Download as pptx, pdf, or txt
Download as pptx, pdf, or txt
You are on page 1of 15

สรุ ปบทที่ 6

เรื่ อง รู ปแบบของประพจน์
1.สั จนิรันดร์ และข้ อขัดแย้ ง
• สัจนิรันดร์ (Tautology)คือ รู ปแบบของประพจน์ที่มีค่าความจริ งเป็ นจริ งทุกกรณี


า ง
ั อย
ตว พิจารณาค่าความจริงของรูปแบบของประพจน์ p V∼p สร ้าง
ตารางหาค่าความจริงได ้ดังนี้
p p p V∼ p

T F T
F T T

จากรูปแบบของประพจน์ p V∼p มีคา่ ความจริงเป็ นจริงทุกกรณี ดัง


นัน ั นิรันดร์
้ p V∼p เป็ นสจ
บทนิยาม
ข้อขัดแย้งหรื อคอนทราดิกชัน (Contradiction)คือ รู ปแบบของประพจน์ที่มีค่าความจริ งเป็ นเท็จ ทุกกรณี ไม่วา่
ประพจน์ยอ่ ยจะมีค่าความจริ งเป็ นจริ งหรื อเท็จก็ตาม

า ง
ั อย
ตว
พิจารณาค่าความจริงของของรูปแบบของประพจน์ p ∧ ∼p สร ้าง
ตารางหาค่าความจริงได ้ดังนี้
p p p∧∼
p
T F F
F T F

จากรูปแบบของประพจน์ p ∧ ∼ p มีคา่ ความจริงเป็ นเท็จทุกกรณี ดังนัน



p ∧ ∼ p เป็ นข ้อขัดแย ้ง
2. ประพจน์ทส
ี่ มมูลก ัน
ประพจน์ทส ี่ มมูลกัน(Equivalent Statement)คือ รูปแบบของประพจน์
ทัง้ สองมีคา่ ความจริงเหมือนกันทุกกรณี กรณีตอ ่ กรณี ใช ้
สญ ั ลักษณ์ “≡” หรื อ “↔”

า ง
ั อย
ตว
p สมมูลกับ ∼ (∼p) แสดงตารางงค่า
ความจริงไดp้ดังนี้ p ∼ (∼p)

T F F
F T F

จากตารางค่าความจริงของ p และ ∼ (∼p) มีคา่ ความจริงเหมือน


กันทุกกรณีดงั นัน
้ p สมมูลกับ ∼ (∼p) อาจเขียนแทนด ้วย p ≡ ∼
(∼p)
3. ประพจน์ ทเี่ ป็ นนิเสธกัน
ประพจน์ที่เป็ นนิเสธกัน (Negation Statement)คือ รู ปแบบของประพจน์ท้ งั สองมีค่าความจริ งตรงข้ามกัน
ทุกกรณี กรณี ต่อกรณี ใช้สญ ั ลักษณ์ “∼” แทนนิเสธ เช่น A เป็ นนิเสธของ B ก็ต่อเมื่อ A สมมูลกับ ∼ B
ต ัวอย่าง จงหานิเสธของข ้อความ
ต่อไปนี้
ข ้อคว นิเสธของข ้อความ
ฝนตก าม ฝนตก
4+2=6 4 + 2 ≠6
5>4 5 ≤4
สุ ภาพไห้องสมุด สุ ภาพไม่ไปห้องสมุด

รูปแบบของประพจน์ทม ี่ ค
ี า่ ความจริงตรงข ้ามกัน กรณีตอ
่ กรณีเรา
เรียกว่า นิเสธของกันและกัน
ต ัวอย่าง จงหานิเสธของข ้อความต่อไปนี้
1) แบมว่ายน้ำหรื อเล่นโยคะ 2) ถ้าสุ ดาตั้งใจเรี ยนแล้วสุ ดาสอบผ่าน

