Download as ppt, pdf, or txt
Download as ppt, pdf, or txt
You are on page 1of 136

Low Voltage Circuit Breakers

( LVCB )

ผศ . ประสิทธ์ ิ พิทยพัฒน์
06/10/22 ผศ . ประสิ ทธิ์ พิทยพัฒน์ 1
บทนำ
- การปฎิบตั ิ งาน ทางด้านไฟฟ้ ากำลัง นัน้
มี อุปกรณ์ 2 กลุ่มที่ พบทุกๆงาน คือ
1 . Circuit Breakers
ตู้ Switchboards ( MDB ) , ตู้ Distribution Boards ( DB )
2. ท่อสาย , Wireways , Cable Trays
สายไฟฟ้ า
- ดังนัน้ ช่าง และวิศวกรไฟฟากำลัง ต้องศีกษา อุปกรณ์ 2 กลุ่ม
ดังกล่าว ให้เข้าใจอย่างดี เพี่อให้สามรถเลีอกใช้
อุปกรณ์เหล่านัน้ อย่างถูกต้อง

06/10/22 ผศ . ประสิ ทธิ์ พิทยพัฒน์ 2


1. LV Switchgear Standards
- อุปกรณ์ไฟฟ้ าแรงดันต่ำที่ใช้ในการ
ุ สมบัติที่เหมือนกัน
นำกระแส ตัดและต่อ วงจร นัน้ มีคณ
หลายประการ เช่น แรงดันพิกดั กระแสพิกดั เป็ นต้น

- ทาง IEC จึงได้จดั ทำ กลุ่มมาตรฐาน นี้ ขึน้ คือ


IEC 60947 Low - voltage switchgear and controlgear

06/10/22 ผศ . ประสิ ทธิ์ พิทยพัฒน์ 3


IEC 60947 มีหลาย Parts
60947 - 1 General Rules
60947 - 2 Part 2. Circuit Breakers
60947 - 3 Part 3, Switches, Disconnectors,
Switch - Disconnectors and fuse Combination units
60947 - 4 Part 4 Contactors and Motor Starters

06/10/22 ผศ . ประสิ ทธิ์ พิทยพัฒน์ 4


60947 - 5 Part 5 Control - Circuit devices and switching elements
60947 - 6 Part 6 Multiple function switching devices
60947 - 7 Ancillary equipments
60947 - 8 Control units for built- in thermal protection ( PTC )
for rotating electrical machines

- Part 1 General Rules ใช้ร่วมกัน


- มาตรฐาน CB คือ Part 2. Circuit Breakers
06/10/22 ผศ . ประสิ ทธิ์ พิทยพัฒน์ 5
2. Circuit Breaker
- Definition to IEC 60947 - 2
- A mechanical switching device , capable of making ,
carrying and breaking currents
under normal circuit conditions
and also making , carrying for a specified time
and breaking currents under specified
abnormal circuit conditions
such as those of short - circuit
06/10/22 ผศ . ประสิ ทธิ์ พิทยพัฒน์ 6
เซอร์กิตเบรกเกอร์แรงดันต่ำ
( Low Voltage Circuit Breakers )

- เป็ นบริภณ
ั ฑ์ไฟฟ้ าสำหรับ
เปิดปิดวงจรไฟฟ้ าแรงดันต่ำในภาวะปกติ
และจะเปิดวงจรโดยอัตโนมัติ เมื่อเกิดภาวะผิดปกติ
การใช้ก ำลังเกิน ( Overload )
การลัดวงจร ( Short Circuit )

06/10/22 ผศ . ประสิ ทธิ์ พิทยพัฒน์ 7


- หลังจากทำการแก้ไข
สิ่งผิดปกติบกพร่อง เรียบร้อยแล้ว
ก็สามารถสับไฟเข้าให้ใช้งานต่ออีกได้

06/10/22 ผศ . ประสิ ทธิ์ พิทยพัฒน์ 8


3. มาตรฐานของ CB
มาตรฐานของ CB ที่สำคัญคือ

- IEC 60947-2 “Low Voltage Swichgear


and Controlgear ,
Part 2 Circuit Breaker ”

- IEC 60898 “ Circuit Breakers for Overcurrent


Protection for Household
and Similar Installations ”
06/10/22 ผศ . ประสิ ทธิ์ พิทยพัฒน์ 9
พิกดั ที่สำคัญ

พิกดั ที่ส ำคัญตามมาตรฐาน IEC 60947 - 2 มีดงั ต่อไปนี้

1 ) Rated Voltages

- Rated operational voltage ( Ue )


400 V , 690 V
- Rated insulation voltage ( Ui )
1000 V
- Rated impulse withstand voltage ( Uimp )
06/10/22 8 kVผศ,. 12 kVทธิ์ พิทยพัฒน์
ประสิ 10
2 ) พิกดั กระแสต่อเนื่ อง In

- ค่ากระแส RMS ที่ CB สามารถทนได้ที่

อุณหภูมิไม่เพิ่มเกินค่าที่กำหนดให้

ของอุณหภูมิโดยรอบ ( Ambient Temperature )

06/10/22 ผศ . ประสิ ทธิ์ พิทยพัฒน์ 11


บริษทั ผูผ้ ลิตส่วนมาก
จะทำ CB ที่มี ขนาดโครง ( Frame ) เป็ นช่วงกว้าง
แล้วปรับตัง้ กระแสพิกดั ในระหว่างช่วงให้ละเอียดขึน้
Ampere Frame ( AF ) และ Ampere Trip ( AT )
1. Ampere Frame ( AF ) คือ ขนาดพิกดั กระแสสูงสุด
ที่สามารถใช้ได้กบั ขนาดโครงของ CB

2. Ampere Trip ( AT ) คือ ขนาดพิกดั กระแส


ที่ปรับตัง้ ให้ CB ใช้งาน
06/10/22 ผศ . ประสิ ทธิ์ พิทยพัฒน์ 12
ค่า AF ขนาดมาตรฐานและ AT

มาตรฐาน IEC ได้ก ำหนด AF ไว้ดงั นี้ คือ


63 , 80 , 100 , 125 , 160 , 200 , 250 , 320 , 400 , 500 ,
630 , 800 , 1000 , 1250 , 1600 , 2000 , 2500 , 3200 , 4000, 5000 ,
6300 A
บริษทั บางแห่งอาจจะไม่ผลิตค่า AF บางค่าได้
ค่า AT ที่บริษทั ต่างๆ จะผลิตออกมานัน้ มีหลายค่า
แล้วแต่ความต้องการของบริษทั นัน้ ๆ
06/10/22 ผศ . ประสิ ทธิ์ พิทยพัฒน์ 13
ค่า AF ขนาดมาตรฐานและ AT

ที่ AF = 250 A
อาจตัง้ AT ไว้ ดังนี้ คือ
100 , 125 , 150 , 175 ,
200 , 225 A และ 250 A
ที่ AF = 1600 A มี AT ค่าต่างๆ คือ
800 , 1000 , 1250 ,
1600 A
06/10/22 ผศ . ประสิ ทธิ์ พิทยพัฒน์ 14
3 ) พิกดั การตัดกระแสลัดวงจร
( Interrupting Capacity = IC , Breaking Capacity )

- กระแสลัดวงจรสูงสุดที่ CB สามารถตัดได้
โดยที่ตวั CB ไม่ได้รบั ความเสียหาย

- ค่า IC ของ CB ต้องได้จากการทดสอบ


และขึน้ กับตัวแปรหลายตัว เช่น แรงดัน
ตัวประกอบกำลัง เป็ นต้น
06/10/22 ผศ . ประสิ ทธิ์ พิทยพัฒน์ 15
- CB ที่สามารถใช้ ได้กบั หลายแรงดัน
จะต้องมีค่า IC ที่แต่ละแรงดันด้วย

