Download as pptx, pdf, or txt
Download as pptx, pdf, or txt
You are on page 1of 85

ั ันธ์ทางเศรษฐกิจ สงคม

ความสมพ ั และ
การเมืองกลุม
่ ประเทศอาเซยี น
(POS3211)

ดร. กีรติวรรณ ก ัลยาณมิตร


087-5593351 LINE ID KERADAO
เกณฑ์การให้คะแนน
- เข้าห้องเรียน 10
- ควิซ 10
- รายงานเดีย
่ ว 10
- รายงานกลุม
่ 20
- สอบกลางภาค 20
- สอบปลายภาค 30
ิ ธิสอบ
ขาดเรียนเกิน 5 ครงั้ หมดสท
รายงานเดีย
่ ว
นำประเด็นข่าวของอาเซย ี นในแง่มมุ ต่างๆ ไม่วา
่ จะเป็นด้านการเมือง
ความมน ั
่ ั คง เศรษฐกิจ สงคม โดยเลือกมาเพียง 1 ข่าว มาสรุป วิเคราะห์
โดยใชส ้ ามเสาหล ักอาเซย ี น กฎบ ัตรอาเซย ี น และแนวคิดทฤษฎี มาใช ้
สน ับสนุนข้อวิเคราะห์ในประเด็นข่าว ***เขียนด้วยลายมือไม่ต่ำกว่า 5
หน้า***
ห ัวข้อรายงานกลุม

1 หมูเ่ กาะสแปรตลีย ์
2 CLMV
3 ปัญหาโจรสล ัด
4 RCEP : Region Comprehensive Economic Partnership
ี น
5 ปัญหาการค้ามนุษย์ในอาเซย
ี น
6 แรงงานข้ามชาติในอาเซย
ิ ธิของชาวสรี ง
7 สท ี น
ุ ้ ในอาเซย
South East Asia Command:SEAC 1943
- เอเชย ี ตะว ันออกเฉียงใต้ (Southeast Asia) ประกอบไปด้วย 11 ประเทศ อินโดนีเซย ี
ฟิ ลิปปิ นส ์ ไทย มาเลเซยี สงิ คโปร์ บรูไน เวียดนาม พม่า ลาว ก ัมพูชา และติมอร์ตะว ันออก

- อารยธรรมทางการเมืองและสงคมจากจี
นและอินเดีย
- ดินแดนทีไ่ ด้ร ับอิทธิพลจากอินเดีย คือ ไทย พม่า ลาว ก ัมพูชา มาเลเซย ี อินโดนีเซย ี
บรูไน ดินแดนทีไ่ ด้ร ับอิทธิพลจากจีน คือ เวียดนาม และ สงิ ค์โปร์ สว ์ ก
่ นฟิ ลิปปิ นสถ ู
ครอบงำโดยอารยธรรมตะว ันตก
- เป็นภูมภ
ิ าคทีม
่ ค
ี วามหลากหลายทางประว ัติศาสตร์ ระบบการเมืองการปกครอง ระบบ
เศรษฐกิจ ว ัฒนธรรม ศาสนา เชอื้ ชาติเผ่าพ ันธุ ์

“Unity Of Diversity”
ี ตะว ันออกเฉียงใต้ก ับมหาอำนาจภายนอกภูมภ
เอเชย ิ าค

ี ตะว ันออกเฉียงใต้เป็นภูมภ
เอเชย ิ าคทีไ่ ม่เคยปลอดจากการแทรกแซงจากอิทธิพล
ภายนอกภูมภ ิ าคเลย >อารยธรรมจีน อินเดีย > ยุคล่าอาณานิคม > ระยะสงครามโลกครงั้
ที2่ >สงครามเย็น > สมาคมประชาชาติแห่งเอเชย ี ตะว ันออกเฉียงใต้

- ความอ่อนแอไร้พล ังอำนาจของชุมชนในภูมภ
ิ าคในระยะแรก / ระยะหล ัง > เศรษฐกิจ
- เป็นดินแดนทีอ
่ ด
ุ มสมบูรณ์ไปด้วยทร ัพยากรธรรมชาติ
- สถานทีต
่ งทางภู
ั้ มศิ าสตร์
- การเป็นภูมภ
ิ าคทีเ่ ป็นสุญญากาศแห่งอำนาจ(Vacuum of power)
Vacuum of power (สุญญากาศแห่งอำนาจ)
การไม่มปี ระเทศใดในภูมภิ าคทีม
่ อี ำนาจเข้มแข็งเพียงพอทีจ่ ะจ ัดการก ับความ
เคลือ
่ นไหวเปลีย่ นแปลงทางการเมืองและความสมพ ั ันธ์ระหว่างประเทศในภูมภ ิ าคนีไ้ ด้
อย่างมีประสทิ ธิภาพและเป็นทีย
่ อมร ับ

สงคมด งเดิ
ั้ มในเอเชยี ตะว ันออกเฉียงใต้
ั้
- ชนชนปกครองและชนช ั้ กปกครอง
นถู
- เศรษฐกิจแบบเลีย
้ งต ัวเอง
ั ันธ์แบบเจ้านายก ับลูกน้อง
- ความสมพ
- อำนาจทางการเมือง
ั้
ชนชนปกครองและชนช ั้ กปกครอง
นถู
ั้
ชนชนปกครองเป ั
็ นคนจำนวนน้อยในสงคม ี ารครอบครองทร ัพยากรและสงิ่ มีคณ
แต่มก ั
ุ ค่าในสงคม
ทงหมด
ั้ เป็นผูก
้ ม ั้
ุ อำนาจทางการปกครองและการเมือง ชนชนปกครองเหล่ ้ อ
านีค ื ...?
ั้
ชนชนใต้ ปกครองเป็นคนทีเ่ หลือทงหมดในส
ั้ ั
งคม ไม่มโี อกาสครอบครองทร ัพยากร จึงไม่โอกาสทาง

เศรษฐกิจและสงคม ้ อยูก
ต้องขึน ั้
่ ับชนชนปกครอง
ั ันธ์จะเป็นไปในรูปแบบทีช
ความสมพ ั้
่ นชนปกครองจะเป ็ นผูค้ วบคุมอำนาจและผูท ้ อ ั้
ี่ ยูใ่ ต้ชนปกครอง
ต้องคอยปฎิบ ัติตามคำสง่ ั การยอมร ับอำนาจอาจอธิบายได้วา ่ สว่ นหนึง่ เป็นเพราะอิทธิพลตามความเชอ ื่
แบบจีนและอินเดีย เชน่ ล ัทธิเทวราชา อีกประเด็นหนึง่ คือ การทีช ั้
่ นชนปกครองมี ระบบราชการทีเ่ ป็นกำล ัง

พลซงึ่ คอยควบคุมดูแลและบ ังค ับให้คนในสงคมยอมร ับและปฎิบ ัติตาม
้ งต ัวเอง
เศรษฐกิจแบบเลีย

