ ี่ดีขึ ้น
ผลงานที่ผา่ นมา
ผลงานทีผ
่ า่ นมา
ผลสำเร็จการใช้ระบบวิศวกรรมในการ
จัดพืการปั
้นที่ดินญหาดิ นเเค็
เค็มจัดบริ มจั
วณบ้ ด เ้ หล็ก ม.11 ต.แวงน้อย อ.แวงน้อย จ.ขอนแก่น
านโนนขี
ปัแบบเลขที ่ ขก.0164 าวไม่ค่อยได้ผลผลิต พื้นที่มีปัญหาดิน
ญหา: เกษตรกรทำนาข้
เค็ม
การแก้ไข: สำนักวิศวกรรมเพื่อการพัฒนาที่ดินร่วมกับสำนักงานพัฒนาที่ดินเขต 5 กรมพัฒนาที่ดินได้
ดำเนิ นการแก้ไขตังแต ้ ป ่ ี 2564 จนถึงปัจจุบัน โดยกอ
่ สร้างระบบระบายน้ำใตด้ ิน และทอ่ ลอดระบาย
เกลือ เพื่อเป็ นการลา้ งเกลือและน้ำเค็มออกจากพื้นที่ จำนาน 100 ไร่ โดยฝังทอ่ อยูใ่ ตด ้ ินลึกประมาณ
1.00 เมตร มีระยะหา่ งแตล่ ะทอ่ 20 เมตร ซ่ึงทอ่ จะระบายน้ำเค็มออกจากพื้นที่แลว้ ไหลมารวมกันในร่อง
คู และกอ ่ สร้างระบบระบายน้ำแบบร่องเปิ ด ทำหน้าที่ระบายน้ำจากน้ำฝนและน้ำที่ไหลบา่ ตามผิวดิน
โดยการขุดร่องน้ำดาดคอนกรี ตขนาดกวา้ ง 3 เมตร ลึก 1.50 เมตร และฐานร่องกวา้ ง 1 เมตร และขุด
ร่องน้ำดาดคอนกรี ตขนาดกวา้ ง 1 เมตร ลึก 1.50 เมตร และฐานร่องกวา้ ง 1 เมตร และมีการสง่ เสริ มให้
ปลูกไมท ้ นเค็มบนคันนา และขอบทาง ลำเลียง เชน ่ สะเดา ยูคาลิปตัส และกระถินออสเตรเลีย และพื้นที่
ผลลัพดิธ์น:ปัเค็จจุ
มจบั ดันปลู
เกษตรกรสามารถปลู
กหญา้ ดิ๊กซ่ี และกระถิก
นพื ชผักและข้
ออสเตรเลี ย าวได้ (ผลผลิตข้าวเปลือกเพิ่มจากเดิม 300
กิโลกรัมต่อไร่ เพิ่มขึน ้ เป็ น 400-500 กิโลกรัมต่อไร่) และมีรายได้เสริมจากการปลูกยูคาลิปตัส
(รายได้เฉลี่ยสุทธิ 1,087 บาทต่อไร่ต่อปี ) ท้าให้เกษตรกรมีรายได้เพิ่มขึน ้ และมีความเป็ นอยู่ที่ดี
ขึน

ผลงานที่ผา่ นมา

You might also like