- ค่า IC ของ CB เป็ นพิกดั ที่สำคัญมาก อย่างหนึ่ ง


ในการเลือก CB เพื่อใช้สำหรับงานหนึ่ งงานใด

CB ต้องมีค่า IC
มากกว่าค่ากระแสลัดวงจร ที่ค ำนวณได้ที่จดุ ติดตัง้

06/10/22 ผศ . ประสิ ทธิ์ พิทยพัฒน์ 16


ตาม IEC 60947-2
พิกดั การตัดกระแสลัดวงจรมีดงั นี้

Icu = Rated Ultimate Short-Circuit Breaking


Capacity ( Switching Sequence O-t-CO )
Ics = Rated Service Short-Circuit Breaking
Capacity ( Switching Sequence O-t-CO-t-CO )
Icw = Rated Short-time Current Withstand

Icm = Rated Making Capacity

06/10/22 ผศ . ประสิ ทธิ์ พิทยพัฒน์ 17


Icu = Rated Ultimate Short - Circuit Breaking Capacity

- การทดสอบ ลัดวงจร มี Switching Sequence O - t - CO


- หลังจากปรับตัง้ ค่าเครื่องให้ได้ kA และ P.F. เรียบร้อยแล้ว
- ลัดวงจรด้านหนึ่ งของ CB แล้วสับไฟฟ้ าเข้าอีกด้านหนึ่ ง
- CB จะเห็นลัดวงจรและทำการตัดวงจรออก Open , O
- รอเวลา 3 minutes แล้วสับ CB เข้า ขณะมีไฟจ่ายเข้า
CB จะเห็นลัดวงจร และทำการตัดวงจรทันที Close Open , CO
- นำ CB นี้ ไปทดสอบอีกหลายรายการ เช่น O / L
ถ้าผ่านการทดสอบ แสดงว่า CB มี Icu ตามค่าทดสอบ

06/10/22 ผศ . ประสิ ทธิ์ พิทยพัฒน์ 18


Ics = Rated Service Short – Circuit Breaking Capacity

- การทดสอบ ลัดวงจร มี Switching Sequence O - t - CO – t – CO


- คล้ายการทดสอบ Icu แต่การตัดวงจรเพิ่มอีก 1 ครัง้ t – CO
CB ต้องทำงานหนักขึน้

- Ics อาจคิดเป็ น % Icu


Ics = 50 , 75 ,100 % Icu
- CB ขนาดเล็ก บาง บริษทั ผูผ้ ลิต จะให้
Ics = Icu

06/10/22 ผศ . ประสิ ทธิ์ พิทยพัฒน์ 19


Icw = Rated Short - time Current Withstand

- ในการทดสอบเพื่อหา Icu , Ics


CB จะเปิดวงจรทันที ไม่มีการหน่ องเวลา
คือใช้เวลาตัดวงจรประมาณ 20 ms ประมาณ 1 cycle
- การทดสอบหาค่า Icw
CB จะถูกหน่ วงเวลาให้ตดั วงจรตามเวลาที่ตงั ้ ไว้
- แสดงว่า CB ต้องทน Dynamic Force ที่เกิดจากการลัดวงจรได้
- ค่า Icw มีเฉพาะใน ACB
- เวลาหน่ วงเวลา
0.05 , 0.10 , 0.25 , 0.5 , 1 s
06/10/22 ผศ . ประสิ ทธิ์ พิทยพัฒน์ 20
Icm = Rated Making Capacity

- ค่าลัดวงจรสูงสุด Peak Short circuit Current


ที่ CB ทนได้
- ขึน้ อยู่กบั ค่า Icu , P.F. ของวงจร
-
-

06/10/22 ผศ . ประสิ ทธิ์ พิทยพัฒน์ 21


4. ประเภทของ CB
CB แบ่งตามลักษณะภายนอก
และ การใช้งานได้เป็ น 3 ชนิด คือ

1. Miniature Circuit Breaker ( MCB )

2. Molded Case Circuit Breaker ( MCCB )

3. Air Circuit Breaker ( ACB )

06/10/22 ผศ . ประสิ ทธิ์ พิทยพัฒน์ 22


06/10/22 ผศ . ประสิ ทธิ์ พิทยพัฒน์ 23
Miniature Circuit Breaker : MCB

- เป็ น CB ขนาดเล็กใช้ติดตัง้ ใน
แผงจ่ายไฟ ( Panelboard )
และแผงจ่ายไฟของที่อยู่อาศัย
( Consumer Unit )

- เพื่อป้ องกัน วงจรย่อย ของ


ระบบไฟฟ้ าของ บ้าน
สำนักงาน หรือ อุตสาหกรรม
06/10/22 ผศ . ประสิ ทธิ์ พิทยพัฒน์ 24
Miniature Circuit Breaker : MCB ( ต่อ )

- MCB สามารถทำตาม มาตรฐาน


IEC 60898 , IEC 60947-2

- IEC 60898
Domestic , Unskilled people

- IEC 60947-2
Commercial , Industrial Installations
06/10/22 ผศ . ประสิ ทธิ์ พิทยพัฒน์ 25
Hyundai MCB 1 P Hyundai MCB 2 P Hyundai MCB 3 P

Hyundai RCOB
• Hyundai RCCB IEC 61009
• IEC 61008
overload , short-circuit earth leakage
• Earth leakage
6 – 10 KA , 40 A – 63 A

06/10/22 ผศ . ประสิ ทธิ์ พิทยพัฒน์ 26


Miniature Circuit Breaker : MCB ( ต่อ )

- In < 125 A
Ue < 440 V
Icn < 25 kA
- 1 , 2 . 3 pole

- Width = 17.5 -18 mm สำหรับ 1 pole


Fixed on DIN RAIL 35 mm

06/10/22 ผศ . ประสิ ทธิ์ พิทยพัฒน์ 27


06/10/22 ผศ . ประสิ ทธิ์ พิทยพัฒน์ 28
Miniature Circuit Breaker : MCB ( ต่อ )

- Characteristic Curves
B,C,D

- B 3 to 5 In
C 5 to 10 In
D 10 to 20 In

06/10/22 ผศ . ประสิ ทธิ์ พิทยพัฒน์ 29


 
ประเภท B > 3 In ถึง 5 In
ใช้สำหรับวงจรไฟฟ้ าที่ไม่มีกระแสไฟกระโชก(inrush current)
หรือ เสิรจ์ สวิตชิง ( switching surge )

ประเภท C > 5 In ถึง 10 In


ใช้สำหรับวงจรไฟฟ้ าทัวไปที
่ ่อาจมีกระแสไฟกระโชก ( inrush current )
เช่น ไฟแสงสว่างฟลูออเรสเซนต์, มอเตอร์เล็กๆ, เครื่องปรับอากาศ เป็ นต้น

ประเภท D > 10 In ถึง 50 In


ใช้สำหรับวงจรไฟฟ้ าที่มีกระแสไฟกระโชก ( inrush current ) สูง
เช่น เครื่องเชื่อม เครื่องเอกซเรย์ เป็ นต้น

06/10/22 ผศ . ประสิ ทธิ์ พิทยพัฒน์ 30


06/10/22 ผศ . ประสิ ทธิ์ พิทยพัฒน์ 31
RCD ( Residual Current Devices )

- Earth Leakage Protection


- Protect
People ( Electrocution )
Property ( Fire )
- RCCB , RCBO

- RCCB Protect against earth leakage only IEC 1008


- RCBO Protect against earth leakage + O/L Protection IEC 1009

06/10/22 ผศ . ประสิ ทธิ์ พิทยพัฒน์ 32


• Hyundai RCCB
• IEC 61008
• Earth leakage

Hyundai RCOB
IEC 61009
overload , short-circuit earth
leakage
6 – 10 kA , 40 A – 63 A

