Download as pptx, pdf, or txt
Download as pptx, pdf, or txt
You are on page 1of 15

การใช้แรงงานหญิง

รศ. ตรีเนตร สาระพงษ์


คณะนิตศิ าสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี
ขอบเขตการนำเสนอ

๏งานทีก่ ฎหมายห้ามมิให้ลกู จ้างทีเ่ ป็ นหญิงทำ


๏งานซึง่ ลูกจ้างซึง่ เป็ นหญิงมีครรภ์ทำ
๏การคุม้ ครองลูกจ้างหญิงทำงานทีเ่ ป็ นอันตรายต่อสุภาพ
และความปลอดภัยในเวลา ๒๔.๐๐น.-๐๖.๐๐น.
๏ลูกจ้างซึง่ เป็ นหญิงมีครรภ์มสี ทิ ธิขอให้นายจ้างเปลีย่ น
งานชัวคราว

๏ห้ามมิให้เลิกจ้างลูกจ้างหญิงเพราะเหตุมคี รรภ์
งานทีก่ ฎหมายห้ามมิให้ลกู จ้างทีเ่ ป็ นหญิงทำ
มาตรา ๓๘ “ห ้ามมิให ้นายจ ้างให ้ลูกจ ้างซงึ่ เป็ นหญิงทำงาน
อย่างหนึง่ อย่างใด ดังต่อไปนี้
(๑) งานเหมืองแร่หรืองานก่อสร ้างทีต ่ ้องทำใต ้ดิน ใต ้น้ำ ในถ้ำ
ในอุโมงค์หรือปล่องในภูเขา เว ้นแต่สภาพของการทำงานไม่เป็ น
อันตรายต่อสุขภาพหรือร่างกายของลูกจ ้าง
(๒) งานทีต ่ ้องทำบนนั่งร ้านทีส
่ งู กว่าพืน ิ เมตรขึน
้ ดินตัง้ แต่สบ ้ ไป
(๓) งานผลิตหรือขนสง่ วัตถุระเบิดหรือวัตถุไวไฟ เว ้นแต่สภาพ
ของการทำงานไม่เป็ นอันตรายต่อสุขภาพหรือร่างกายของ
ลูกจ ้าง
(๔) งานอืน ่ ตามทีก่ ำหนดในกฎกระทรวง”
งานซึง่ ลูกจ้างซึง่ เป็ นหญิงมีครรภ์ทำ
มาตรา ๓๙ บัญญัตวิ า่ “ห ้ามมิให ้นายจ ้างให ้ลูกจ ้างซ งึ่ เป็ น
หญิงมีครรภ์ทำงานอย่างหนึง่ อย่างใด ดังต่อไปนี้
(๑) งานเกีย ่ วกับเครือ่ งจักรหรือเครือ
่ งยนต์ทม
ี่ ค ั่
ี วามส น
สะเทือน
(๒) งานขับเคลือ ่ นหรือติดไปกับยานพาหนะ
(๓) งานยก แบก หาม หาบ ทูน ลาก หรือเข็นของหนักเกิน
สบิ ห ้ากิโลกรัม
(๔) งานทีท ่ ำในเรือ
(๕) งานอืน ่ ตามทีก ่ ำหนดในกฎกระทรวง”
งานซึง่ ลูกจ้างซึง่ เป็ นหญิงมีครรภ์ทำ
มาตรา ๓๙/๑ บัญญัตวิ า่ “ห ้ามมิให ้นายจ ้างให ้ลูกจ ้าง
ซงึ่ เป็ นหญิงมีครรภ์ทำงานในระหว่างเวลา ๒๒.๐๐
นาฬกา ิ ถึงเวลา ๐๖.๐๐ นาฬกา ิ ทำงานล่วงเวลา หรือ
ทำงานในวันหยุดในกรณีทล ู จ ้างซงึ่ เป็ นหญิงมีครรภ์
ี่ ก
ทำงานในตำแหน่งผู ้บริหาร งานวิชาการ งานธุรการ
หรืองานเกีย ่ วกับการเงินหรือบัญช ี นายจ ้างอาจให ้
ลูกจ ้างนัน้ ทำงานล่วงเวลาในวันทำงานได ้เท่าทีไ่ ม่ม ี
ผลกระทบต่อสุขภาพของลูกจ ้างซงึ่ เป็ นหญิงมีครรภ์
โดยได ้รับความยินยอมจากลูกจ ้างก่อนเป็ นคราว ๆ ไป”
งานซึง่ ลูกจ้างซึง่ เป็ นหญิงมีครรภ์ทำ

“ มาตรา ๓๙ เป็ นการพิจารณาในแง่ของ


“ประเภทงาน” โดยดูจากสภาพของงาน

มาตรา ๓๙/๑ เป็ นการพิจารณาในแง่


“เวลาในการทำงาน”
งานซึง่ ลูกจ้างซึง่ เป็ นหญิงมีครรภ์ทำ
(ก)คุ ้มครองลูกจ ้างหญิงทีม ่ คี รรภ์ปัญหาว่ามีครรภ์หรือ
ไม่นัน้ เป็ นข ้อเท็จจริง เชน่ นีล ้ กู จ ้างหญิงจะต ้องแจ ้ง
ให ้นายจ ้างทราบในทันทีทม ี่ คี รรภ์