สงคมด งเดิ
ั้ มของเอเชย ี ตะว ันออกเฉียงใต้ มีระบบเศรษฐกิจแบบเลีย ้ งต ัวเอง ประกอบอาชพ ี หล ักคือ
เกษตรกรรมใชก ้ ำล ังคนเป็นปัจจ ัยสำค ัญในการผลิต ไม่มก ี ารใชเ้ ครือ
่ งจ ักรกล การผลิตเป็นไปเพือ ่ เพียง
พอแก่การดำรงชวี ต ิ สว่ นเกินทีผ่ ลิตมาเกินก็จะใชแ ้ ลกเปลีย ่ นก ับผลผลิตทีต ่ ัวเองไม่ได้ผลิตหรือผลิตไม่ได้
ไม่มค
ี วามคิดทีจ
่ ะผลิตเพือ ่ การค้าหากำไร เพราะคนเอเชย ี ตะว ันออกเฉียงใต้กอ ่ นการเข้ามามีอทิ ธิพลของ
อารยธรรมตะว ันตก ผลิตผลผลิตเพือ ่ การดำรงชวี ต ิ เท่านนั้
ั ันธ์แบบเจ้านายก ับลูกน้อง
ความสมพ
เป็นความสมพั ันธ์ทางสงคมที
ั ่ ำค ัญอย่างยิง่ ในสงคมด
ส ั งเดิ
ั้ มของเอเชย ี ตะว ันออกเฉียงใต้ เป็นเรือ
่ ง
ของความสมพ ั ันธ์ระหว่างคนชนชนสูั้ งและชนชนล่ ั้ าง ทีม
่ ส
ี ถานะทางการเมือง เศรษฐกิจ สงคมทีั แ
่ ตกต่าง
ก ันทุกด้าน เป็นความสมพั ันธ์แบบสว ่ นต ัวและสม ัครใจไม่มผ ี ลบ ังค ับทางกฎหมาย เป็นความสมพ ั ันธ์ทแ ี่ ต่ละ
ฝ่ายต่างก็คาดหว ังทีจ
่ ะได้ผลประโยชน์ทต ี่ ัวเองต้องการ
อำนาจทางการเมือง
หน่วยการเมืองทีส ่ ำค ัญทีส
่ ด
ุ ของชุมชนในเอเชย ี ตะว ันออกเฉียงใต้คอ ื ชุมชนระด ับเมือง เมืองใดมี
อำนาจเข้มแข็งขึน ้ โดยเฉพาะอย่างยิง่ จากการมีกำล ังพล มีกองท ัพทีแ ่ ข็งแกร่งกว่า เมืองนนก็ ั้ จะสถาปนา
ต ัวเองขึน ้ เป็นเมืองหลวงและขยายอำนาจเข้าครอบครองและปกครองเหนือเมืองอืน ่ ๆทีอ
่ อ
่ นแอกว่าโดย
รอบ อำนาจทางการเมืองของเมืองหลวงเหนือเมืองต่างๆโดยรอบจะมีความหน ักแน่นแตกต่างก ันไป เมือง
ทีอ่ ยูใ่ กล้เมืองหลวงมาจะตกอยูใ่ ต้อำนาจของเมืองหลวงมากกว่าเมืองทีอ ่ ยูห
่ า่ งไกลออกไป อำนาจของ
เมืองหลวงจึงเป็นไปตามระยะทางทางภูมศ ิ าสตร์ อ ันเนือ ั
่ งมาจากในสงคมด งเดิ
ั้ มคนเอเชย ี ตะว ันออกเฉียง
ใต้ย ังไม่ได้ตระหน ักถึงขอบเขตอำนาจของเมืองหลวงทีช ั
่ ดเจน
Quiz1
Vacuum of power คืออะไร จงอธิบายโดยยกต ัวอย่างมาประกอบให้ชดเจน ั ว่า
ี ตะว ันออกเฉียงใต้จงึ ถูกกล่าวว่าเป็น Vacuum of power
ทำไมเอเชย
ี ตะว ันออกเฉียงใต้ก ับอำนาจอาณานิคม
เอเชย

การปฎิว ัติอต
ุ สาหกรรม
- การขยายอำนาจครอบงำสว่ นต่างๆของโลกเป็นผลโดยตรงจากการปฎิว ัติ
้ ในยุโรป ในศตวรรษที่ 17 เป็นจุดเริม
อุตสาหกรรมทีเ่ กิดขึน ่ ต้นทีน ่ ารขยายระบบ
่ ำมาสูก
เศรษฐกิจการเมืองระหว่างประเทศ
- เปลีย ่ นจากเศรษฐกิจแบบพึง่ พาแรงงานคนและสตว์ ั ไปเป็นเศรษฐกิจแบบพึง่ พา
เครือ
่ งจ ักรเป็นหล ัก โดยเริม
่ จากการผลิตเครือ
่ งจ ักรกลชนิ้ แรกของโลกคือ เครือ
่ งปั่นด้าย
- เปลีย ั
่ นแปลงจากสงคมเกษตรกรรมไปเป ั
็ นสงคมแบบอุ ั
ตสาหกรรม สงคมชนบทมาสู ่
ชุมชนเมือง
- ในชว่ งศตวรรษที่ 17 นอกจากเกิดระบบการเมืองระหว่างประเทศจากสนธิสญญาั
เวสต์ฟาเลีย (Treaty of Westphalia) และการปฎิว ัติอต
ุ สาหกรรมในเวลาใกล้เคียงก ันแล้ว
ย ังเกิดวิถชี วี ต
ิ ทีเ่ รียกว่า
เสรีนย
ิ ม (Liberalism)
ี วี ต
วิถช ิ มสามารถแยกได้เป็น 3 มิต ิ ด ังนี้
ิ แบบเสรีนย
1 มิตด
ิ า้ นการเมืองและการปกครอง
- การปกครองแบบประชาธิปไตยเป็นหล ักการสำค ัญในสงคมอุ
ั ตสาหกรรมของยุโรป ต้อง

เป็นพหุสงคมที
ย ั
่ อมร ับความแตกต่างหลากหลายของคนในสงคม
- ยึดหล ักความเสมอภาค (equality) เท่าเทียมก ันตามกฎหมาย มีเสรีภาพ (liberty) และถือ
หล ักการแห่งกฎหมาย (Rule of Law) ในการดำรงชวี ต ั
ิ ในสงคม
- Government of the people , by the people ,for the people
2 มิตด
ิ า้ นเศรษฐกิจ
- ระบบเศรษฐกิจแบบการค้าเสรี (Free Trade) เป็นระบบเศรษฐกิจทีท ั
่ ำให้คนในสงคมได้
ร ับประโยชน์สง
ู สุด
- เอกชนมีบทบาทสำค ัญทีส
่ ด
ุ ร ัฐต้องมีบทบาทให้นอ
้ ยทีส
่ ด

3มิตด ั
ิ า้ นสงคม
ี วี ต
วิถช ิ แบบเสรีนย
ิ มยกย่องเชด ิ ชูศกดิั ศ ี่ ตกต่างจากสงิ่ มีชวี ต
์ รีของความเป็นมนุษย์ทแ ิ อืน