06/10/22 ผศ . ประสิ ทธิ์ พิทยพัฒน์ 33


RCD ( Residual Current Devices )

- Protection of People Direct Contact


10 mA , 30 mA

- Protection of Property Indirect Contact


100 mA , 300 mA , 500 mA , 1000 mA

06/10/22 ผศ . ประสิ ทธิ์ พิทยพัฒน์ 34


06/10/22 ผศ . ประสิ ทธิ์ พิทยพัฒน์ 35
การป้ องกันไฟฟ้ าดูดโดยใช้เครื่องตัดไฟรัวในที
่ ่อยู่อาศัย
และที่คล้ายคลึงกัน

วงจรย่อยต่อไปนี้ นอกจากมีสายดินของบริภณ ั ฑ์ไฟฟ้ า


และติดตัง้ ตามบทที่ 4 แล้ว ต้องมีการป้ องกันโดย
ใช้เครื่องตัดไฟรัวขนาด
่ IDn ไม่เกิน 30 mA เพิ่มเติมด้วย คือ
ก) วงจรเต้ารับ ในบริเวณ ห้องน้ำ ห้องอาบน้ำ โรงจอดรถยนต์
ห้องครัว ห้องใต้ดิน
ข) วงจรเต้ารับ ในบริเวณ อ่างล้างชาม อ่างล้างมือ
( บริเวณพืน้ ที่เคาน์ เตอร์ ที่มีการติดตัง้ เต้ารับภายในระยะ 1.5 m
ห่างจากขอบด้านนอกของอ่าง )
06/10/22 ผศ . ประสิ ทธิ์ พิทยพัฒน์ 36
ค) วงจรไฟฟ้ าเพื่อใช้จ่ายภายนอกอาคาร
และบริภณ
ั ฑ์ไฟฟ้ าที่อยู่ในตำแหน่ งที่บคุ คลสัมผัสได้ทกุ วงจร

ง) วงจรเต้ารับในบริเวณชัน้ ล่าง ( ชัน้ 1 ) รวมถึงใน


บริเวณที่อยู่ต่ำกว่าระดับผิวดิน ที่อยู่ในพืน้ ที่ปรากฏ
ว่าเคยมีน้ำท่วมถึงหรืออยู่ในพืน้ ที่ต่ำกว่าระดับทะเลปานกลาง

จ) วงจรย่อย สำหรับ เครื่องทำน้ำอุ่น เครื่องทำน้ำร้อน อ่างอาบน้ำ

06/10/22 ผศ . ประสิ ทธิ์ พิทยพัฒน์ 37


การป้ องกันไฟฟ้ าดูดโดยใช้เครื่องตัดไฟรัวในสถานประกอบ

การที่ไม่ใช่ที่อยู่อาศัย

วงจรย่อย ต่อไปนี้ นอกจากมีสายดินของบริภณ ั ฑ์ไฟฟ้ า


และติดตัง้ ตามบทที่ 4 แล้ว ต้องมีการป้ องกัน
โดยใช้ เครื่องตัดไฟรัว่ ขนาด IDn ไม่เกิน 30 mA
เพิ่มเติมด้วย คือ
ก) วงจร สำหรับ สระหรืออ่างกายภาพบำบัด ธาราบำบัด
อ่างน้ำแร่ (spa) อ่างน้ำร้อน (hot tub) อ่างนวดตัว
ข) เครื่องทำน้ำอุ่น เครื่องทำน้ำร้อน และ เครื่องทำน้ำเย็น
06/10/22 ผศ . ประสิ ทธิ์ พิทยพัฒน์ 38
c. วงจรย่อยเต้ารับ ในบริเวณต่อไปนี้

1) ห้องน้ำ ห้องอาบน้ำ ห้องครัว


2) สถานที่ทำงานก่อสร้าง ซ่อมบำรุง บนดาดฟ้ า อู่ซ่อมรถ
3) ท่าจอดเรือ โป๊ ะจอดเรือ ที่ท ำการเกษตร พืชสวนและ
ปศุสตั ว์
4) การแสดงเพื่อการพักผ่อน ในที่สาธารณะกลางแจ้ง
5) งานแสดงหรือขายสินค้า และ ที่คล้ายคลึงกัน

06/10/22 ผศ . ประสิ ทธิ์ พิทยพัฒน์ 39


6) วงจรเต้ารับที่อยู่ชนั ้ ล่าง ( ชัน้ 1 ) ชัน้ ใต้ดิน
รวมถึงวงจรเต้ารับที่อยู่ต่ำกว่าระดับผิวดิน
ที่อยู่ในพืน้ ที่ปรากฏว่าเคยมีน้ำท่วมถึง
หรืออยู่ในพืน้ ที่ต่ำกว่าระดับทะเลปานกลาง

ยกเว้น มีระบบป้ องกันน้ำท่วม

06/10/22 ผศ . ประสิ ทธิ์ พิทยพัฒน์ 40


Molded Case Circuit Breaker ( MCCB )

- เป็ น CB ที่บริภณ
ั ฑ์ตรวจจับและบริภณ ั ฑ์ตดั ต่อ
อยู่ภายใน วัสดุฉนวน ซึ่งทำด้วย
สารประเภทพลาสติกแข็ง
- มีตงั ้ แต่ขนาดเล็กจนถึงขนาดใหญ่ใช้ส ำหรับ
ป้ องกันระบบไฟฟ้ า ตัง้ แต่ วงจรย่อย
สายป้ อน ถึง สายประธาน และ บริภณ ั ฑ์ไฟฟ้ า ด้วย

06/10/22 ผศ . ประสิ ทธิ์ พิทยพัฒน์ 41


06/10/22 ผศ . ประสิ ทธิ์ พิทยพัฒน์ 42
06/10/22 ผศ . ประสิ ทธิ์ พิทยพัฒน์ 43
06/10/22 ผศ . ประสิ ทธิ์ พิทยพัฒน์ 44
MCCB มี IC หลายขนาด ให้เลือกตามระบบไฟฟ้ า

- MCCB ขนาดมาตรฐาน ( Standard CB )

- MCCB แบบ IC สูง


( High Interrupting Capacity Circuit Breaker )

- MCCB แบบจำกัดกระแสลัดวงจร
( Current Limiting Circuit Breaker CLCB )

06/10/22 ผศ . ประสิ ทธิ์ พิทยพัฒน์ 45


MCCB ขนาดมาตรฐาน ( Standard CB )

- ขนาดตัง้ แต่ 125 AF ถึง 1600 AF


- มี IC ให้เลือกใช้อยู่หลายระดับ

- เป็ น MCCB ที่มี IC ไม่สงู นัก


เช่น 16 kA , 25 kA และ 35 kA
- เหมาะสำหรับงาน ระบบไฟฟ้ าขนาดเล็ก ขนาดปานกลาง

06/10/22 ผศ . ประสิ ทธิ์ พิทยพัฒน์ 46


MCCB แบบ IC สูง
( High Interrupting Capacity Circuit Breaker )

- มี IC สูงกว่า Standard CB
- มีขนาดของ IC หลายระดับ
ได้แก่ 25 kA , 35 kA , 50 kA , 65 kA และ 100 kA

- MCCB แบบนี้ ใช้ในที่ซึ่งมีกระแสลัดวงจรสูง


เกินกว่าที่จะใช้ CB แบบมาตรฐานได้
06/10/22 ผศ . ประสิ ทธิ์ พิทยพัฒน์ 47
MCCB แบบจำกัดกระแสลัดวงจร
( Current Limiting Circuit Breaker CLCB )