วิธทำ
ี 1) แบมว่ายน้ำหรื อเล่นโยคะ 2) ถ้าสุ ดาตั้งใจเรี ยนแล้วสุ ดาสอบผ่าน
ให้ p แทน แบมว่ายน้ำ ให้ p แทน สุ ดาตั้งใจเรี ยน
q แทน แบมว่ายน้ำ q แทน สุ ดาสอบผ่าน
จะได้ p V q จะได้ p → q
นิเสธของ p V q เขียนแทนด้วย ∼(p V q) นิเสธของ p → q เขียนแทนด้วย ∼(p → q)
≡ ∼p ∧ ∼ q ≡ p ∧ ∼q
ดังนั้น แบมไม่วา่ ยน้ำและไม่เล่นโยคะ ดังนั้น สุ ดาตั้งใจเรี ยน แต่สุดาสอบไม่ผา่ น
รปุ

รู ปแบบของประพจน์ที่มีค่าความจริ งเป็ นจริ งทุกกรณี ไม่วา่ ประพจน์ยอ่ ยจะมีค่าความจริ ง
เป็ นจริ งหรื อเท็จก็ตาม เรี ยกว่า สัจนิรันดร์
รู ปแบบของประพจน์ที่มีค่าความจริ งเป็ นเท็จทุกกรณี ไม่วา่ ประพจน์ยอ่ ยจะมีค่าความจริ ง
เป็ นจริ งหรื อเท็จก็ตาม เรี ยกว่า ข้อขัดแย้ง
รู ปแบบของประพจน์สองรู ปแบบใดมีค่าความจริ งเหมือนกันทุกกรณี กรณี ต่อกรณี เรี ยกว่า
ประพจน์ที่สมมูล
รู ปแบบของประพจน์สองรู ปแบบใดมีค่าความจริ งตรงข้ามกันทุกกรณี กรณี ต่อกรณี เรี ยกว่า
ประพจน์ที่เป็ นนิเสธ
สรุปบทที่ 7
เรือ
่ ง การอ ้างอิงเหตุผลและตัว
บ่งปริมาณ
1.การอ้างเหตุผล
การอ้างเหตุผล (Argument) หมายถึง การอ้างว่าถ้ามีเหตุ  P1 , P2 , P3 , … , Pn แล้วสามารถสรุ ปผล c ได้
การอ้างเหตุผลประกอบด้วยส่ วนสำคัญ 2 ส่ วน คือ
1) สมมติฐาน (Hypotheses) คือ ส่ วนที่เป็ น “เหตุ” หรื อ สิ่ งที่ก ำหนดให้แทนด้วยประพจน์ยอ่ ย P1 , P2 , P3 , … , Pn
2) ผลสรุ ป (Conclusion) คือ ข้อสรุ ปจากสมมติฐานหรื อเหตุ หรื อส่ วนที่เป็ น “ผล” แทนด้วย c การตรวจสอบการอ้ าง
เหตุผลมีดงั นี้
1) ถ้ารู ปแบบของประพจน์ (P1  ∧ P2  ∧ P3  … ∧ Pn ) → c เป็ นสัจนิรันดร์ แล้ว การอ้างเหตุผลนี้ สมเหตุสม
ผล(Valid)
2) ถ้ารู ปแบบของประพจน์ (P1  ∧ P2  ∧ P3  … ∧ Pn ) → c ไม่เป็ นสัจนิรันดร์ แล้ว การอ้างเหตุผลนี้ ไม่สมเหตุสม
ผล(lnvalid)
จากการอ้างเหตุผลที่จดั ให้อยูใ่ นรู ปแบบของประพจน์ ถ้า…แล้ว…คือ เหตุ → ผล จากนั้นทำการตรวจสอบดูวา่ เป็ นสัจ
นิ รันดร์หรื อไม่ สามารถทำได้ดงั นี้
1) โดยการสร้างตารางค่าความจริ ง
2) โดยการวิเคราะห์ค่าความจริ ง
2. ประโยคเปิ ด
ประโยคเปิ ด คือประโยคบอกเล่าหรื อประโยคปฏิเสธ ที่ประกอบด้วยตัวแปรทำให้ไม่เป็ นประพจน์และเมื่อแทนที่
ตัวแปรด้วยสมาชิกในเอกภพสัมพัทธ์ แล้วจะได้ประพจน์