โดยทว่ ั ไป มนุษย์มเี กียรติมศ ั ศ
ี กดิ ์ รีทจ ั
ี่ ะต้องเคารพและปกป้อง สงคมเสรี นย
ิ มในยุโรปจึงมี
การกำหนดกฎเกณฑ์มาตรฐานเกีย ่ วก ับการมี สทิ ธิมนุษยชน เพือ่ ปกป้องสท ิ ธิและ
เสรีภาพ ให้มนุษย์สามารถมีชวี ต ิ อยูไ่ ด้อย่างเสรี เท่าเทียมและมีศกดิ ั ศ
์ รี
การแผ่ขยายอาณานิคมของตะว ันตก
ความเจริญก้าวหน้าจากการปฎิว ัติอต ุ สาหกรรมทำให้ชาติตา่ งๆในยุโรปต้องการ
ว ัตถุดบิ มาป้อนโรงงานอุตสาหกรรมทีข ่ ยายต ัวอย่างรวดเร็ว รวมไปถึงความต้องการตลาด
ทีจ่ ะระบายสน ิ ค้าทีผ
่ ลิตมาเป็นจำนวนมากเพือ่ หากำไร
- การขยายอำนาจของยุโรปในระยะแรกมาจากแรงจูงใจด้านเศรษฐกิจ
- ต้องการสถาปนาอำนาจทางการเมือง
- อ้างหล ักมนุษยธรรมเพือ ี น
่ สร้างความเจริญให้ก ับชนผิวสอ ื่
ทฤษฎีพงึ่ พา (Dependency Theory)

Periphery

Core
อาณานิคมเข้าสูเ่ อเชย
ี ตะว ันออกเฉียงใต้
- อำนาจอาณานิคมตะว ันตกมีอท ิ ธิพลอย่างหน ักแน่นในชว่ งระหว่างกลางศตวรรษที่ 19

ถึง กลางศตวรรษที่ 20 อาศยความเหนื อกว่าในด้านต่างๆโดยเฉพาะด้านอำนาจทางทหาร
บีบบ ังค ับให้ชาติตา่ งๆในเอเชยี ตะว ันออกเฉียงใต้ตอ้ งยอมตกอยูใ่ ต้การปกครองของชาติ
ตะว ันตก
เอกราชของไทยในยุคอาณานิคม
- ร.4 ทรงดำเนินนโยบายไม่แข็งกร้าวก ับชาติตะว ันตกและยอมร ับแนวปฎิบ ัติของชาติ
ตะว ันตก
- การนำวิธก
ี ารแบบชาติตะว ันตกมาปฎิรป ั
ู สงคมไทยในสม ัย ร.5 รวมไปถึงการดำเนิน
นโยบายถ่วงดุลอำนาจ (Balance of Power)
- ทีต
่ งทางภู
ั้ มศิ าสตร์ของไทยทีม
่ ล
ี ักษณะเป็นดินแดนก ันชน(Buffer Zone)
ิ พระท ัยเข้าร่วมในสงครามโลกครงั้ 1 ร่วมก ับฝ่ายพ ันธมิตร
- ร.6 ทรงต ัดสน
่ ำนาจการปกครองของอาณานิคม
การเข้าสูอ
้ ำล ังทหารเป็นเครือ
1 การใชก ่ งมือ
ั วธ
2 การเข้าครอบครองดินแดนโดยสนติ ิ ี
3 การมีอำนาจโดยการตกลงระหว่างชาติมหาอำนาจตะว ันตกด้วยก ันเอง

*** ในการเข้ามามีอำนาจเหนือดินแดนต่างๆในเอเชย ี ตะว ันออกเฉียงใต้นน ั้ มหาอำนาจ


มุง
่ เน้นหน ักในการแสวงหาความมง่ ั คง่ ั ทางเศรษฐกิจให้ต ัวเองเป็นหล ัก พ ัฒนาการต่างๆที่
ชาติอาณานิคมได้นำมาสูเ่ อเชย ี ตะว ันออกเฉียงใต้ เชน ่ เสน ้ ทางคมนาคม การขยายการ
ศก ึ ษา การจ ัดตงสถาบ
ั้ ันทางเศรษฐกิจ ล้วนมีจด ุ ประสงค์ทจ ี่ ะอำนวยความสะดวกในการ
ปกครองและการแสวงความมง่ ั คง่ ั ให้ชาติอาณานิคมเป็นหล ัก
การปกครองของอาณานิคม
1 การปกครองโดยตรง เป็นการปกครองทีช ่ าติอาณานิคมเข้าทำการปกครองดินแดนใน
ี ตะว ันออกเฉียงใต้ดว้ ยตนเอง **นโยบายกลืน
เอเชย
2 การปกครองโดยอ้อม เป็นวิธก
ี ารทีช
่ าติอาณานิคมเข้าทำการปกครองโดยทำการ
ควบคุมเฉพาะในการบริหารระด ับสูงเท่านนั้ ** นโยบายร่วม
3 การปกครองโดยให้ชนพืน ่ นร่วมในการปกครองด้วย ** นโยบายทีม
้ เมืองมีสว ่ ง
ุ่ อบรม
ให้ชาวอาณานิคมสามารถปกครองตนเองได้
การเข้ามาของอาณานิคมตะว ันตกก่อให้เกิดการเปลีย ี ตะว ันออกเฉียง
่ นแปลงในเอเชย
ใต้...
1 แนวคิดเรือ
่ งร ัฐทีม
่ อ
ี าณาเขตทีแ
่ น่นอน ชาติอาณานิคมได้นำแนวความคิดเรือ ่ งร ัฐชาติ
มาใชใ้ นเอเชยี ตะว ันออกเฉียงใต้ โดยได้ทำการแบ่งเขตอิทธิพลระหว่างก ันอ ันเป็นจุดเริม

ต้นของการสร้างร ัฐให้ก ับหลายประเทศในเอเชย ี ตะว ันออกเฉียงใต้
2 ความเจริญและพ ัฒนาการในด้านต่างๆ ปรากฏออกมาในรูปความสะดวกในการติดต่อ
คมนาคม การขยายการศก ึ ษาและสง
่ เสริมการศก
ึ ษา ความเจริญก้าวหน้าทางการแพทย์
และสาธารณสุข การสร้างระบบราชการ
3 การเปลีย ั
่ นแปลงในระบบเศรษฐกิจของสงคมเอเช ี ตะว ันออกเฉียงใต้ ชาติอาณานิคม

ได้นำระบบเศรษฐกิจแบบการค้าเข้ามาโดยสง ่ เสริมให้มก
ี ารผลิตทีม่ ง
ุ่ หากำไรผ่าน
ทางการค้าขาย ก่อให้เกิดการเปลีย
่ นแปลงในระบบเศรษฐกิจจากระบบเลีย ้ งต ัวเองมาสู่
ระบบเศรษฐกิจแบบการค้า
4 การเปลีย ่ นแปลงในสภาพความสมพ ั ันธ์ตามระบบเจ้านายก ับลูกน้อง ความเปลีย ่ นแปลง
นีเ้ ป็นผลโดยตรงจากการเปลีย ่ นมาใชร้ ะบบเศรษฐกิจแบบการค้า ความสมพ ั ันธ์แบบ
ประนีประนอมในการแลกเปลีย ่ นผลประโยชน์ระหว่างเจ้านายก ับลูกน้องได้เปลีย
่ นไปตาม
ระบบเศรษฐกิจซงึ่ มุง่ เน้นกำไร ทำให้ชาวนาถูกผล ักให้ตกไปอยูใ่ นสภาพความเป็นอยูท ่ ี่
ลดต่ำลงมา ความสมพ ั ันธ์ทเี่ คยเป็นไปตามข้อตกลงอย่างไม่เป็นทางการได้เปลีย ่ นสภาพ
เป็นข้อตกลงทีต ั
่ ายต ัวบนสญญาของพื ้ ฐานทางกฎหมาย