- เป็ น CB ที่มี IC สูงมาก คือ


100 kA ถึง 200 kA ที่ 400/415 V

- สามารถตัดกระแสลัดวงจรได้เร็วมาก
คือ ภายในเวลา 5 ms

06/10/22 ผศ . ประสิ ทธิ์ พิทยพัฒน์ 48


MCCB แบบจำกัดกระแสลัดวงจร
( Current Limiting Circuit Breaker CLCB ) ( ต่อ )

- สามารถใช้ CB ขนาดเล็กที่มี IC ต่ำในวงจรไฟฟ้ า


ซึ่งมีกระแสลัดวงจรสูงกว่า IC ของ CB ได้ โดย
มี CLCB คุมอยู่ต้นทาง ( Upstream )

- Cascade Protection หรือ Back Up Protection

06/10/22 ผศ . ประสิ ทธิ์ พิทยพัฒน์ 49


B

Breaking of CLCB
06/10/22 ผศ . ประสิ ทธิ์ พิทยพัฒน์ 50
DB

CLCB

B
I F = 20 kA

ตัวอย่างของ Single Line Diagram ในกรณี ของ Cascade Protective System


Fault current 20 kA
CB B IC 10 kA
Table from manufacturer
06/10/22 ผศ . ประสิ ทธิ์ พิทยพัฒน์ 51
06/10/22 ผศ . ประสิ ทธิ์ พิทยพัฒน์ 52
Air Circuit Breaker ( ACB )
- เป็ น CB ขนาดใหญ่ มีพิกดั กระแสต่อเนื่ องสูง
คืออาจมีตงั ้ แต่ 800 A ถึง 6300 A
- เป็ นแบบเปิดโล่ง ( Open Frame ) กล่าวคือ
มีบริภณั ฑ์และกลไกอยู่เป็ นจำนวนมาก
และติดตัง้ อย่างเปิดโล่งเห็นได้ชดั เจน
- มี พิกดั Icw , Utilization Category A
- ใช้สำหรับป้ องกัน สายประธาน และ สายป้ อน
ของ ระบบไฟฟ้ า

06/10/22 ผศ . ประสิ ทธิ์ พิทยพัฒน์ 53


06/10/22 ผศ . ประสิ ทธิ์ พิทยพัฒน์ 54
The internal view

06/10/22 ผศ . ประสิ ทธิ์ พิทยพัฒน์ 55


ACB สามารถแบ่งชนิดตามการติดตัง้ ได้
2 แบบ คือ

1 ) แบบติดตัง้ อยู่กบั ที่ ( Fixed Type )

2 ) แบบดึงออกได้ ( Drawout Type )

06/10/22 ผศ . ประสิ ทธิ์ พิทยพัฒน์ 56


1 ) แบบติดตัง้ อยู่กบั ที่ ( Fixed Type )

ติดตัง้ ให้ ติดกับ Main Circuit

โดยยึดติด ด้วยสกรูอย่างแข็งแรง

เวลาถอดออกเพื่อ ซ่อมบำรุง จะต้องดับไฟและใช้เวลามาก

06/10/22 ผศ . ประสิ ทธิ์ พิทยพัฒน์ 57


2 ) แบบดึงออกได้ ( Drawout Type )

ติดตัง้ บน โครงล้อเลื่อน ที่สามารถเลื่อนไปตามรางที่


เตรียมไว้ ส่วนสัมผัสของ ACB กับ Main Circuit จะต้อง
เป็ นแบบพิเศษเพื่อให้ การสัมผัสที่แนบแน่ น
ซึ่งจะทำให้กระแสสามารถไหล ผ่านได้สะดวก
การซ่อมบำรุง ACB แบบนี้ ทำได้
สะดวกรวดเร็วและสามารถ
ลดเวลาการดับไฟฟ้ าได้
06/10/22 ผศ . ประสิ ทธิ์ พิทยพัฒน์ 58
06/10/22 ผศ . ประสิ ทธิ์ พิทยพัฒน์ 59
06/10/22 ผศ . ประสิ ทธิ์ พิทยพัฒน์ 60
06/10/22 ผศ . ประสิ ทธิ์ พิทยพัฒน์ 61
5. หลักการ Tripping

แบ่งได้ 2 หลักการคือ….

1. Thermal-Magnetic trip unit

2. Electronic trip unit

06/10/22 ผศ . ประสิ ทธิ์ พิทยพัฒน์ 62


1. Thermal – Magnetic

เมื่อ Overload มีค่าน้ อย ( ประมาณ 125 % ) จะใช้ Bimetal Device


เป็ นตัว Trip
แต่ถ้า Overload มีค่ามาก ( ประมาณ 10 เท่าของกระแสพิกดั )
จะใช้ Electromagnetic Device เป็ นตัว Trip
หน่ วยการ Trip แบบ Thermal - Magnetic
มีเส้นโค้งความสัมพันธ์ กระแสและเวลาเป็ น 2 ส่วน คือ
- Long Time Delay
- Instantaneous
06/10/22 ผศ . ประสิ ทธิ์ พิทยพัฒน์ 63
Thermal trip unit
- หลักการทำงานของกลไกทีใ่ ช้ผลทางความร้อน (Thermal unit)

ปรกติ Overload
06/10/22 ผศ . ประสิ ทธิ์ พิทยพัฒน์ 64
Magnetic trip unit
- หลักการทำงานของกลไกที่ใช้ผลของสนามแม่เหล็กไฟฟ้ า
( Magnetic unit )

ปรกติ Short circuit


06/10/22 ผศ . ประสิ ทธิ์ พิทยพัฒน์ 65
Tripping Curves
กราฟแสดงการทำงานของเบรกเกอร์
- เวลา ในการตัดวงจรของเบรกเกอร์
( Tripping time )
แสดงเวลาในการตัดวงจร
มีหน่ วยเป็ นวินาที อยู่ในแนวแกนตัง้ ของกราฟ

- ปริมาณกระแสที่ไหลผ่านเบรกเกอร์
แสดงปริมาณกระแสที่ไหลผ่านเบรกเกอร์ โดย
กราฟจะแสดงเป็ นจำนวนเท่าของค่าแอมป์
ทริปของเบรกเกอร์
มีหน่ วยเป็ นแอมป์ อยู่ในแนวแกนนอนของ
กราฟ
06/10/22 ผศ . ประสิ ทธิ์ พิทยพัฒน์ 66
การตัดวงจรโดยอาศัยผลทางความร้อน
( Thermal Tripping )
- เส้นกราฟจะอยู่ช่วงบนซ้ายของกราฟ
- ระดับกระแสที่เบรกเกอร์ทำงานจะอยู่ระหว่าง
1-10 เท่าของค่าแอมป์ ทริป
Thermal
- แผ่น bimetal จะทำงาน (โก่งงอ) เมื่อกระแส unit

Time in Seconds
เกินไหลผ่าน แล้วทำให้เกิดความร้อน
- กระแสยิ่งไหลผ่านมากเท่าไร เบรกเกอร์ยิ่งตัด
วงจรเร็วมากขึน้ เท่านัน้

06/10/22 ผศ . ประสิ ทธิ์ พิทยพัฒน์ 67


Multiples of Amp Trip
การตัดวงจรโดยอาศัยผลทางความร้อน (Thermal Tripping)

5 วินาที

1 วินาที

06/10/22 ผศ . ประสิ ทธิ์ พิทยพัฒน์ 68


การตัดวงจรโดยอาศัยผลทางความร้อน (Thermal Tripping)

35 วินาที

10 วินาที

06/10/22 ผศ . ประสิ ทธิ์ พิทยพัฒน์ 69


การตัดวงจรโดยอาศัยผลของสนามแม่
เหล็กไฟฟ้ า (Magnetic tripping)
- เส้นกราฟแสดงอยู่บริเวณทางขวาด้านล่าง
- ระดับกระแสที่เบรกเกอร์ตดั วงจรจะอยู่ตงั ้ แต่10
เท่าของค่าแอมป์ ทริปขึน้ ไป
- สนามแม่เหล็กไฟฟ้ าจะทำงาน เมื่อมีกระแสไหล

