Download as ppt, pdf, or txt
Download as ppt, pdf, or txt
You are on page 1of 94

เครื่องหมายแสดง

เส้ นแบ่ งเขต


ก.เส้ นแบ่ งเขตทางข้ าง เส้ นแบ่ งเขตแสดงด้ วยเส้ นทึบ
พร้ อมด้ วยเครื่องหมายแสดงขนาดหน่ วย เขียนไว้
ตรงช่ องว่ างทีเ่ หมาะสมตามหน่ วย เหล่า และชาติ ถ้ า
จำเป็ นให้ เขียนไว้ แต่ ละด้ านของเครื่องหมายแสดง
ขนาด ถ้ าเส้ นแบ่ งเขตทางข้ างของหน่ วยทีม่ ขี นาดไม่
เท่ ากัน ให้ ใช้ สัญลักษณ์ ของหน่ วยทีใ่ หญ่ กว่ า
๑ พล.ร.๓
เส้ นแบ่ งเขตระหว่ าง
กองทัพน้ อย ๑ และ
กองพลทหารราบที่ ๓
๑ ๒
เส้ นแบ่ งเขตระหว่ าง
กองพลทหารราบที่ ๑
และ ๒
ร.๓ ม.ยก.๑๔
เส้ นแบ่ งเขตระหว่ าง
กองพลทหารราบที่ ๓
และ
กรมทหารม้ ายานเกราะที่ ๑๔
ข.เส้ นเขตหลัง ถ้ าแสดงเส้ นเขตหลังให้ ใช้
เครื่องหมายแสดงขนาดของหน่ วยทีเ่ ล็ก
กว่ าหรือกล่ าวอีกอย่ างหนึ่ง ให้ ใช้
สั ญลักษณ์ ของหน่ วยรับการบังคับบัญชา
ไม่ ใช่ หน่ วยบังคับบัญชาเหล่ าและชาติของ
หน่ วยอาจแสดงไว้ เพือ่ ป้องกันการสั บสน
พล.ร.๔๓
ทน.๕
เส้ นเขตหลังแยก
กองพลทหารราบที่ ๔๓
และ กองทัพน้ อยที่ ๕
ม.ยก.๑๔
ทน.๕
เส้ นเขตหลังแยก
กรมทหารม้ ายานเกราะที่ ๑๔
และ กองทัพน้ อยที่ ๕
ค.เส้ นแบ่ งเขตทีเ่ สนอ เส้ นแบ่ งเขต
ในอนาคต หรือทีเ่ สนอ แสดงด้ วย
เส้ นประพร้ อมกับเวลาหรือสภาพ
การมีผลใช้ บังคับ และกองบังคับ
การทีก่ ำหนดเส้ นแบ่ งเขตนั้น
ตัวอย่ าง
ฉก.พัน.ร.๒๓๑
มีผลเมือ่ กองพลสั่ ง

ฉก.พัน.ร.๒๓๒
ง.จุดจำกัด หรือจุดประสาน
เขต ให้ ใช้ เครื่องหมาย
ตามข้ างล่างนี้ เขียนลง
บนแนวต่ าง ๆ
จ.เมือ่ ไม่ อาจเขียนเส้ นแบ่ งเขตระหว่ างหน่ วย
ต่ าง ๆ ได้ เหมาะสม แต่ มคี วามจำเป็ นต้ อง
แสดงพืน้ ทีข่ องหน่ วยนั้น ๆ โดยธรรมดาให้
เขียนเส้ นล้ อมรอบแสดงเป็ นพืน้ ที่ และเขียน
เครื่องหมายแสดงขนาดหน่ วยตรงช่ องว่ าง
ระหว่ างเส้ นนี้ หรืออาจจะเขียนเครื่องหมาย
แสดงหน่ วยไว้ ภายในเส้ นล้ อมรอบนีก้ ไ็ ด้ เช่ น
พืน้ ที่
ของหมวด
พืน้ ทีข่ อง
หมวดทหารราบ
ฉ.พืน้ ทีท่ ตี่ ้งั ใจจะเข้ าไปยึดครองให้
แสดงด้ วยเส้ นประ และอาจเขียน
เครื่องหมายแสดงขนาดหน่ วยหรือ
เครื่องหมายแสดงหน่ วยประกอบ
กับเส้ นนีก้ ไ็ ด้ เช่ น
พืน้ ทีท่ คี่ ดิ จะให้ กอง
ร้ อยเข้ ายึดครอง
พืน้ ทีท่ คี่ ดิ จะให้
กองร้ อยทหารช่ าง
เข้ ายึดครอง
ช.หากมีหน่ วยทหารหลายหน่ วย
ตั้งอยู่ในพืน้ ทีเ่ ดียวกัน ก็ให้ เขียน
เครื่องหมายแสดงหน่ วยทั้งหลาย
นั้นเรียงซ้ อนกัน แล้ วเขียนเส้ นตรง
ไปยังพืน้ ทีท่ หี่ น่ วยเหล่ านั้นตั้งอยู่
เช่ น
ซ.แนวหน้ าของการ
วางกำลังฝ่ ายเรา
แสดงด้ วยเส้ นโค้ ง
ติดต่ อกัน เช่ น
ซ.แนวหน้ าของการ
วางกำลังของข้ าศึก
แสดงด้ วยเส้ นโค้ งคู่
ติดต่ อกัน เช่ น
ฌ.แนวทีห่ น่ วยลาดตระเวน
ของฝ่ ายเรายึดอยู่อย่ างบาง ๆ
(การวางกำลังข้ างหน้ าฝ่ ายเรา)
แสดงด้ วยจุดโค้ งติดต่ อกัน เช่ น
ฌ.แนวทีห่ น่ วยลาดตระเวนของ
ข้ าศึก
ยึดอยู่อย่ างบาง ๆ
(การวางกำลังข้ างหน้ าของข้ าศึก)
แสดงด้ วยวงกลมเล็ก ๆ ติดต่ อกัน
เช่ น
จุดและวงกลมไม่ แสดงถึงกำลังหรือทีต่ ้งั อันแท้ จริงของหน่ วยลาดตระเวน
ญ.เมือ่ ใช้ แสดงแนวปะทะหรือ
แนวทีห่ น่ วยลาดตระเวนยึดอย่ ู
อย่ างบาง ๆ ใช้ สี น้ำเงิน แสดง
สำหรับฝ่ ายเรา และ สี แดง
แสดงสำหรับฝ่ ายข้ าศึก
ฎ.ทีห่ มายต่ าง ๆ แสดงด้ วยเส้ นทึบ
ล้ อมรอบพืน้ ทีแ่ ละเขียนคำย่ อ
“ทม.” ไว้ ภายใน เมือ่ ต้ องการ
แสดงรายละเอียดเพิม่ เติมก็ให้ เขียน
หน่ วยเจ้ าของทีห่ มายลงไปด้ วย
เช่ น
ทม.
ทม.
พล.ร.๒
ฏ.เมือ่ ต้ องการจะแสดงทิศทาง
เข้ าตีไปยังทีห่ มาย ก็ให้
เขียนลูกศรเพิม่ ขึน้ อีกจาก
แนวออกตีไปยังทีห่ มาย
เช่ น
นต.
ลูกศรนีม้ ไิ ด้ แสดงเส้ นทางทีแ่ น่ นอนสำหรับการเข้ าตี