5 การสร้างปัญหาชนกลุม
่ น้อยให้เกิดขึน้ ในดินแดนต่างๆของเอเชย ี ตะว ันออกเฉียงใต้
โดยชาติอาณานิคมได้นำเอาชาวเอเชย ี ทีไ่ ม่ใชช ้ เมืองมาใชใ้ นสว
่ นพืน ่ นต่างๆของดินแดน
ใต้ปกครองของตนโดยชาวต่างด้าวเหล่านีม ้ ก
ี ารผสมกลมกลืนเข้าก ับชาวพืน ้ เมืองน้อย
มาก อีกทงนโยบายของชาติ
ั้ อาณานิคมเองเพือ ่ ความสะดวกในการปกครอง (divide and
rule)
6 การก่อให้เกิดความรูส ึ และขบวนการชาตินย
้ ก ิ ม
- ความรูส ึ ชาตินย
้ ก ิ มในเอเชย ี ตะว ันออกเฉียงใต้เป็นผลโดยตรงมาจากความไม่พอใจต่อ
การปกครองของชาติตะว ันตก รวมไปถึงการปกครองแบบอาณานิคม ทำให้ชาวพืน ้ เมือง
ได้มโี อกาสเรียนรูถ้ งึ แนวคิดแบบเสรี การทำลายระบบการปกครองแบบดงเดิ ั้ มของชาวพืน ้
เมืองทำให้ชาวพืน ้ เมืองรวมต ัวก ันต่อต้านการปกครองจากอาณานิคมด้วย
- ศาสนาเองก็เป็นมูลเหตุสำค ัญทีก
่ อ
่ ให้เกิดความรูส ึ และขบวนการชาตินย
้ ก ิ มในดินแดน
ี ตะว ันออกเฉียงใต้
ต่างๆในเอชย
- ความรูส ึ ต่อต้านชาวต่างด้าวก็นำไปสูก
้ ก ่ ารรวมต ัวก ันของขบวนการชาตินย ่ ำค ัญ
ิ มทีส
ด้วย
สงครามโลกครงที
ั้ ่ 2 และการครอบครองของญีป
่ ่น

การปกครองของชาติอาณานิคมในเอเชย ี ตะว ันออกเฉียงใต้ได้ดำเนินไปอย่างต่อเนือ ่ ง
มาจนกระทง่ ั สงครามโลกครงที
ั้ ส
่ อง ญีป่ ่ นได้
ุ เข้ามามีอำนาจในดินแดนต่างๆของเอเชย ี
ตะว ันออกเฉียงใต้แทน โดยเฉพาะอย่างยิง่ ระหว่างปี 1942-1945 การเข้ามาปกครองเอเชย ี
ั้ ผลสำค ัญอย่างมากทีท
ตะว ันออกเฉียงใต้เพียงระยะเวลาอ ันสนมี ่ ำให้เกิดการเปลีย
่ นแปลง
หลายประการ

- ชยชนะของญี ป
่ ่ นเหนื
ุ อชาติตะว ันตกทำให้ชนชาติตา่ งๆในอาณานิคมมีความหวาดกล ัว
ชาวตะว ันตกน้อยลง เป็นการทำลายความเชอ ื่ ทีว่ า
่ ชาวเอเชยี ไม่สามารถเอาชนะคนผิวขาว
ลงได้ อ ันเป็นการกระตุน ่ เสริมความรูส
้ และสง ้ ก ึ ชาตินย ิ มอย่างมาก
- ญีป
่ ่ นมี ่ เสริมความรูส
ุ นโยบายสง ึ ชาตินย
้ ก ิ มต่อต้านการปกครองของชาติตะว ันตก
- ญีป่ ่ นได้
ุ ถา่ ยทอดความรูค
้ วามสามารถทางทหารให้ก ับผูน
้ ำในดินแดนต่างๆในเอเชย ี
ตะว ันออกเฉียงใต้ สร้างความนิยมความรุนแรงตามแบบทหารให้เกิดขึน ี
้ ก ับชาวเอเชย
ตะว ันออกเฉียงใต้
- ในระยะหล ังของสงคราม ญีป
่ ่ นได้
ุ สน ับสนุนให้ผน
ู ้ ำชาตินย
ิ มในดินแดนต่างๆทำการ
ประกาศเอกราชให้แก่ตนเอง
ี ตะว ันออกเฉียงใต้
การเป็นเอกราชของชาติในเอเชย
ยกเว้นประเทศไทย ทุกประเทศเอกราชปัจจุบ ันในเอชย ี ตะว ันออกเฉียงใต้ซงึ่ ตกอยูใ่ น
การปกครองของชาติตะว ันตก ต่างทยอยได้ร ับเอกราชเมือ ิ้ สุดสงครามโลกครงที
่ สน ั้ ส
่ อง
่ นใหญ่ได้ร ับเอกราชในระยะสงครามเย็น การได้ร ับเอกราชมี 2 วิธด
สว ี ว้ ยก ันคือ

- การได้ร ับเอกราชด้วยการเจรจาด้วยสนติ
ู้ บ
- การได้ร ับเอกราชด้วยการปฎิว ัติสร
- การได้เอกราชของชาติในเอเชย ี ตะว ันออกเฉียงใต้ นอกจากเป็นผลมาจากการต่อสูข ้ อง
ขบวนการชาตินย ิ มและประชาชนของประเทศต่างๆแล้ว บทบาทของอินเดียใน
สหประชาชาติก็มค ี วามสำค ัญมากด้วย เมือ
่ อินเดียได้ร ับเอกราชในปี 1947 อินเดียได้เข้า
เป็นสมาชกิ ขององค์กรสหประชาชาติและเรียกร้องการเป็นเอกราชให้ก ับประเทศทีต ่ กเป็น
อาณานิคม
- หล ังสงครามโลกครงทีั้ ่ 2 ประเทศเจ้าอาณานิคมเริม
่ สนใจอาณานิคมของตนน้อยลงและห ัน