Time in Seconds
ผ่านตัวเบรกเกอร์
- การตัดวงจรของเบรกเกอร์ จะทำงานทันที ไม่มี
Magnetic
การหน่ วงเวลา unit

06/10/22 ผศ . ประสิ ทธิ์ พิทยพัฒน์ 70


Multiples of Amp Trip
การตัดวงจรโดยอาศัยผลทางสนามแม่เหล็กไฟฟ้ า
( Magnetic tripping )

0.02 วินาที

06/10/22 ผศ . ประสิ ทธิ์ พิทยพัฒน์ 71


Electronic trip unit

- ใช้ CT ภายในตัวเบรคเกอร์
และวงจรอิเลคทรอนิคทรอนิคในการคำนวณค่ากระแส

- แล้วใช้ Software สร้าง Characteristic Curves เพื่อให้


ป้ องกันระบบไฟฟ้ าได้ตามความต้องการ

06/10/22 ผศ . ประสิ ทธิ์ พิทยพัฒน์ 72


Electronic trip unit

Electronic
trip unit

06/10/22 ผศ . ประสิ ทธิ์ พิทยพัฒน์ 73


Electronic trip unit
ใช้วงจรอิเล็กทรอนิกส์เข้ามาช่วยโดยจะใช้หม้อแปลงกระแสและ
วงจร อิเล็กทรอนิกส์เพื่อเปรียบเทียบค่ากระแสในวงจรกับค่าที่ตงั ้ ไว้
เมื่อกระแส ในวงจรมีค่าสูงกว่าค่าที่ตงั ้ ไว้กจ็ ะเกิดการตัดวงจรขึน้
หน่ วยการทริพแบบข้อดีบางอย่างของหน่ วยการทริพแบบนี้ คือ
สามารถเลือกใช้งานได้หลากหลายรูปแบบกว่า เช่น
- Long Time Trip
- Short Time Trip
- Instantaneous Trip
- Ground Fault Trip
06/10/22 ผศ . ประสิ ทธิ์ พิทยพัฒน์ 74
กราฟแสดงการทำงานของเบรกเกอร์แบบ
Electronic trip unit

06/10/22 ผศ . ประสิ ทธิ์ พิทยพัฒน์ 75


Long-time setting
- เป็ นการจำลองการทำงานของแผ่น Bimetal ในเบรกเกอร์
แบบ Thermal - Magnetic
- เบรกเกอร์จะทำงานเมื่อเกิด Overload
- เป็ นตัวกำหนดขนาดแอมป์ ทริปของเบรกเกอร์
- ป้ องกันความเสียหายของฉนวนสายไฟฟ้ า

Long-time delay
- ปรับตัง้ เวลาในการตัดวงจรของเบรกเกอร์ หลังจากตรวจ
จับกระแสโอเวอร์โหลดแล้ว

06/10/22 ผศ . ประสิ ทธิ์ พิทยพัฒน์ 76


06/10/22 ผศ . ประสิ ทธิ์ พิทยพัฒน์ 77
Short-time pickup
- ใช้ปรับตัง้ ปริมาณกระแสลัดวงจร เพื่อประโยชน์ ในการทำ
Coordination
- ป้ องกันอันตรายที่จะเกิดขึน้ ในระบบ :
• ป้ องกันกระแสสูงๆ ทำลายความเป็ นฉนวนของสาย
ไฟฟ้ า
• ป้ องกันการหลอมละลายของสายไฟฟ้ า
Short-time delay
- ปรับตัง้ เวลาในการตัดวงจรของเบรกเกอร์ หลังจากตรวจ
จับกระแสลัดวงจรแล้ว เพื่อประโยชน์ ในการทำ
Coordination
06/10/22 ผศ . ประสิ ทธิ์ พิทยพัฒน์ 78
06/10/22 ผศ . ประสิ ทธิ์ พิทยพัฒน์ 79
Instantaneous pickup

- เป็ นการจำลองการทำงานของสนามแม่เหล็กไฟฟ้ าใน


เบรกเกอร์แบบ Thermal-Magnetic
- เบรกเกอร์ตดั วงจรทันที ไม่มีการหน่ วงเวลา
- ป้ องกันอันตรายอันจะเกิดจากการบิดตัว ของตัวนำ
( Electrodynamic ) หลังจากเกิดลัดวงจรในระบบไฟฟ้ า

06/10/22 ผศ . ประสิ ทธิ์ พิทยพัฒน์ 80


06/10/22 ผศ . ประสิ ทธิ์ พิทยพัฒน์ 81
6. การแบ่ง CB
ตามลักษณะการใช้งาน ( Utilization Category ) คือ

Category A
- ไม่เหมาะ ที่จะทำ Coordination ( Selectivity )
เนื่ องจากไม่มี Icw

Category B
- CB เหมาะที่จะทำ Coordination
และ มี Icw
06/10/22 ผศ . ประสิ ทธิ์ พิทยพัฒน์ 82
Characteristic Curve Category A
Overload , Instantaneus

06/10/22 ผศ . ประสิ ทธิ์ พิทยพัฒน์ 83


Characteristic Curve Category B
Overload , Short time , Short -circuit

06/10/22 ผศ . ประสิ ทธิ์ พิทยพัฒน์ 84


7. ACCESSORIES OF CB
- SHUNT TRIP
- UNDERVOLT RELEASE (UVR)
- UNDERVOLT RELEASE WITH TIME DELAY
- AUXILIARY SWICH
- ALARM SWITCH
- HANDLE PADLOCK
- KEY LOCKS
- MOTOR OPERATE

06/10/22 ผศ . ประสิ ทธิ์ พิทยพัฒน์ 85


Shunt trip
- จะปลดวงจร CB
เมื่อ COIL SHUNT TRIP ได้รบั VOLTAGE

Undervoltage Release (UVR)


- ปลดวงจรเมื่อ Voltage ตกต่ำกว่าค่าที่กำหนดไว้
- ส่วนใหญ่จะจะใช้ค่กู บั Under / Over voltage relay
- มีทงั ้ แบบที่มี และไม่มี Time delay
– การไฟฟ้ าแนะนำให้ใช้แบบที่มี Time delay

06/10/22 ผศ . ประสิ ทธิ์ พิทยพัฒน์ 86


Auxiliary Switch
เมื่อ CB เปลี่ยนสถานะ ( On - Off )
จะทำให้หน้ าสัมผัสช่วยเปลี่ยนสถานะด้วย

Motor Operate
ผูใ้ ช้สามารถสัง่ ON-OFF CB ได้จากห้องคอนโทรล
โดยไม่ต้องไปที่หน้ าตัวเบรคเกอร์

06/10/22 ผศ . ประสิ ทธิ์ พิทยพัฒน์ 87


Handle Padlock
- ติดตัง้ เพื่อกันการ ON CB
- ล็อกไว้ในตำแหน่ ง OFF เท่านัน้
ไม่สามารถล็อกไว้ในตำแหน่ ง ON

Key Locks
- ติดตัง้ เพื่อกันการ ON CB
- ล็อกไว้ในตำแหน่ ง OFF เท่านัน้
ไม่สามารถล็อกไว้ในตำแหน่ ง ON
06/10/22 ผศ . ประสิ ทธิ์ พิทยพัฒน์ 88
8. การเลือกใช้ CB
- การเลือกใช้ CB สำหรับงานหนึ่ ง สำคัญมาก
ต้องพิจารณา อย่างละเอียด