(๒) ลักษณะงานทีห ่ ้ามลูกจ ้างซงึ่ เป็ นหญิงมีครรภ์ทำ


จะเห็นได ้ว่ามีงานตามมาตรา ๓๙(๑) ถึง (๔) ล ้วนเป็ น
งานทีก ่ ระทบต่อทารกทีอ ่ ยูใ่ นครรภ์ ซงึ่ เป็ นบทบัญญัต ิ
ทีห
่ ้ามทำเด็ดขาด
งานซึง่ ลูกจ้างซึง่ เป็ นหญิงมีครรภ์ทำ

(๓) เวลาทีห ่ ้ามลูกจ ้างซงึ่ เป็ นหญิงมีครรภ์ทำซงึ่ แยกพิจารณาได ้


ดังนี้
ตามมาตรา ๓๙/๑ มีบญ ั ญัตวิ า่ “ห ้ามมิให ้นายจ ้างให ้ลูกจ ้างซงึ่ เป็ น
หญิงมีครรภ์ทำงานในระหว่างเวลา๒๒.๐๐ นาฬกา ิ ถึงเวลา ๐๖.๐๐
นาฬกา ิ ทำงานล่วงเวลา หรือทำงานในวันหยุด
ในกรณีทล ี่ กู จ ้างซงึ่ เป็ นหญิงมีครรภ์ทำงานในตำแหน่งผู ้บริหาร งาน
วิชาการ งานธุรการหรืองานเกีย ่ วกับการเงินหรือบัญช ี นายจ ้างอาจ
ให ้ลูกจ ้างนัน ้ ทำงานล่วงเวลาในวันทำงานได ้เท่าทีไ่ ม่มผ ี ลกระทบ
ต่อสุขภาพของลูกจ ้างซงึ่ เป็ นหญิงมีครรภ์โดยได ้รับความยินยอม
จากลูกจ ้างก่อนเป็ นคราว ๆ ไป”
งานซึง่ ลูกจ้างซึง่ เป็ นหญิงมีครรภ์ทำ

(๔) ลูกจ ้างซงึ่ เป็ นหญิงมีครรภ์ ทีท


่ ำงานในตำแหน่ง
บริหาร งานวิชาการ งานธุรการ หรืองานเกีย ่ วกับการเงิน
หรือบัญชม ี ข
ี ้อพิจารณาดังนี้
ก) นายจ ้างสามารถให ้ “ทำงานล่วงเวลาได”้ ในวันทำงาน
ได ้เท่าที่ “ไม่มผ ี ลกระทบต่อสุขภาพ”และต ้อง “ได ้รับ
ความยินยอม”จากลูกจ ้างซงึ่ เป็ นหญิงมีครรภ์เป็ นคราวๆ
ไป
ข) มาตรา ๓๙/๑ ยกเว ้นให ้ทำงานล่วงเวลาตาม ข ้อ ก)
การคุม้ ครองลูกจ้างหญิงทำงานทีเ่ ป็ นอันตรายต่อ
สุภาพและความปลอดภัยในเวลา
๒๔.๐๐น.-๐๖.๐๐น.
มาตรา ๔๐ บัญญัตวิ า่ “ในกรณีทน ี่ ายจ ้างให ้ลูกจ ้างซ งึ่
เป็ นหญิงทำงานระหว่างเวลา ๒๔.๐๐นาฬกา ิ ถึงเวลา
๐๖.๐๐ นาฬกา ิ และพนักงานตรวจแรงงานเห็นว่างานนัน ้
อาจเป็ นอันตรายต่อสุขภาพและความปลอดภัยของหญิง
้ ให ้พนักงานตรวจแรงงานรายงานต่ออธิบดีหรือผู ้ซ งึ่
นัน
อธิบดีมอบหมายเพือ ่ พิจารณาและมีคำสงั่ ให ้นายจ ้าง
เปลีย่ นเวลาทำงาน หรือลดชวั่ โมงทำงานได ้ตามทีเ่ ห็น
สมควร และให ้นายจ ้างปฏิบต ิ ามคำสงั่ ดังกล่าว”
ั ต
ลูกจ้างซึง่ เป็ นหญิงมีครรภ์มสี ทิ ธิขอให้
นายจ้างเปลีย่ นงานชัวคราว

มาตรา ๔๒ บัญญัตวิ า่
“ในกรณีทล ู จ ้างซงึ่ เป็ นหญิงมีครรภ์มใี บรับรองของ
ี่ ก
แพทย์แผนปั จจุบน ั ชน ั ้ หนึง่ มาแสดงว่าไม่อาจทำงาน
ในหน ้าทีเ่ ดิมต่อไปได ้ ให ้ลูกจ ้างนัน ิ ธิขอให ้
้ มีสท
นายจ ้างเปลีย ่ นงานในหน ้าทีเ่ ดิมเป็ นการชวั่ คราวก่อน
หรือหลังคลอดได ้ และให ้นายจ ้างพิจารณาเปลีย ่ น
งานทีเ่ หมาะสมให ้แก่ลก ู จ ้างนัน
้ ”
ลูกจ้างซึง่ เป็ นหญิงมีครรภ์มสี ทิ ธิขอให้
นายจ้างเปลีย่ นงานชัวคราว