มาฟื้ นฟูเศรษฐกิจและสงคมในประเทศของตนเอง ซงึ่ อเมริกามีโครงการให้ความชว
่ ยเหลือ
ในแผนการมาร์แชล (Marshall Plan)***
ทฤษฎีโดมิโน (Domino Theory)
ทฤษฎีโดมิโนเป็ นทฤษฎีทางนโยบายการต่างประเทศ หมายถึงถ ้าประเทศหนึง่ หันไปใชระบอบ ้
การปกครองแบบคอมมิวนิสต์จะสง่ ผลให ้ประเทศรอบข ้างเอาอย่างตามไปด ้วย เรียกว่า ผลกระทบ
แบบโดมิโน เกิดจากกรณีการขยายตัวของลัทธิคอมมิวนิสต์ในทวีปเอเชย ี เมือ
่ จีน เกาหลีเหนือ
ื่ ว่าประเทศอืน
และเวียดนามตกเป็ นคอมมิวนิสต์ จึงมีความเชอ ่ ลาว เขมร ไทย มาเลเซย
่ ๆ เชน ี จะ
ถูกครอบงำโดยระบบคอมมิวนิสต์ตามไปด ้วย
ฟิ ลิปปิ นส ์
- ขบวนการชาตินยิ มของฟิ ลิปปิ นสท
์ งส ั้ งและชนชนล่
่ นของชนชนสู
ั้ ว ั้ างได้ตอ
่ สูเ้ พือ
่ เอกราชมาอย่าง
ยาวนานตงแต่
ั้ ปลายศตวรรษที่ 19
- คนชนชนสูั้ งของฟิ ลิปปิ นสร์ ว
่ มบริหารอาณานิคมก ับอเมริกาและมีกำหนดจะให้เอกราชก ับฟิ ลิปปิ นส ์
ภายใน 10 ปี ในข้อตกลงปี 1935
- ญีป ุ กฟิ ลิปปิ นสใ์ นปี 1941 กองกำล ังทหารภายใต้การนำของนายพลแมคอาเธอร์ตอ
่ ่ นบุ ้ งล่าถอยไป
บรรดาชนชนสู ั้ งและน ักศก ึ ษาได้รวมต ัวก ันเป็นอาสาสม ัครฝึ กทหารเพือ
่ ร่วมมือก ับกองท ัพอเมริก ัน ผูน
้ ำคน
หนึง่ ในกลุม ่ อาสาสม ัครนีค ้ อื นายเฟอร์ดนิ าน มาร์กอส
- หล ังญีป สงคราม อเมริกาประกาศเอกราชให้ฟิลิปปิ นสใ์ นว ันที่ 4 กรกฎาคม 1946 โดยสนติ
่ ่ นแพ้
ุ ั วธิ ี
และอเมริกาย ังคงผูกพ ันด้านความมน่ ั คงไว้ดว้ ยการคงฐานท ัพอากาศและฐานท ัพเรือ
- Southeast Asia Treaty Organization (SEATO) 1954
พม่า
- หล ังสงครามโลกครงที
ั้ ่ 2 อ ังกฤษประสบภาวะทรุดโทรมจากภ ัยสงคราม ประกาศทีจ
่ ะปลดปล่อย
อาณานิคมทงหมด
ั้
- ในการปกครองของอ ังกฤษนอกจากจะล้มเลิกสถาบ ันกษ ัตริยแ ์ ล้วย ังนำนโยบาย Divide and Rule
มาใชเ้ พือ
่ สร้างความแตกแยก อ ังกฤษได้นำเอาชนกลุม ่ น้อยชาวกะเหรีย่ งมาเข้ารีตและเอาชาวคริสต์
กะเหรีย ้ าเป็นกองกำล ังของอ ังกฤษในพม่า
่ งเหล่านีม
- ผูน
้ ำชาตินย ิ มในการเจรจาเรียกร้องเอกราชก ับอ ังกฤษ คือ นายอู ออง ซาน โดยทำข้อตกลงปาง
หลวงในว ันที่ 12 กุมภาพ ันธ์ ปี 1947 เพือ ้
่ ให้การเรียกร้องเอกราชมีน้ำหน ักมากขึน
ั ก ับอ ังกฤษในว ันที่ 4 มกราคม 1948
- พม่าได้เอกราชโดยการเจรจาแบบสนติ
- หล ังได้ร ับเอกราชพม่าดำเนินนโยบายไม่ฝก
ั ใฝ่ฝ่ายใด

อินโดนีเซย
ี ตกอยูภ
- อินโดนีเซย ่ ายใต้อำนาจของเนเธอร์แลนด์มานานน ับศตวรรษ การต่อต้านการปกครองของ

ต่างชาติปรากฏชดเจนในระยะที ซ ั
่ ูการ์โน และ โมฮมเหม็ ั
ด ฮดดา เป็นผูน
้ ำ การร่วมมือก ันของผูน
้ ำชาตินย
ิ ม
ทงสองคนจึ
ั้ งทำให้การต่อสูเ้ รียกร้องเอกราชมีน้ำหน ักอย่างมาก
- การยึดครองของญีป
่ ่ นในช
ุ ่ งสงครามโลกครงที
ว ั้ ่ 2 สร้างความมน
่ ั คงของขบวนการชาตินย
ิ มใน
ี รวมไปถึงการตงกองกำล
อินโดนีเซย ั้ ังทหาร PETA
ั้ ่ 2 จึงทำให้เกิดการสูร้ บเพือ
- การกล ับมาของเนเธอร์แลนด์หล ังสงครามโลกครงที ่ การเป็นเอกราชของ
ี ในปี 1946
อินโดนีเซย
- หล ังการสูร้ บนองเลือดอย่างยาวนานเนเธอร์แลนด์ได้ตกลงประกาศเอกราชให้ก ันอินโดนีเซย
ี ใน
ว ันที่ 27 ธ ันวาคม 1949
เวียดนาม
- ร ัฐในอินโดจีนก่อนเป็นเอกราชมีความเกีย่ วพ ันก ันอย่างใกล้ชด
ิ จากการตกอยูภ
่ ายใต้การปกครอง
ของฝรง่ ั เศสร่วมก ัน ผูน้ ำขบวนการชาตินย ิ มเวียดนามคือ โฮจิมน
ิ ห์ สน ับสนุนขบวนการชาตินย
ิ มในลาวและ
ก ัมพูชาให้รว่ มก ันข ับไล่ฝรง่ ั เศสออกไปจากเวียดนาม ลาว และก ัมพูชาพร้อมๆก ัน
- ญีป
่ ่ นบุ ่ งสงครามโลกครงที
ุ กเข้ายึดเวียดนามในชว ่ งปลายก็ยด
ั้ ่ 2 และชว ึ ครองอำนาจการปกครองของ
ฝรง่ ั เศสทงหมดในเวี
ั้ ยดนาม
- หล ังสงครามโลกครงที
ั้ ่ 2 สนิ้ สุดลงฝรง่ ั เศสกล ับเข้ามาและไม่ยอมร ับการประกาศเอกราชของโฮจิมน
ิ ห์
ความข ัดแย้งของทงสองฝ
ั้ ่ ายรุนแรงจนนำไปสูก ่ ารทำสงครามในปี 1946
- บทบาทของอเมริกาจากแต่เดิมทีส ้ องขบวนการชาตินย
่ น ับสนุนการต่อสูข ิ มต่อต้านอาณานิคมด้วย
ความเชอื่ ในเรือ ิ ธิมนุษยชน เปลีย
่ งเสรีภาพและหล ักสท ่ นไปเป็น อเมริกามีหน้าทีร่ ักษาอิสรภาพและเสรีภาพ
ของมวลมนุษยชาติดว้ ยการต่อต้านการขยายอำนาจของคอมมิวนิสต์
- การสูร้ บในสมรภูมเิ วียดนามดำเนินไปอย่างต่อเนือ ่ ง กองกำล ังฝรง่ ั เศสรบแบบตามรูปแบบในขณะที่
เวียดนามรบแบบสงครามกองโจร แต่สมรภูมท ิ ช ี้ าดสงครามครงนี
ี่ ข ้ อ
ั้ ค ื เดียนเบียนฟูทต
ี่ งอยู
ั้ ร่ ะหว่างลาวและ
เวียดนาม ซงึ่ กองกำล ังฝรง่ ั เศสได้ยกธงขาวทีส
่ มรภูมน ิ ใี้ นว ันที่ 7 พฤษภาคม 1954

