การวิจัยธุรกิจ 1

You might also like

Download as ppt, pdf, or txt
Download as ppt, pdf, or txt
You are on page 1of 17

การวิจยั ธุรกิจ (Business Research)

ดร.นิธิพฒั น์ สุ ทธิธรรม
การวิจัยคืออะไร

What is the research ?


บทที่ 1 บทนำ

การวิจัย = Research

Re + Search

ย ้อน/ซ้ำ/ทบทวน + ค ้นหา/ค ้นคว ้า


การวิจัย ( Research) คือ

- การแสวงหาความรู ้ ข้อเท็จจริ งวิธีหนึ่งที่ได้นำกระบวนการ


วิทยาศาสตร์มาประยุกต์ใช้
- กระบวนการแสวงหาความรู้ ความจริ ง ด้วยวิธีการที่มีระบบ
มีความเชื่อถือได้โดยอาศัยระเบียบวิธีทางวิทยาศาสตร์ เพื่อให้
ได้ความรู ้ใหม่ที่เป็ นคำตอบของปัญหาตามวัตถุประสงค์ที่
กำหนด
สาเหตุทตี่ ้ องมีการวิจัยธุรกิจ

 องค์กรมีปัญหาในการดำเนินการซึ่งไม่สามารถหาคำตอบ
ได้ดว้ ยวิธีอย่างง่าย
 ผูบ
้ ริ หารจำเป็ นต้องใช้ขอ้ มูลเพื่อการตัดสิ นใจ
 เพื่อการพัฒนาผลิตภัณฑ์ บริ การและกระบวนการทำงาน
ให้มีประสิ ทธิภาพมากขึ้น
ลักษณะของการวิจยั ที่ดี

 มีจุดมุ่งหมายที่ชดั เจน
 มีรายละเอียดของกระบวนการวิจยั
 มีการออกแบบการวิจยั ที่ได้วางแผนไว้
 มีมาตรฐานทางด้านจริ ยธรรม
 ยอมรับข้อจำกัดในการวิจยั
 มีการวิเคราะห์อย่างเพียงพอ
 มีการเสนอผลการวิจยั อย่างไม่คลุมเครื อ
 มีการพิสูจน์ผลการวิจยั
ซิคมุนด์ (Zikmund) กล่าวว่า
1. การวิจยั ธุรกิจ เป็ นการสำรวจที่มีระบบ มีการควบคุม การ
ค้นคว้าทดลอง และการใช้หลักเหตุผลเกี่ยวกับเหตุการณ์ที่
สนใจ เพื่อการตัดสิ นใจในการบริ หารองค์การ
2. การวิจยั ธุรกิจ เป็ นกระบวนการที่มีระบบและมีวตั ถุประสงค์
ในการรวบรวม บันทึก วิเคราะห์ขอ้ มูล เพื่อช่วยในการ
ตัดสิ นใจทางธุรกิจ เพื่อให้ได้ขอ้ มูลที่ถูกต้อง เพื่อใช้ในการ
ตัดสิ นใจอย่างมีระบบและมีวตั ถุประสงค์ที่แน่นอน
สรุปความหมายของการวิจัยทางธุรกิจ
การวิจยั ทางธุรกิจ : กระบวนการแสวงหาความรู ้
ข้อเท็จจริ งอย่างเป็ นระบบ โดยใช้กระบวนการทาง
วิทยาศาสตร์ เพื่อนำข้อค้นพบที่ได้จากการวิจยั นี้ ไปใช้ใน
การบริ หาร ตัดสิ นใจสัง่ การ แก้ปัญหา ออกแบบ
ผลิตภัณฑ์ หรื อพัฒนาประสิ ทธิภาพในการดำเนินธุรกิจ
ให้ประสบผลสำเร็ จ
ประเภทของการวิจัย

1. จำแนกตามจุดมุ่งหมายการวิจยั แบ่งได้
1.1 การวิจยั พื้นฐาน (Basic Research) หรื อการวิจยั
บริ สุทธิ์ (Pure Research)
1.2 การวิจยั ประยุกต์ (Applied Research)
1. จำแนกตามจุดมุ่งหมาย

1.1 การวิจัยพืน้ ฐาน/บริสุทธิ์ 1.2 การวิจัยประยุกต์


 สร้างความรู ้ใหม่ แนวคิด  นำผลการวิจยั ไปใช้แก้
ใหม่ ปัญหา
 ค้นหาข้อเท็จจริ ง
 นำผลการวิจยั ช่วยใน
 เพื่อสร้างกฎ ทฤษฎี
การตัดสิ นใจ
 เพื่อเป็ นฐานในการศึกษา
เรื่ องอื่นๆ
2. จำแนกตามลักษณะของข้ อมูล