- ตำแหน่ งต่างๆ ของระบบไฟฟ้ าจะต้ดงเลือกใช้


ชนิดของ CB ให้เหมาะสม

06/10/22 ผศ . ประสิ ทธิ์ พิทยพัฒน์ 89


โครงสร้างของระบบไฟฟ้ า
ระดับ 1
เบรกเกอร์เมน
ACB or MCCB
ระดับ 2 800 to 6300 A
เบรกเกอร์ย่อยในตู้ MDB

ระดับ 3 MCCB
เบรกเกอร์ภายในตู้ Sub DB 63 to 1250 A

ระดับ 4 MCB
เบรกเกอร์ภายในตู้ 1 to 125 A
load center ,
consumer unit
โหลด-LOAD
06/10/22 90
ในที่นี้จะกล่าว เฉพาะเรื่องที่ส ำคัญ ในการเลือก CB คือ

1 ) พิกดั แรงดัน
2 ) พิกดั กระแสต่อเนื่ อง
3 ) พิกดั กระแสลัดวงจร
4 ) การทำ Coordination

06/10/22 ผศ . ประสิ ทธิ์ พิทยพัฒน์ 91


1 พิกดั แรงดัน
- แรงดัน Ue ของ CB

จะต้องสูงกว่า แรงดันพิกดั Un ของระบบไฟฟ้ า


- ประเทศไทยใช้ 230 / 400 V
ดัง้ นัน้ CB ต้องมี
Ue ≥ 400 V
ส่วนมากจะใช้ 690 V
06/10/22 ผศ . ประสิ ทธิ์ พิทยพัฒน์ 92
2 พิกดั กระแสต่อเนื่ อง In
- ถ้า IL เป็ นกระแสโหลด

In > IL
โดยทัวไปจะเผื
่ อ่ ประมาณ 25 %
In ≥ 1.25 IL
ซึ่งคือ AT นัน้ เอง
สำหรับ AF ต้องใช้ตามบริษทั ผูผ้ ลิต
06/10/22 ผศ . ประสิ ทธิ์ พิทยพัฒน์ 93
ตัวอย่าง
IL = 200 A , 400 V, 3 ph

In = 1.25 x 200 = 250 A


AT = 250 A
สำหรับ AF อาจเป็ น 250 AF
หรือ 400 AF
ถ้าเป็ นเลือก 400 AF CB ก็จะทำงานเบา
ระบบไฟฟ้ าจะดี แต่ราคาจะแพงขี้นเล็กน้ อย
06/10/22 ผศ . ประสิ ทธิ์ พิทยพัฒน์ 94
3 พิกดั กระแสลัดวงจร
- CB ที่จะใช้ ต้องมีพิกดั กระแสลัดวงจร Icu
มากกว่า กระแสลัดวงจรที่ค ำนวณได้ ณ จุดติดตัง้
Icu > Ik
โดยทัวไป
่ จะเผือ่ อีกประมาณ 25 %
Icu > 1.25 Ik

06/10/22 ผศ . ประสิ ทธิ์ พิทยพัฒน์ 95


การคำนวณหาค่า Ik เพื่อหา IC ของ CB

- การคำนวณหากระแสลัดวงจรในระบบไฟฟ้ า
เป็ นเรื่องสำคัญมาก ต้องการข้อมูลมากมาย

- ในที่นี้จะคิดเฉพาะที่ตู้
MDB และ DB

06/10/22 ผศ . ประสิ ทธิ์ พิทยพัฒน์ 96


กระแสลัดวงจรที่ MDB ขึน้ อยู่กบั

- ขนาดระบบไฟฟ้ าทางด้าน MV คิดเป็ น Scc ( MVA )

- ขนาดหม้อแปลง
ค่า % U ของหม้อแปลง

- ค่าที่ค ำนวณแล้วดังตาราง

06/10/22 ผศ . ประสิ ทธิ์ พิทยพัฒน์ 97


กระแสลัดวงจรที่ DB ขึน้ อยู่กบั

- ขนาดระบบไฟฟ้ าทางด้าน MV คิดเป็ น Scc ( MVA )

- ขนาดหม้อแปลง
ค่า % U ของหม้อแปลง

- ขนาดสายไฟฟ้ า และความยาวสาย

06/10/22 ผศ . ประสิ ทธิ์ พิทยพัฒน์ 98


ตาราง ค่ากระแสลัดวงจรที่ขวั ้ LV ของหม้อแปลง 230 - 400 V
ค่ ากระแสลัดวงจร ( kA )
ขนาดพิกดั Short Circuit Capacity ( MVA )
หม้ อแปลง
( kVA ) 350 500 Infinite Bus

315 11.1 11.2 11.4


400 14.0 14.1 14.4
500 17.4 17.6 18.0
630 21.7 22.0 22.7
800 18.5 18.7 19.3
1000 22.9 23.2 24.1
1250 28.2 28.8 30.1
1600 35.5 36.4 38.5
2000 43.6 44.8 48.1
2500 53.2 55.1 60.1
06/10/22 ผศ . ประสิ ทธิ์ พิทยพัฒน์ 99
ขนาด CB ที่ใช้กบั หม้อแปลงที่ด้านแรงดันต่ำ ( 230 / 400 V )

ขนาดพิกั ด กระแส 125% ค่าปรั บตั้ง AF ค่าพิกั ด


หม้อแปลง พิกั ด กระแสพิกั ด CB (A) กระแส
ลั ดวงจร
( kVA ) (A) (A) ( AT ) ( kA )
315 454 568 500 - 550 630 18
400 577 721 600 – 700 800 18
500 722 903 800 – 900 1000 22
630 909 1136 1000 – 1100 1250 30
800 1155 1443 1250 – 1400 1600 25
1000 1443 1804 1500 – 1800 2000 30
1250 1804 2255 1900 – 2200 2500 42
1600 2309 2886 2400 – 2800 3200 50
2000 2889 3609 2900 – 3600 4000 65
2500 3608 4510 3700 – 4500 5000 80

06/10/22 ผศ . ประสิ ทธิ์ พิทยพัฒน์ 100


ตัวอย่าง หม้อแปลง 1000 kVA , 22 kV / 230 - 400 V
ต่อเข้ากับระบบไฟฟ้ าที่มี Scc = 500 MVA
ให้หา พิกดั Icu ของ CB ที่ ตู้ MDB
และถ้าสายขนาด 50 mm² ยาว 25 m
จ่ายไฟไปให้ ตู้ DB
ให้หา พิกดั Icu ของ CB ที่ ตู้ DB

06/10/22 ผศ . ประสิ ทธิ์ พิทยพัฒน์ 103


จากการคำนวณ
หม้อแปลง 1000 kVA , Ik = 23.2 kA

Icu ≥ 1.25 x 23.2 = 29 kA

CB ทัง้ หมด ที่ตู้ MDB ต้องมี


Icu = 30 kA

06/10/22 ผศ . ประสิ ทธิ์ พิทยพัฒน์ 104


จากการคำนวณ
สาย 50 mm² , ยาว 25 m, หม้อแปลง 1000 kVA
Ik = 13.8 kA

Icu ≥ 1.25 x 13.8 = 17.3 kA

CB ทัง้ หมด ที่ตู้ DB ต้องมี


Icu = 18 kA
06/10/22 ผศ . ประสิ ทธิ์ พิทยพัฒน์ 105
ตัวอย่าง หม้อแปลง 2000 kVA , 22 kV / 230 - 400 V
ต่อเข้ากับระบบไฟฟ้ าที่มี Scc = 500 MVA
ให้หา พิกดั Icu ของ CB ที่ ตู้ MDB
และถ้าสายขนาด 50 mm² ยาว 25 m
จ่ายไฟไปให้ ตู้ DB
ให้หา พิกดั Icu ของ CB ที่ ตู้ DB