- สญญาเจนี
วา (Geneva Treaty) ว ันที่ 21 กรกฎาคม 1954 มอบเอกราชให้ก ับเวียดนาม
ลาว
- ลาวได้ร ับเอกราชโดยสมบูรณ์จากฝรง่ ั เศสตามสญญาเจนี
ั ่ เดียวก ับเวียดนามและก ัมพูชา
วา 1954 เชน

โดยขบวนการประเทศลาวจะต้องมีสว่ นร่วมทางการเมืองแบบประชาธิปไตยตามสญญาเจนี
วา

- หล ังเป็นเอกราชตามสญญาเจนี วาในปี 1954 ลาวก็ตกอยูใ่ นสภาพการสูร้ บแบบสงครามกลางเมือง
เป็นการต่อสูแ ้ ย่งชงิ อำนาจทางการเมืองระหว่างคนชาติเดียวก ัน
ก ัมพูชา

- ก ัมพูชาได้ร ับเอกราชโดยสมบูรณ์จากสญญาเจนี
วาในปี 1954

- สญญาเจนี วาปี 1954 ให้เอกราชก ับเวียดนาม ลาว และก ัมพูชาพร้อมๆก ัน เวียดนามเป็นเอกราช แต่
ประเทศถูกแบ่งเป็นสองประเทศและเกิดสงครามใหญ่ระหว่างก ัน ต่อมาลาวซงึ่ เป็นเอกราชพร้อมๆก ับการ
เกิดสงครามกลางเมือง แต่ก ัมพูชาเป็นเอกราชโดยสงบ มีสนติ ั ภาพ เนือ ่ งจากไม่มป
ี ญ
ั หาเกีย
่ วก ับความเป็น
ั้ เ้ พราะก ัมพูชามีราชวงศน
อ ันหนึง่ อ ันเดียวก ันภายในชาติ ทงนี ์ โรดม ทีท
่ ำการปกครองประเทศมาเป็นเวลา
นานเป็นศูนย์รวมจิตใจของชาวก ัมพูชา

มาลายาและมาเลเซย
- อ ังกฤษเสนอจะให้เอกราชก ับมาลายาในปี 1946 ด้วยข้อเสนอทีเ่ รียกว่า สหภาพมาลายา เป็นข้อเสนอ
ทีใ่ ห้คนมาลายาทุกเชอ ื้ ชาติมค
ี วามเท่าเทียมก ัน
- ข้อเสนอสหภาพมาลายาได้ร ับการต่อต้านอย่างจริงจ ังโดยชนชนสู ั้ งจากมาเลย์ซงึ่ ยึดถือหล ักภูมบ
ิ ต
ุ ร
ชนชนสูั้ งชาวมาเลย์จงึ รวมต ัวก ันจ ัดตงกลุ
ั้ ม ื่ องค์การแห่งชาติเพือ
่ ทางการเมืองชอ ่ เอกภาพของชาวมาเลย์
หรืออ ัมโน(UMNO)
- ชนชนสู ั้ งชาวจีนซงึ่ ได้ร ับการสน ับสนุนจากอ ังกฤษก็ได้จ ัดตงสมาคมชาวจี
ั้ นมาลายา (MCA) ในขณะ
เดียวก ันอ ังกฤษก็สน ับสนุนให้คนอินเดียจ ัดตงกลุ
ั้ ม
่ สภาแห่งอินเดียมาลายา (MIC)
- อ ังกฤษเสนอเอกราชให้ก ับมาลายาอีกครงในปี
ั้ 1948 เรียกว่าข้อเสนอสหพ ันธ์ร ัฐมาลายา
- อ ังกฤษมอบเอกราชให้ก ับมาลายาในว ันที่ 31 สงิ หาคม 1957
สงิ ค์โปร์
- ในการเข้าร่วมมาในมาเลเซย ี ของสงิ ค์โปร์ สงิ ค์โปรได้นายกร ัฐมนตรีคนแรกชอ
ื่ นายลี กวน ยิว ซงึ่
ี เป็นของชาวมาเลเซย
ต้องการผล ักด ันให้มาเลเซย ี ทุกคน
- ว ันที่ 9 สงิ หาคม 1965 สงิ ค์โปร์แยกต ัวออกจากมาเลเซย
ี กลายเป็นร ัฐเอกราชเกิดใหม่
บรูไน
- บรูไนได้ร ับเอกราชในระยะสุดท้ายของสงครามเย็น อ ังกฤษได้เข้าปกครองบรูไนร่วมก ับซาบาห์และ
ซาราว ัค ตงแต่
ั้ ปี 1920
- ในการจ ัดตงสหพ
ั้ ี สุลต่านแห่งบรูไนปฏิเสธทีจ
ันธ์มาเลเซย ี
่ ะไม่เข้าร่วมในมาเลเซย
- ว ันที่ 1 มกราคม 1984 บรูไนได้เป็นเอกราชโดยสมบูรณ์
จงอธิบายความเกีย ่ วข้องของขบวนการชาตินย ี
ิ มก ับเอกราชในเอเชย

ตะว ันออกเฉียงใต้มาพอสงเขป โดยยกต ัวอย่างประกอบอย่างน้อย 2
ประเทศ
ี ตะว ันออกเฉียงใต้
ปัญหาของชาติเอกราชในเอเชย
- ปัญหาความด้อยพ ัฒนาและยากจน เนือ ั
่ งจากความด้อยพ ัฒนาและเป็นสงคมเกษตรกรรม ทำให้
ประเทศในเอเชย ี ตะว ันออกเฉียงใต้ตอ ั
้ งพึง่ พาอาศยโลกภายนอกในล ักษณะเสย ี เปรียบเพือ
่ พ ัฒนาประเทศ
ไปตามแนวทางของพ ัฒนาการทางอุตสาหกรรมสม ัยใหม่ ซงึ่ ถูกครอบงำโดยสงคมตะว ั ันตก ในขณะ
เดียวก ันประเทศในภูมภ ้ ังไม่สามารถแลกเปลีย
ิ าคนีย ิ ค้าและบริการซงึ่ มีล ักษณะเดียวก ันได้
่ นสน