ทม.
พล.ร.๒
แต่ จะแสดงเพียงทิศทางเข้ าตีเท่ านั้น
นต.
ฐ.เมือ่ ต้ องการจะแสดงทิศทาง
เคลือ่ นทีโ่ ดยทัว่ ไปของหน่ วย ให้
เขียนเครื่องหมายลูกศรประกอบ
กับคำว่ า “เส้ นหลักการรุก”
ประกอบด้ วยก็ได้ ดังนี้
เส้ นหลักการรุก พล.ร.๒๐
ฑ.ภาพแสดงหน่ วย
ทีท่ ำหน้ าทีก่ ำบัง
หรือระวังป้องกัน
ฒ.เครื่องหมายแสดงแนว
จุดควบคุมและพืน้ ทีจ่ ำกัด
ขนม. ขนม.
ขอบหน้ า
ทีม่ นั่ ตั้งรับ
ฉากการยิง
(ทัว่ ไป)
1201
(105 โค้ ง)
ปบค.๑๐๕ มม.
ยิงฉากต่ อเป้เป้า
หมายที่ ๑๒๐๑
ร้ อย.2 ป.พัน.3
(105 โค้ ง)
ฉากการยิงของกองร้ อยที่ ๒
กองพันทหารปื นใหญ่ ที่ ๓ (๑
๐๕ มม.)
ออกตี
ฐานออกตี
นทดร. นทดร.
แนวทีม่ นั่
รักษาด่ านรบ
นทดป. นทดป.
แนวทีม่ นั่
รักษาด่ านทัว่ ไป
ขั้นเดียว ขั้นเดียว

ขั้น ก ขั้น ก

ขั้น 2 ขั้น 2
ขั้นการเคลือ่ นที่
(ใช้ รหัส, อักษร,
ตัวเลข)
แดง ข 45
จุดตรวจ
(ใช้ รหัส, อักษร,
ตัวเลข)
นหย. นหย.(หน่ วย)
(วัน - เวลาทีม่ ผี ลบังคับ)
แนวห้ ามยิง
(สี แดงประ)
(ห้ ามยิงต่ำกว่ าแนวนี)้
นต. นต.
แนวออกตี
นปยส. นปยส.
แนว
ประสานการยิงสนับสนุน
(สี ดำทึบ)
(แนวภูมปิ ระเทศเด่ นชัดสำหรับ บ. และ
ป.)
นปย. นปย.
แนวประสานการยิง
(สี แดงทึบ)
(เมือ่ มี ๒ หน่ วยขึน้ ไป)
นป.ขั้นสุ ดท้ าย นป.ขั้นสุ ดท้ าย
แนวประสาน
ขั้นสุดท้ าย
แนวทางการแทรกซึม
แนวทาง
นต.คือ ทป. นต.คือ ทป.
แนวออกตี คือ
ทีต่ ้งั ปัจจุบัน
นต./นป. นต./นป.
แนวออกตี คือ
แนวปะทะ
นต.คือ นกฝ. นต.คือ นกฝ.
แนวออกตี คือ
แนวหน้ าของการ
วางกำลังฝ่ ายเดียวกัน
พืน้ ที่
รวมพล
อาบพิษ
พืน้ ทีอ่ าบพิษ
(ข้ างในเส้ นสี
เหลือง)
จุด
จุดจบ
(ณ แนวขั้นและเส้ นเขตทางข้ างตัดกัน)
ก ข
จุดผ่ าน
(บนแนวควบคุมทีฝ่ ่ ายเรายึด
และหน่ วยอืน่ ของฝ่ ายเราจะ
ถอนตัวผ่ าน)

You might also like