Download as ppt, pdf, or txt
Download as ppt, pdf, or txt
You are on page 1of 23

กฎหมายอาญา

• ลักษณะของกฎหมายอาญา

• โครงสร้างความรับผิดทางอาญา

้ ระทำความผิดหลายคน
• ผูก

• โทษทางอาญา
ความผิด ความผิด
ในตัวเอง โดยข้ อห้ าม

กฎหมายอาญา = กฎหมายที่
บัญญัตถิ งึ ความผิดและโทษ
สถานที่ บุคคล
เวลา
ใช้ บังคับแก่ การ ใช้ บังคับกับทุกคน
กฎหมายไม่ มี
กระทำความผิด เสมอกันไม่ ว่าคน
ผลย้ อนหลัง
ทีเ่ กิดในเขตของรัฐ ไทยหรือต่ างด้ าว
เป็ นผลร้ าย
ลักษณะของกฎหมายอาญา
 ไม่มีความผิด และไม่มีโทษ หากไม่มี
กฎหมายกำหนดไว้ขณะกระทำ
 ใช้บงั คับกับความผิดที่เกิดขึน
้ ในราช
อาณาจักร
้ ดิน อากาศเหนื อพืน้ ดิน พืน้ น้ำ อากาศ
 พืน
เหนื อพืน้ น้ำ
 อากาศยานไทย หรือเรือไทยที่ อยู่นอกราช
อาณาจักร
 ความผิดบางประเภท
ลักษณะของกฎหมายอาญา

 ใช้กฎหมายย้อนหลังเป็ นผลร้ายไม่ได้
 ต้องตีความโดยเคร่งครัด
โครงสร้างความรับผิดทางอาญา
 จะต้องประกอบด้วยองค์ประกอบ
ภายนอกและองค์ประกอบภายใน
 และจะต้องพิจารณาถึงเหตุยกเว้นความ
ผิด เหตุยกเว้นโทษ และเหตุลดโทษเพื่อ
พิจารณาว่าการกระทำนัน้ จะถือเป็ น
ความผิดหรือไม่ หรือเป็ นความผิดแล้วจะ
ต้องรับโทษ หรือไม่ต้องรับโทษ
โครงสร้างความรับผิดทางอาญา
 องค์ประกอบภายนอก
 การกระทำ

การเคลื่อนไหวร่างกายโดยรู้ส ำนึ ก

 การกระทำโดยไม่เคลื่อนไหวร่างกาย

การงดเว้นการกระทำ(ตามหน้ าที่ )

การละเว้นการกระทำ
โครงสร้างความรับผิดทางอาญา
 องค์ประกอบภายใน
 เจตนา

 เจตนาประสงค์ต่อผล

 เจตนาเล็งเห็นผล

 ประมาท: ไม่มีเจตนาในการกระทำนัน

แต่มิได้ใช้ความระมัดระวังเท่าที่ควร(ต้อง
มีกฎหมายบัญญัติว่าเป็ นความผิด)
โครงสร้างความรับผิดทาง
อาญา

องค์ประกอบภายนอก + องค์ประกอบภายใน

ความผิดตามกฎหมายอาญา
แล้วจะต้องรับผิด ถูกลงโทษทันทีหรือไม่?
แล้วการกระทำนัน้ บรรลุตาม
ความประสงค์หรือยัง?
โครงสร้างความรับผิดทางอาญา

 ถ้าการกระทำนัน
้ บรรลุตามความ
ประสงค์กถ็ ือว่าความผิดสำเร็จแล้ว
 ถ้าไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์เรียกว่าเป็ น
เพียง “พยายาม” กระทำความผิด
พยายามกระทำความผิด

 พยายามกระทำความผิด คือ ได้มีการ


ลงมือกระทำความผิดแล้ว แต่ทำไปไม่
ตลอด หรือกระทำไปตลอดแต่ไม่บรรลุ
ผล
 ต้องรับผิด 2 ใน 3 ของโทษที่กฎหมาย
กำหนดไว้
พยายามกระทำความผิด

 พยายามกระทำความผิดแต่ไม่บรรลุผลอ
ย่างแน่ แท้ ด้วยเหตุเพราะ
 ปัจจัยที่ใช้ในการกระทำความผิด

 วัตถุที่มุ่งต่อการกระทำ

 รับโทษไม่เกินกึ่งหนึ่ ง เว้นแต่กระทำไป
เพราะความงมงาย ศาลจะไม่ลงโทษก็ได้
พยายามกระทำความผิด