แม ้งานทีล ู จ ้างหญิงมีครรภ์ทำงานนี้ จะไม่ใชง่ านอันตรายต่อ
่ ก
สุขภาพอนามัยของลูกจ ้างก็ตาม แต่หากลูกจ ้างซงึ่ เป็ นหญิงมี
ครรภ์ขอเปลีย ่ นงานในหน ้าทีเ่ ดิมได ้
๑)ต ้องเป็ นลูกจ ้างหญิงมีครรภ์ ซงึ่ เวลาทีข ่ นได ้คือ ชว่ ง
่ อเปลีย
เวลาก่อนคลอด และหลังคลอดแล ้วก็สามารถขอได ้
๒)ต ้องมีใบรับรองแพทย์แผนปั จจุบน ั ขัน
้ ๑ มาแสดงว่าไม่อาจ
ทำงานในตำแหน่งเดิมได ้
๓)เมือ่ ลูกจ ้างขอเปลีย ่ นงานโดยแสดงใบรับรองแพทย์แล ้ว
นายจ ้างต ้องพิจารณาเปลีย ่ นงานทีเ่ หมาะสมให ้ นายจ ้างจะใช ้
ดุลยพินจ ิ ไม่เปลีย ่ นงานไม่ได ้
ห้ามมิให้เลิกจ้างลูกจ้างหญิง
เพราะเหตุมคี รรภ์
มาตรา ๔๓ บัญญัตวิ า่
“ห ้ามมิให ้นายจ ้างเลิกจ ้างลูกจ ้างซงึ่ เป็ นหญิง
เพราะเหตุมคี รรภ์”
ห้ามมิให้เลิกจ้างลูกจ้างหญิง
เพราะเหตุมคี รรภ์
ข้อสงเกตั
๑) “การเลิกจ ้างเพราะเหตุมค ี รรภ์”เป็ นข ้อเท็จจริงทีล
่ ก
ู จ ้างยกขึน ่ นี้
้ อ ้าง เช น
หากลูกจ ้างจะยกเหตุดงั กล่าวขึน ้ อ ้างจะต ้องเก็บพยานหลักฐานต่างๆ เอา
ไว ้อย่างรอบคอบ
๒) มาตรา ๔๓ เป็ นการห ้ามเลิกจ ้างเพราะเหตุมค ี รรภ์เท่านัน ้ หากมีการเลิก
จ ้างเพราะเหตุอน ื่ ในระหว่างการตัง้ ครรภ์ นายจ ้างก็สามารถบอกเลิกจ ้างได ้
ดังนัน้ จึงควรพิจารณาถึง “เหตุ” ว่าเลิกจ ้างด ้วยเหตุอะไร มีเหตุจากตัว
ลูกจ ้าง เชน ่ ถ ้าลูกจ ้างละทิง้ หน ้าทีเ่ ป็ นเวลาทำงานเกินกว่า ๓ วันโดยไม่ม ี
เหตุอน ั สมควร หรือถ ้าลูกจ ้างกระทำความผิดอาญาโดยเจตนาแก่นายจ ้าง
หรือมีเหตุจากตัวนายจ ้าง เชน ่ นายจ ้างขาดทุน เป็ นต ้น นายจ ้างก็สามารถ
เลิกจ ้างได ้ แม ้จะอยูใ่ นระหว่างการตัง้ ครรภ์ก็ตาม
ห้ามมิให้เลิกจ้างลูกจ้างหญิง
เพราะเหตุมคี รรภ์

ข้อสงเกต
๓) หากนายจ ้างเลิกจ ้างโดยฝ่ าฝื นมาตรา ๔๓ เพราะเหตุท ี่
ลูกจ ้างหญิงมีครรภ์คำสงั่ เลิกจ ้างของนายจ ้างจึงเป็ น “คำสงั่ ที่
ไม่ชอบด ้วยกฎหมาย” เพาะฝ่ าฝื นพระราชบัญญัตค ิ ุ ้มครอง
แรงงาน พ.ศ. ๒๕๔๑ อันเป็ นกฎหมายทีเ่ กีย ่ วกับความสงบ
เรียบร ้อย เชน่ นีจ
้ งึ ต ้องถือว่า “ลูกจ ้างยังมีสถานะเป็ นลูกจ ้าง
อยู”่ ทำให ้ลูกจ ้างมีสท ิ ธิฟ้องคดีตอ่ ศาลแรงงานเพือ ่ ให ้ศาล
แรงงานแสดงว่าคำสงั่ นัน ้ เป็ นคำสงั่ ทีไ่ ม่ชอบด ้วยกฎหมาย
และสามารถเรียกร ้องค่าเสย ี หายได ้

You might also like