06/10/22 ผศ . ประสิ ทธิ์ พิทยพัฒน์ 106


จากการคำนวณ
หม้อแปลง 2000 kVA , Ik = 44.8 kA

Icu ≥ 1.25 x 44.8 = 56 kA

CB ทัง้ หมด ที่ตู้ MDB ต้องมี


Icu = 56 kA
= 65 kA

06/10/22 ผศ . ประสิ ทธิ์ พิทยพัฒน์ 107


จากการคำนวณ
สาย 50 mm² , ยาว 25 m , หม้อแปลง 2000 kVA
Ik = 18.1 kA

Icu ≥ 1.25 x 18.1 = 22.6 kA

CB ทัง้ หมด ที่ตู้ DB ต้องมี


Icu = 23 kA
= 24 kA
06/10/22 ผศ . ประสิ ทธิ์ พิทยพัฒน์ 108
4 การทำ Coordination
- เป็ นการจัดและตัง้ ค่าบริภณ
ั ฑ์ป้องกันอย่างมีระบบ
โดยอาศัยการจัดกราฟสมบัติของเวลากับกระแส
ของบริภณั ฑ์ป้องกันอย่างเหมาะสม

- Coordination , Selectivity , Discrimination

06/10/22 ผศ . ประสิ ทธิ์ พิทยพัฒน์ 109


การแบ่งระบบป้ องกันไฟฟ้ าแรงดันต่ำ

แบ่งการตัดวงจรของบริภณ
ั ฑ์ป้องกันได้ 3 ประเภท คือ

1. Fully Rated Protective System


2. Selective Protective System
3. Cascade Protective System or Back
up Protective System

06/10/22 ผศ . ประสิ ทธิ์ พิทยพัฒน์ 110


Fully Rated Protective System
- CB ทุกตัวจะ ต้องมีพิกดั
การตัดกระแสลัดวงจร ( Interrupting Capacity )
เพียงพอสำหรับกระแสลัดวงจรสูงสุดที่มีได้
( Maximum Available Fault Current ) ณ จุดติดตัง้

- CB ตาม มาตรฐาน IEC 60947-2


กระแสที่ใช้ คือ
Icu ( Ultimate Short Circuit Breaking Current )

06/10/22 ผศ . ประสิ ทธิ์ พิทยพัฒน์ 111


DB2

B C
F2
DB1
D

E
F1

ตัวอย่าง Single-Line Diagram ของระบบไฟฟ้ าอย่างง่าย


06/10/22 ผศ . ประสิ ทธิ์ พิทยพัฒน์ 112
สมมุติว่า
- กระแสลัดวงจร ( Short Circuit Current )
ที่ตำแหน่ ง F2 ใน DB2 = 30 kA
- กระแสลัดวงจร ( Short Circuit Current )
ที่ตำแหน่ ง F1 ใน DB1 = 10 kA
- เมื่อพิจารณาค่ากระแสลัดวงจร
ที่ตำแหน่ ง F1 และ F2 แล้ว จะได้ว่า
CBs A , B , C ต้องมี Icu ไม่ต่ำกว่า 30 kA
CBs D , E , F ต้องมี Icu ไม่ต่ำกว่า 10 kA

06/10/22 ผศ . ประสิ ทธิ์ พิทยพัฒน์ 113


Selective Protective System
- CB ทุกตัวจะต้องมี Icu เพียงพอสำหรับ
กระแสลัดวงจรสูงสุดที่มีได้
( Maximum Available Fault Current )ณ จุดติดตัง้

- เส้นโค้งลักษณะการตัดวงจร
( Tripping Characteristic Curve ) ของ CB ทุกตัวจะ
ต้องเลือกโดย ไม่ให้มีการวางซ้อนทับกัน ( Overlap )

06/10/22 ผศ . ประสิ ทธิ์ พิทยพัฒน์ 114


Selective Protective System ( ต่อ )
- CB ที่อยู่ตรงสายล่างของวงจร
( Downstream Circuit Breaker )

จะ ต้องตัดวงจร ก่อน CB ที่อยู่ตรงสายบนของวงจร


( Upstream Circuit Breaker )

06/10/22 ผศ . ประสิ ทธิ์ พิทยพัฒน์ 115


1. Fully Selective Protective System

จัดลำดับ ( Selectivity )
ในการตัดวงจรของบริภณ ั ฑ์ป้องกัน
ถึงค่ากระแสลัดวงจรสูงสุดที่มีได้
( Maximum Available Fault Current )
ณ จุดติดตัง้

06/10/22 ผศ . ประสิ ทธิ์ พิทยพัฒน์ 116


t (s)
DB
B A
A

B
Max. Fault = 10 kA
I (A)
10 kA

ลักษณะของ Fully Selective Protective System


จะเห็นได้ว่า ไม่ว่าจะเกิดการลัดวงจรที่จดุ ใดๆ CB ( B )
จะต้องตัดวงจรก่อน CB ( A ) เสมอ
06/10/22 ผศ . ประสิ ทธิ์ พิทยพัฒน์ 117
2. Partially Selective Protective System
มีการจัดลำดับ ( Selectivity ) ใน
การตัดวงจรของบริภณ ั ฑ์ป้องกัน
ไม่ตลอดทุกค่า กระแสลัดวงจร
ที่มีได้ ณ จุดติดตัง้

06/10/22 ผศ . ประสิ ทธิ์ พิทยพัฒน์ 118


t (s)
DB
B A
A

B
Max. Fault = 10 kA
I (A)
5 kA 10 kA

ลักษณะของ Partially Selective Protective System


จากกราฟลักษณะสมบัติจะเห็นได้ว่าระบบนี้ จะมีการ
จัดลำดับ ( Selectivity ) ถึงแค่ 5 kA เท่านัน้
ถ้ามีกระแสลัดวงจรที่สงู กว่านี้ เซอร์กิตเบรกเกอร์ A
อาจตัดวงจรก่อนเซอร์กิตเบรกเกอร์ B ก็ได้
06/10/22 ผศ . ประสิ ทธิ์ พิทยพัฒน์ 119
Cascade Protective System or Back up Protective System
- เซอร์กิตเบรกเกอร์ประธาน ( Main Circuit Breaker )
เท่านัน้ ที่มี พิกดั การตัดกระแสลัดวงจรเพียงพอ

- เซอร์กิตเบรกเกอร์ที่ใกล้จดุ ผิดพร่องอาจ
ไม่จ ำเป็ นที่จะต้องมีพิกดั การตัดกระแสลัดวงจรเพียงพอ

- เซอร์กิตเบรกเกอร์ประธานช่วยในกรณี ที่
เกิดกระแสลัดวงจรที่มีค่าสูงๆ
ต้องเป็ น Current Limiting Circuit Breaker

06/10/22 ผศ . ประสิ ทธิ์ พิทยพัฒน์ 120


DB

CLCB

B
I F = 20 kA

ตัวอย่างของ Single Line Diagram


ในกรณี ของ Cascade Protective System
06/10/22 ผศ . ประสิ ทธิ์ พิทยพัฒน์ 121
จากรูป
ถ้าคำนวณกระแสลัดวงจรได้ 20 kA
CB B อาจมี IC 10 kA Main CB เป็ น Current Limiting
CB มี IC 100 kA ตัดกระแสลัดวงจร
ภายใน 1 / 4 คาบเวลา ( 5 ms )
CB ทีอยู่ด้าน Downstream ยังไม่ทำงาน

การเลือกใช้บริภณ
ั ฑ์ป้องกันระบบนี้
บริษทั ผูผ้ ลิตจะให้ตารางการทำงานรวมกัน
ของ Main CB และ CB ตัวอื่นๆ