 การยับยัง้ ลงมือกระทำแล้วแต่เกิดจาก
ความสมัครใจของผูก้ ระทำผิดที่ไม่กระทำ
ให้ตลอด
 การกลับใจ ลงมือกระทำแล้วแต่กลับ
ใจเสียเองเข้าแก้ไขไม่ให้ผลนัน้ เกิดขึน้
 ทัง้ สองกรณี นี้ ศาลยกเว้นโทษให้ผก
ู้ ระทำ
ความผิด
โครงสร้างความรับผิดทาง
อาญา
องค์ประกอบ องค์ประกอบ
ภายนอก
+ ภายใน

ความผิดตามกฎหมายอาญา
เหตุ เหตุ เหตุ
ยกเว้น ยกเว้น ลด
ความผิด โทษ โทษ
เหตุยกเว้นความผิด
 ป้ องกัน
 มีภยันตรายอันละเมิดต่อกฎหมาย

 ใกล้จะถึงตัว

 ทำไปเพื่อป้ องกันสิทธิของตนเองหรือผูอ
้ ื่น
 พอสมควรแก่เหตุ

 ยินยอม

 กฎหมายยกเว้นความผิด
โครงสร้างความรับผิดทาง
อาญา
องค์ประกอบภายนอก + องค์ประกอบภายใน

เหตุ
ยกเว้น เหตุ
ความผิด ยกเว้น
โทษ
เหตุยกเว้นโทษ
 จำเป็ น
 เพราะอยู่ในที่ บงั คับ

 กระทำเพื่อให้ตนเองหรือผูอ
้ ื่นพ้นภัย
 พอสมควรแก่เหตุ

 การกระทำของเด็กอายุไม่เกิน 14 ปี
 การกระทำของคนวิกลจริต

 การกระทำของผูม
้ ึนเมา
เหตุ
เหตยุ กเว้ นโทษ(ต่ อ)
 ความผิดเกีย่ วกับทรัพย์ ระหว่ างสามีกบั ภรรยา
โครงสร้างความรับผิดทาง
อาญา
องค์ประกอบภายนอก + องค์ประกอบภายใน

เหตุ เหตุ
ยกเว้น ยกเว้น เหตุ
ความผิด โทษ ลด
โทษ
เหตุลดโทษ
 บันดาลโทสะ
 ถูกข่มเหงอย่างร้ายแรง ไม่เป็ นธรรม

้ ่มเหงตนขณะบันดาลโทสะ
 กระทำต่อผูข

 ป้ องกัน/จำเป็ น เกินกว่าเหตุ

้ ระทำความผิดอายุ
 ผูก
 + 14-17 ปีไม่ลงโทษหรือลงโทษกึ่งหนึ่ ง
 +17-20 ปี ลดโทษ 1/3 หรือกึ่งหนึ่ ง

 ความผิดเกี่ยวกับทรัพย์ระหว่างญาติสนิท
ผูก้ ระทำความผิดหลายคน
 ตัวการ
 บุคคลตัง้ แต่ 2 คนขึน
้ ไป
 มีเจตนาร่วมกันและกระทำการร่วมกัน

 ผูใ้ ช้

ู้ ื่นกระทำความผิดไม่ว่าด้วยวิธี
 ก่อให้ผอ
การใดๆ
้ กู ใช้ลงมือกระทำความผิด
 ผูถ
ผูก้ ระทำความผิดหลายคน
 ผูใ้ ช้ (ต่อ)
 เมื่อใช้แล้วผูใ้ ช้ต้องรับโทษ 1/3

 ถ้าความผิดสำเร็จผูใ้ ช้รบ
ั โทษเสมือน
ตัวการ (เป็ นผูก้ ระทำเอง)
 ถ้าทำไปแล้วความผิดไม่ส ำเร็จ รับโทษ
ในฐานพยายามกระทำความผิด
ผูก้ ระทำความผิดหลายคน
 ผูส
้ นับสนุน
 ช่วยเหลือ หรือให้ความสะดวกโดย
เจตนา
 เป็ นการให้ความช่วยเหลือก่อนหรือขณะ
กระทำความผิด
 ผูส
้ นับสนุนรับโทษ 2/3 ของโทษที่กระทำ
โทษตามกฎหมายอาญา
 ประหารชีวิต :ฉี ดยาให้ตาย

 จำคุก: กักขังเอาไว้ในเรือนจำ

 กักขัง: ขังไว้ในสถานที่ ที่มิใช่เรือนจำ เช่น


สถานี ตำรวจ
 ปรับ รวมถึงการกักขังแทนค่าปรับ

 ริบทรัพย์: ทรัพย์ที่มีไว้เป็ นความผิด


ทรัพย์ที่ใช้ในการกระทำความผิด และ
ทรัพย์ที่ใช้ได้มาจากการกระทำความผิด

You might also like