2.1 การวิจัยเชิงปริมาณ 2.2 การวิจัยเชิงคุณภาพ


(Quantitative Research) (Qualitative Research)
- เก็บข้อมูลปฐมภูมิ - เก็บข้อมูลทุติยภูมิ
- วิเคราะห์เกี่ยวกับตัวเลข - สัมภาษณ์ สังเกต ศึกษา
- ใช้วธิ ีการทางสถิติเพื่อ เอกสาร
สรุ ปผลวิจยั - เน้นการวิจยั ทางสังคม
หรื อ มนุษยวิทยา
3. จำแนกตามระเบียบวิธีวจิ ัย
3.1 การวิจัยเชิงบรรยาย (Descriptive Research)
- ศึกษาข้อเท็จจริ งในเหตุการณ์ในปั จจุบน ั เพื่อตอบคำถามว่า อะไร
เป็ นอะไร ( What is …?) แบ่งได้ดงั นี้
3.1.1 การวิจยั เชิงสำรวจ (Survey Research) : รวบรวมข้อเท็จ
จริ งสภาพปัจจุบนั เพื่อแก้ปัญหา
3.1.2 การวิจยั เชิงความสัมพันธ์ (Correlational Research) :
หาความสัมพันธ์ของปั ญหาหรื อเหตุการณ์ที่ปรากฏ
3.1.3 การวิจยั เชิงพัฒนาการ (Development Research) : ศึกษา
พัฒนาการเรื่ องใดเรื่ องหนึ่ง เพื่อทำนายอนาคต
3.2 การวิจัยเชิงประวัตศิ าสตร์ 3.3 การวิจัยเชิงทดลอง
(Historical Research) (Experimental Research)
- วิเคราะห์เหตุการณ์ในอดีต - ศึกษาการเปลี่ยนแปลงของ
ถึงปัจจุบนั และอนาคต เหตุการณ์ที่เป็ นอยู/่ ที่จะเกิดขึ้น
- เพื่อค้นหาสาเหตุที่ส่งผลใน - ควบคุมตัวแปรที่ไม่เกี่ยวข้อง
ปัจจุบนั
- ตอบคำถามว่าอะไรจะเป็ น
- ตอบคำถามว่า อะไรเป็ น อะไรในอนาคต (What will
อะไรในอดีต (what was…?) be…?)
ลักษณะของการวิจัยธุรกิจ

1. ข้อมูลการวิจยั ต้องได้มาอย่างถูกต้อง
2. มีวตั ถุประสงค์การวิจยั ที่ชดั เจน ไม่มีอคติในการวิจยั
3. ผลการวิจยั เป็ นเครื่ องมือในการนำไปใช้ใน
กระบวนการตัดสิ นใจบริ หารงานทางธุรกิจ
การนำกระบวนการวิจัยไปใช้ ประโยชน์ ทางธุรกิจ

 ด้านการจัดการ (Management Research)


 ด้านการบัญชี (Accounting Research)
 ด้านการเงิน (Financial Research)
 ด้านการตลาด (Marketing Research)
 ด้านการผลิต (Production Management Research)
 ด้านอื่นๆ
ประโยชน์ ของการวิจัยทางธุรกิจ

 สามารถแก้ไขปั ญหาที่เกิดขึ้น โดยตั้งอยูบ่ นพื้นฐานเหตุผล


และข้อเท็จจริ ง ลดความผิดพลาดในการตัดสิ นใจ
 ทำให้เกิดการพัฒนากระบวนการทำงานให้มีประสิ ทธิ ภาพ
 ช่วยให้ผบู้ ริ หารมีวสิ ยั ทัศน์ในการวิเคราะห์สถานการณ์
 สามารถวางแผนการดำเนินงานในด้านต่างๆได้อย่างเหมาะ
สม
ตัวอย่ างผลงานวิจัยทางธุรกิจ

 การศึกษาความคาดหวังของประชาชนในกทม.เกี่ยวกับการให้
บริ การรถไฟฟ้ าใต้ดิน
 การศึกษาพฤติกรรมผูบ ้ ริ โภคในการเลือกซื้ อสิ นค้าและบริ การ
ในห้างมาบุญครอง
 การศึกษาความพึงพอใจของลูกค้าต่อการให้บริ การของ พัชรา
ซุปเปอร์มาร์เก็ต
 การศึกษาอัตราการบริ โภคนมถัว่ เหลืองในกทม.

You might also like