ี้ บ่งร ัฐเป็น 2 กลุม


**ทฤษฎีพงึ่ พา (Dependency Theory) ทฤษฎีนแ ่ คือ
1 ร ัฐศูนย์กลาง คือร ัฐพ ัฒนาแล้ว
2 ร ัฐรอบนอกหรือร ัฐปริมณฑล คือร ัฐกำล ังพ ัฒนาและร ัฐด้อยพ ัฒนา
ี ตะว ันออกเฉียงใต้ ประเทศทีใ่ กล้ชด
ในเอเชย ิ ก ับตะว ันตกคือ ??
ิ ตะว ันตก ??
และประเทศทีไ่ ม่ใกล้ชด
- ปัญหาการเป็นชาติ ทุกประเทศในเอเชย ี ตะว ันออกเฉียงใต้ลว้ นเผชญ
ิ ก ับปัญหาความเป็นอ ันหนึง่ อ ัน
เดียวก ันภายในชาติ สบ ื เนือ
่ งมาจากสภาพทางภูมศ ิ าสตร์ของประเทศ เชน ่ อินโดนีเซย ี ซงึ่ เป็นประเทศทีม
่ ี
หมูเ่ กาะและประชากรในเกาะต่างๆ มีความความผูกพ ันก ับว ัฒนธรรมท้องถิน ่ มากกว่าว ัฒนธรรมของชาติ
นอกจากนีก ้ ารคงอยูข
่ องชนกลุม ่ น้อย โดยเฉพาะอย่างยิง่ ชาวจีนซงึ่ มีบทบาทสำค ัญในการครอบงำ
เศรษฐกิจของประเทศต่างๆในภูมภ ิ าคนี้ ได้สร้างความไม่พอใจให้ก ับชนพืน ่ นใหญ่
้ เมืองสว
ปัญหาการบริหารราชการ ในเอเชย ี ตะว ันออกเฉียงใต้ ผูบ ่ นใหญ่ย ังคงยึดมน
้ ริหารสว ่ ั อยูใ่ นธรรมเนียม
ปฎิบ ัติตามประเพณีทถ
ี่ อ ่ นต ัวเป็นสำค ัญ โดยคำนึงถึงกฎเกณฑ์ทต
ื ความผูกพ ันสว ี่ งขึ
ั้ น ้ ตามแนวทางแบบ
ตะว ันตกน้อยมาก ขาดระบบคุณธรรม ขาดความโปร่งใส และการตรวจสอบความเชอ ื่ ถือได้ อ ันนำไปสู่
ปัญหา ??
ปัญหาประชาธิปไตยในเอเชย ี ตะว ันออกเฉียงใต้ เมือ ่ เป็นเอกราชทุกประเทศในเอเชย ี ตะว ันออกเฉียงใต้
ได้พยายามนำเอารูปแบบการปกครองแบบประชาธิปไตยของว ัฒนธรรมตะว ันตกมาใช ้ แต่ความพยายาม
ด ังกล่าวม ักไม่ประสบความสำเร็จ ปัญหาทีส ่ ำค ัญของประเทศในเอเชย ี ตะว ันออกเฉียงใต้คอ ื ปัญหาเกีย
่ ว
ก ับการใชป ้ ระชาธิปไตยและปัญหาเกีย่ วก ับความมน ่ ั คง
- ประชาธิปไตย เป็นรูปแบบการปกครองทีใ่ ห้ความสำค ัญอย่างยิง่ ต่อการมีสว
่ นร่วมของประชาชน
ประชาชนทุกคนมีความเสมอภาคเท่าเทียมก ันทางกฎหมาย ยอมร ับและสน ับสนุนความแตกต่างและหลาก
หลายของประชาชน

- สงคมในเอเช ี ตะว ันออกเฉียงใต้ได้ร ับอิทธิพลทางว ัฒนธรรมจากจีน และอินเดีย ซงึ่ เป็นแหล่ง

อารยธรรมของเอเชย ั้
ี ยอมร ับการแบ่งชนชนของส ั
งคมเป ั้
็ นชนชนปกครองและชนช ั้ ใ้ ต้ปกครอง
นผู
ั้
ชนชนปกครองจะเป ็ นผูก
้ ำหนดแนวทางปฎิบ ัติในการปกครองตามความคิดเห็นและความต้องการของ
ตน

- ว ัฒนธรรมสงคมในเอเช ี ตะว ันออกเฉียงใต้ ประชาชนถูกแบ่งออกเป็นสองชนชนกว้
ย ั้ ั้
างๆ คือ ชนชน
ั้ ใ้ ต้ปกครอง การมีสว
ปกครองและชนชนผู ่ นร่วมของประชาชนตามความคิดทีว่ า
่ อำนาจการปกครองเป็น
ของประชาชน จึงไม่มอ ี ยูใ่ นความรูส
้ ก ั
ึ นึกคิดของคนในสงคม
- การมีสว ั้
่ นร่วมของชนชนใต้
ปกครองออกมาในรูปแบบของการยอมร ับความเป็นผูน
้ ำ และอำนาจการ
ั้
ปกครองของชนชนปกครอง
- ความสมพั ันธ์ระหว่างเจ้านายก ับลูกน้อง หรือความสมพ ั ันธ์ในระบบอุปถ ัมภ์เป็นกลไกทีส ่ ำค ัญในการ

ดำเนินไปของสงคมในเอเช ี ตะว ันออกเฉียงใต้ ซงึ่ เป็นความสมพ
ย ั ันธ์สว
่ นต ัวและไม่มข ี อ
้ ผูกม ัดตาม
กฎหมาย การปฎิบ ัติตอ ่ ก ันในความสมพ ั ันธ์นไี้ ม่มก
ี ารแบ่งแยกในเรือ
่ งสว่ นต ัวก ับหน้าทีท่ ต
ี่ อ้ งร ับผิดชอบ
่ นรวม
ต่อสว
- ในขณะทีค ั ันธ์ในสงคมประชาธิ
่ วามสมพ ั ปไตยแบบตะว ันตกจะมีการแบ่งแยกก ันชดเจน ั ถึงความ
ั ันธ์ระหว่างบุคคลในสว
สมพ ่ นของเรือ
่ งสว่ นต ัว ก ับเรือ ่ นรวม การยอมร ับในหล ักการ
่ งทีร่ ับผิดชอบต่อสว
แห่งกฎหมายถือเป็นพืน ั
้ ฐานหล ักในสงคมแบบประชาธิ ปไตยตะว ันตก
ประชาธิปไตยแบบตะว ันตก ี ตะว ันออกเฉียงใต้
ว ัฒนธรรมเอเชย

1 ความเสมอภาคระหว่างบุคคลตามกฎหมาย ั้
การแบ่งชนชนปกครองก ับผูใ้ ต้ปกครอง

2 อำนาจการปกครองเป็นของประชาชน โดย ั้ ง
อำนาจการปกครองเป็นของชนชนสู
ประชาชน
และเพือ
่ ประชาชน

3 ยึดถือในหล ักแห่งกฎหมาย ยึดถือในระบบอุปถ ัมภ์


มูลเหตุจง
ู ใจในการนำระบอบประชาธิปไตยเข้ามาปกครอง
- มาจากการทีช ั้ งบางสว
่ นชนสู ่ นทีม ึ ษา ได้เรียนรูว้ ัฒนธรรมยุโรป
่ โี อกาสไปศก
- ความคุน ั้
้ เคยของชนชนนำในประเทศที
ม ่ นร่วมในการปกครองก ับเจ้าอาณานิคมก่อนได้ร ับ
่ โี อกาสมีสว
เอกราช
- เพือ
่ ให้ได้ร ับการยอมร ับว่าเป็นประเทศทีเ่ จริญท ัดเทียมก ับประเทศตะว ันตกทีเ่ จริญแล้ว
ไม่วา
่ จะด้วยเหตุจง
ู ใจอะไร หรือในรูปแบบใด ล้วนเป็นเรือ ั้
่ งของชนชนปกครอง
สรุปสาเหตุสำค ัญของปัญหาในการนำประชาธิปไตยแบบตะว ันตกมาใช ้
- ความคิดเรือ ่ งความเสมอภาคของบุคคลในสงคมเป ั ็ นของแปลกใหม่สำหร ับสงคมเอเช
ั ี ตะว ันออกเฉียง