า ง
ั อย
ตว X + 3 > 7 ; ประโยคเปิ ดที่มีตวั แปร “x”
x - y = 10 ; ประโยคเปิ ดที่มีตวั แปร ”x และ y”
เขาเป็ นนักฟุตบอลทีมชาติไทย ; ประโยคเปิ ดที่มีตวั แปร ”เขา”
เธอเป็ นนักศึกษาระดับ ปวส. ; ประโยคที่มีตวั แปร”เธอ”
ประโยคข้างต้นไม่เป็ นประพจน์ เพราะเราไม่ทราบค่าของตัวแปรในแต่ละประโยคนั้นคืออะไรและ
ไม่สามารถหาค่าความจริ งได้
สัญลักษณ์ที่ใช้แทนประโยคเปิ ด
P(x),Q(x) แทน ประโยคเปิ ดที่มีตวั แปรเป็ น x P(x) แทน x + 3 > 7
P(x,y),Q(x,y) แทน ประโยคเปิ ดที่มีตวั แปรเป็ น x,y P(x,y) แทน x - y = 10
• การทำประโยคเปิ ดให้เป็นประพจน์
ประโยคเปิ ดทีไ่ ม่เป็ นประพจน์สามารถทำให ้เป็ นประพจน์ได ้2 วิธี
1) นำสมาชิกในเอกภพสัมพันธ์ แทนที่ตวั แปรในประโยคเปิ ด เมื่อแทนค่าตัวแปรในประโยคเปิ ดจะทำให้ทราบค่า
ความจริ งของประโยคนั้นได้ เช่น ประโยคเปิ ด x + 3 > 4 และ U={0,1,2}
ถ้าแทน x ด้วย 0 จะได้ 0 + 3 > 4 มีค่าความจริ งเป็ นเท็จ
ถ้าแทน x ด้วย 1 จะได้ 1 + 3 > 4 มีค่าความจริ งเป็ นเท็จ
ถ้าแทน x ด้วย 2 จะได้ 2 + 3 > 4 มีค่าความจริ งเป็ นจริ ง
2) เติมตัวบ่งปริ มาณให้ครบทุกตัวแปร เช่น ทุก ๆ ค่าของ x ที่เป็ นจำนวนจริ ง x2 -1  ⩾ 0
การนำค่ามาแทนตัวแปรในประโยคเปิ ด ต้องกำหนดขอบเขตของสิ่ งที่จะนำไปแทน นัน่ คือ ต้องกำหนด
"เอกภาพสัมพัทธ์" แต่บางครั้งสมาชิกในเอกภาพสัมพัทธ์จะมีจ ำนวนมาก เช่น เอกภาพสัมพัทธ์ เป็ นจำนวนจริ งใด ๆ
จึงต้องระบุบอกว่าทั้งหมด หรื อเอามาบางตัว เราเรี ยกสัญลักษณ์แทนคำพูดที่บ่งบอกถึง ปริ มาณที่จะนำมาแทนค่าว่า
"ตัวบ่งปริ มาณ"
3. ตัวบ่ งปริมาณ
ตัวบ่ งปริมาณ มาณ (Quantifier) เป็ นตัวระบุจ ำนวนสมาชิกในเอกภพสัมพัทธ์ที่ท ำให้ป กลายเป็ น
ประพจน์ ตัวบ่งปริ มาณที่ใช้ในชีวติ ประจำวัน เช่นคำว่า ทั้งหมด, ทุก, มี และบาง เป็ นต้น ในทางตรรกศาสตร์
ตัวบ่งปริ มาณแบ่งออกเป็ น 2 ชนิด คือ ตัวบ่งปริ มาณทั้งหมด และตัวบ่งปริ มาณ มีอย่างน้อยหนึ่ง
1) ตัวบ่งปริ มาณทั้งหมด (Universal Quantifer) ได้แก่ ตัวบ่งปริ มาณที่มีความหมายเดียวกับ
"สำหรับ...ทุกตัว" หรื อ "ทุก ๆ“ เป็ นต้น ซึ่งหมายถึง ต้องใช้ทุกสิ่ งทุกอย่างในเอกภพสัมพัทธ์ (U) และ ใช้
สัญลักษณ์ Ɐ (อ่านว่า for all) แทนตัวบ่งปริ มาณทั้งหมด
เราใช้สญั ลักษณ์ Ɐx แทน สำหรับทุก ๆ x หรื อสำหรับแต่ละ x
และถ้าให้ P(x) แทนประโยคเปิ ด เขียนแทนด้วย Ɐx [P(x)] แทน สำหรับ x ทุกตัวใน P(X)
ตัวอย่างเช่น สำหรับ x ทุกตัว ซึ่ง x + 0 = x เมื่อเอกภาพสัมพัทธ์เป็ นจำนวนจริ ง
เขียนแทนด้วย Ɐx[x + 0= x], U = R ถ้าให้ P(x) แทน x + 0 = x
จะได้ Ɐx[P(x)], U = R
หมายเหตุ การเขียนสญ ั ลักษณ์แทนประโยคเปิ ดทีม ่ ต
ี วั บ่ง
ปริมาณ จะต ้องเขียนเอกภาพสม ั พัทธ์ (U) ไว ้เสมอ กรณีท ี่
ไม่เขียนเอกภาพสม ั พัทธ์กำกับไว ้ ถอ
ื ว่าเอกภาพสม ั พัทธ์
เป็ นจำนวนจริงใดๆ
4. ค่ าความจริงของประพจน์ ทมี่ ตี วั บ่ งปริมาณ ตัวแปรเดียว
ในหน่วยนี้จะศึกษาเฉพาะค่าความจริ งของประพจน์ที่มีตวั บ่งปริ มาณตัวแปรเดียว ซึ่ง
มีค่าความจริ งดังต่อไปนี้
1)ค่าความจริ งของประพจน์ Ɐx[P(x)]
Ɐ x[P(x)] มีค่าความจริ งเป็ นจริ ง
ก็ต่อเมื่อ แทนค่า x ทุกตัวใน U แล้วทำให้ P(X) เป็ นจริ ง
Ɐ x[P(X)] มีค่าความจริ งเป็ นเท็จ
ก็ต่อเมื่อ แทนค่า x อย่างน้อย 1 ตัวใน U แล้วทำให้ P(x) เป็ นเท็จ
2) ค่าความจริ งของประพจน์ Ǝx[P(x)]