06/10/22 ผศ . ประสิ ทธิ์ พิทยพัฒน์ 122


ตัวอย่าง การทำ Coordination

ระบบไฟฟ้ าแห่งหนึ่ งจ่ายไฟให้กบั แผงจ่ายไฟ


ซึ่งมี CB ขนาด 400 AT ป้ องกันสายประธาน
สายประธานดังกล่าวจ่ายไฟให้กบั สายป้ อนในตู้ MDB
โดยมี CB ขนาด 70 AT , 90 AT , 100 AT , 90 AT
และ 80 AT ตามลำดับที่แรงดัน 400 V
ดัง รูป
จงทำการ Coordination อุปกรณ์ป้องกันในระบบ

06/10/22 ผศ . ประสิ ทธิ์ พิทยพัฒน์ 123


MDB I S/C = 8 kA ที่ F1

400AT

70AT 90AT 100AT 90AT 80AT

F1

LP1 LP2 LP3 LP4 LP5

Single Line Diagram ของระบบไฟฟ้ าที่จ่ายโหลดทัวไป



06/10/22 ผศ . ประสิ ทธิ์ พิทยพัฒน์ 124
ขัน้ ตอนการทำ Coordination มีดงั ต่อไปนี้

1. เขียนข้อมูลที่จ ำเป็ นต่างๆ ลงบน Single Line Diagram


2. คำนวณหากระแสลัดวงจรที่จดุ ต่างๆ
ที่ส ำคัญจากข้อมูลในข้อ 1
3. หาขนาดและพิกดั ของบริภณ ั ฑ์ป้องกันเบือ้ งต้น
และจากมาตรฐานต่างๆ ที่กำหนด แล้วเขียน
ลงบน Single Line Diagram
4. ทำการปรับตัง้ บริภณ ั ฑ์ให้มี Selective กันอย่างเหมาะสม

06/10/22 ผศ . ประสิ ทธิ์ พิทยพัฒน์ 125


จาก Single Line Diagram
สามารถหาข้อมูลต่างๆ ได้ดงั นี้

- คำนวณหากระแสลัดวงจรที่แผงจ่ายไฟ MDB
สมมุติว่าในตัวอย่างนี้ ค ำนวณได้ขนาด
เท่ากับ 8 kA ที่ตำแหน่ ง F1

06/10/22 ผศ . ประสิ ทธิ์ พิทยพัฒน์ 126


- ทำ Coordination ระหว่าง
CB ประธาน 400 A ( Upstream )
กับ CB สายป้ อนขนาดใหญ่สดุ ในที่นี้คือ
ขนาด 100 A ( Downstream )

- เนื่ องจากหาก CB 400 A มี Selective กับ CB 100 A แล้ว


CB ที่เหลือที่มีขนาดเล็กกว่าย่อมมี Selective
กับ CB 400 A ด้วยเสมอ

06/10/22 ผศ . ประสิ ทธิ์ พิทยพัฒน์ 127


กรณี ที่ 1 เมื่อ CB ทุกตัว เป็ นแบบ Thermal - Magnetic
- เนื่ องจาก CB 100 A ซึ่งเป็ นแบบ Thermal – Magnetic
ปรับตัง้ ค่าของ Magnetic Release
ได้สงู สุดประมาณ 10 เท่าของกระแสพิกดั CB
- ดังนัน้ CB 100 A จะมีค่า Instantaneous = 1000 A
ส่วน CB 400 A จะมีค่า Instantaneous =
4000 A
- เมื่อนำมา Plot ลงบนกระดาษ
กราฟ Log-Log กระแสกับเวลา
จะได้ดงั รูป
06/10/22 ผศ . ประสิ ทธิ์ พิทยพัฒน์ 128
กรณี ที่ 1 ( ต่อ )
- จากรูปจะเห็นว่า CB 100 A ทำงานก่อน CB 400 A
ถึง 4 kA เท่านัน้
- กระแสมากกว่า 4 kA ( ดังเช่นในตัวอย่างนี้ มีค่ากระแส
ผิดพร่อง 8 kA )
CB 400 A อาจจะทำงานก่อน CB 100 A ได้
เนื่ องจากกราฟในส่วน Instantaneous ของกราฟทัง้ สอง
ซ้อนทับกัน ซึ่งเรียกว่าเป็ นระบบ
แบบ Partial Selective

06/10/22 ผศ . ประสิ ทธิ์ พิทยพัฒน์ 129


กรณี ที่ 1 ( ต่อ )

- ถ้าต้องการให้ระบบเป็ นแบบ Fully Selective

- สามารถทำได้โดยเลือก CB ประธานแบบ Class B


ขนาด 400 A มี Trip Unit เป็ นแบบ
Electronic trip unit
ซึ่งสามารถปรับตัง้ ค่าต่างๆ ได้มากขึน้
ดังในกรณี ที่ 2
06/10/22 ผศ . ประสิ ทธิ์ พิทยพัฒน์ 130
Time (s) CB 100 A CB 400 A
1,000
CB 100 A set Ins 1,000 A
CB 400 A set Ins 4,000 A

100

10

.10
F1 = 8,000 A

.01 Current (A)

ลักษณะกราฟเมื่อใช้ CB 400 AT แบบ Thermal-Magnetic


06/10/22 ผศ . ประสิ ทธิ์ พิทยพัฒน์ 131
กรณี ที่ 2 เลือก CB ประธานขนาด 400 A เป็ น Class B
มีหน่ วยการทริพเป็ น Electronic trip unit และมี ICW
( เพื่อให้ CB 400 A ทนกระแสได้ขณะ
รอหน่ วง เวลาให้ CB ด้านล่างทำงานก่อน )
ส่วน CB ขนาด 100 A ยังคงเป็ นแบบ
Thermal - Magnetic
- เนื่ องจากค่ากระแสผิดพร่องสูงสุด = 8 kA
- ดังนัน้ เลือก CB 400 A ให้มี
ค่า ICW ไม่ต่ำกว่า 8 kA
ในที่นี้เลือกค่า ICW = 10 kA ที่เวลา 0.2 s
06/10/22 ผศ . ประสิ ทธิ์ พิทยพัฒน์ 132
กรณี ที่ 2 ( ต่อ )
- ทำการปรับตัง้ ค่า Instantaneous Pick Up ของ CB 400 A

ให้มี Selective กับ CB 100 A ด้านล่าง


เพื่อให้ CB 100 A ทำงานก่อน CB 400 A เสมอ
- ในที่นี้จึงปรับตัง้ ค่า 25 เท่า หรือมีค่าเท่ากับ
25 x 400 = 10000 A = 10 kA
ทำให้ระบบเป็ นแบบ Fully Selective

- ส่วนค่า Short – Time Delay ปรับตัง้ ค่า 0.1 s


เพื่อเผือ่ เวลา Coordination กับ CB100 A
อย่างต่ำ 100 ms หรือ 0.1 s

06/10/22 ผศ . ประสิ ทธิ์ พิทยพัฒน์ 133


Time (s) CB 100 A CB 400 A
1,000
CB 400 A - LTPU = 400 A
LTD = 2.5 s ที่ 6 เท่ า
STPU = 2,400 A
STD = 0.1 s
100 I 2t = Off
INST = 10,000 A

10

.10

F1 = 8,000 A

.01 Current (A)


10 100 1,000 10,000 100,000

ลักษณะกราฟเมื่อใช้ CB 400 AT แบบ Electronic trip unit


06/10/22 ผศ . ประสิ ทธิ์ พิทยพัฒน์ 134
ต้องการมีความรูท้ นั โลก
ต้องให้เวลาในการศึกษา
ดัวยความปรารถนาดี
จาก
ผศ. ประสิทธิ์ พิทยพัฒน์

06/10/22 ผศ . ประสิ ทธิ์ พิทยพัฒน์ 135


06/10/22 ผศ . ประสิ ทธิ์ พิทยพัฒน์ 136

You might also like