Ǝx[P(x)] จะมีค่าความจริ งเป็ นจริ ง

ก็ต่อเมื่อ แทนค่า x อย่างน้อย 1 ตัวใน U แล้วทำให้ P(x) เป็ นจริ ง


Ǝx[P(x)] จะมีค่าความจริ งเป็ นเท็จ

ก็ต่อเมื่อ แทนค่า x ทุกตัวใน U แล้วทำให้ P(X) เป็ นเท็จทั้งหมด


(ไม่มีสมาชิกใน U แม้ตวั เดียวไปแทนค่า x ใน P(x) แล้วทำให้ P(x) เป็ นจริ ง)
รปุ

การอ ้างเหตุผล คือ การพิจารณาว่า ถ ้ามีเหตุ  P1 , P2 , P3 , … , Pn แล้วผล
c ที่เกิดขึ้นนั้น อย่างสมเหตุสมผลหรื อไม่ ซึ่งสามารถกระทำได้โดยใช้การตรวจสอบว่าเป็ นสัจนิรันดร์
หรื อไม่
ประโยคเปิ ด คือ ประโยคบอกเล่าหรื อประโยคปฏิเสธที่มีตวั แปร ตัวบ่งปริ มาณ แบ่งออกเป็ น 2
ชนิด คือ ตัวบ่งปริ มาณทั้งหมด และตัวบ่งปริ มาณมีอย่างน้อยหนึ่ง ค่าความจริ งของประพจน์
Ɐ x [P(x)] เป็ นจริ ง ก็ต่อเมื่อนำ x ทุกค่าใน U แทนใน P(X) แล้ว P(X) เป็ นจริ ง
E
Ɐ x[P(x)] เป็ นเท็จ ก็ต่อเมื่อนำ x อย่างน้อย 1 ค่า ใน U แทนใน P(X) แล้ว P(X) เป็ นเท็จ
E
x [P(x)] เป็ นจริ ง ก็ต่อเมื่อนำ x อย่างน้อย 1 ค่า ใน U แทนใน P(X) แล้ว P(X) เป็ นจริ ง
x [P(x] เป็ นเท็จ ก็ต่อเมื่อนำ x ทุกค่าใน U แทนใน P(X) แล้ว P(X) เป็ นเท็จทั้งหมด

You might also like