ใต้ทแ ั้
ี่ บ่งเป็นชนชนปกครอง ั้
ก ับชนชนใต้ ปกครอง การยึดถือในหล ักแห่งกฎหมายก็ไม่สอดคล้องก ับการ
ยึดมน ั
่ ั ในระบบอุปถ ัมภ์ของสงคมเอเช ี ตะว ันออกเฉียงใต้

- Give me liberty or give me death VS Freedom from hunger
- สถาบ ันทางการเมืองในระบอบประชาธิปไตยแบบตะว ันตกได้ร ับการยอมร ับจากประชาชนน้อยมากเมือ ่
เปรียบเทียบก ับสถาบ ันทีไ่ ด้ร ับการยอมร ับว่าอยูค
่ ส ั
ู่ งคมเอเช ี ตะว ันออกเฉียงใต้มาตลอด เชน
ย ่ สถาบ ัน
ราชการ โดยเฉพาะอย่างยิง่ สถาบ ันทหาร
เอเชย ั
ี ตะว ันออกเฉียงใต้ในสงคมโลกหล ังได้ร ับเอกราช

ปัญหาด้านความมน ี ตะว ันออกเฉียงใต้หล ังได้ร ับเอกราช รวมทงประเทศไทย


่ ั คง ประเทศในเอเชย ั้ ต้อง
เผชญิ ก ับสภาพการเมืองระหว่างประเทศรูปแบบใหม่ทไี่ ม่เคยปรากฎมาก่อนในระบบการเมืองระหว่าง
ประเทศ นน ่ ั คือ สภาพสงครามเย็น ได้เข้ามาครอบงำเอเชย ี ตะว ันออกเฉียงใต้อย่างเต็มที่ ทุกประเทศใน
เอเชยี ตะว ันออกเฉียงใต้ตระหน ักถึงสภาพของการเป็นประเทศอ่อนแอในระบบการเมืองระหว่างประเทศ
แนวทางในการสร้างความมน
่ ั คงปลอดภ ัย
1 ร ับความชว ้ โยบายพ ันธมิตร
่ ยเหลือและสน ับสนุนมหาอำนาจใดมหาอำนาจหนึง่ ในสงครามเย็น โดยใชน
(alliance) ก ับชาติมหาอำนาจ
่ วข้องในความข ัดแย้งระหว่างประเทศมหาอำนาจ แนวนโยบายนีเ้ รียกว่า
2 ประกาศนโยบายทีไ่ ม่เกีย
นโยบายไม่ฝก
ั ใฝ่ฝ่ายใด(non - alignment)
่ นภูมภ
3 การร่วมมือสว ิ าค (regional cooperation)
สมาคมแห่งสหประชาชาติเอเชย ี ตะว ันออกเฉียงใต้
Association of South East Asian Nations
แนวคิดเรือ
่ งการรวมกลุม

- การรวมกลุม
่ และการบูรณาการ
- การรวมกลุม
่ ภูมภ
ิ าค
แนวคิดทางวิชาการด้านการรวมกลุม ่ ระหว่างร ัฐสม ัยใหม่เพือ ้ ได้
่ ร่วมมือก ันทำงานร่วมก ันเพิง่ เกิดขึน
ร ับการพ ัฒนาอย่างจริงจ ังหล ังสงครามโลกครงที
ั้ ่ 2 อ ันเป็นผลมาจากการรวมกลุม ่ ทำงานบูรณาการยุโรป
การรวมกลุม
่ และการบูรณาการ
แนวคิดการบูรณาการระหว่างประเทศยุคดงเดิ
ั้ ม
1. สหพ ันธ์นย ิ ม (Federalism) กระบวนการรวมต ัวการสร้างร ัฐชาติแบบสหพ ันธร ัฐ การทีร่ ัฐต่างๆเข้ามา
อยูร่ ว
่ มก ันด้วยการยอมร ับและคงผลประโยชน์ อ ัตล ักษณ์ และว ัฒนธรรมของตนไว้บนพืน ้ ฐานของข้อ
ตกลงอย่างเป็นทางการ และเอกภาพในความแตกต่าง (unity in diversty) การรวมต ัวเป็นร ัฐชาติใน
ล ักษณะนีป ้ ระกอบด้วยหน่วยย่อยทีม ่ ค
ี วามแตกต่างทางดินแดน ผลประโยชน์ ว ัฒนธรรมสว ่ นน้อย
ชาตินย ิ มระด ับต่ำกว่าร ัฐ ศาสนา
ั ันธ์นย
2. สมพ ิ ม (Transactionalism) น ักวิชาการ คาร์ล ดอยซ ์ (Karl W. Deutsch) เห็นว่าการสร้าง
ั ภาพการเมืองระหว่างประเทศในล ักษณะการสร้างประชาคมความมน
สนติ ่ ั คงสามารถป้องก ันสงครามได้
ด้วยการบูรณาการ ด ังนี้
: ประชาคมความมน
่ ั คง คือกลุม
่ คนทีเ่ ข้ามาบูรณาการก ัน (intergrated)
: การบูรณาการคือ สภาวะทีภ ั้ การบรรลุซงึ่ ความรูส
่ ายในเขตดินแดนนนมี ึ เป็นประชาคม
้ ก
: ความรูส ึ เป็นประชาคมคือ ความเชอ
้ ก ื่ ว่าพวกเขาสามารถเห็นพ้องตกลงในการแก้ไขปัญหาทีม
่ รี ว
่ มก ัน
: การเปลีย ั
่ นแปลงอย่างสนติ ั
คือ การแก้ไขปัญหาสงคมด้
วยกระบวนการทีม
่ รี ป ั
ู แบบสถาบ ันชดเจน
ดอยซ ์ ชใี้ ห้เห็นว่าการสร้างประชาคมนนต้ ั้ องมีการติดต่อแลกเปลีย ่ นข้ามพรมแดนมากขึน้ เรือ
่ ยๆ ยิง่ มี
การติดต่อแลกเปลีย ่ นระหว่างก ันเข้มข้นมากขึน ั
้ ร ัฐต่างๆยิง่ ต้องพึง่ พาอาศยระหว่างก ันมากขึน้ อ ันนำไปสู่
่ เสริมความเชอ
การสง ื่ มน ้ เชอ
่ ั และความไว้เนือ ื่ ใจระหว่างร ัฐ
3. ภารกิจนิยมและภารกิจนิยมใหม่ ผูร้ เิ ริม ่ แนวคิดภารกิจนิยม เดวิด มิทรานี (David Mitrany) เห็นว่า
ประเด็นความมน ่ ั คงนนสั้ ำค ัญแต่เฉพาะด้านการดูแลป้องก ันโลกจากการใชค ้ วามรุนแรง ด ังนนจึั้ งควรสร้าง
กลไกให้เกิดสนติ ั ภาพอย่างถาวรและยง่ ั ยืนนาน จึงเน้นหล ักการทำงานในภารกิจด้านสว ัสดิการและลด
อำนาจทางการเมืองของร ัฐบาลลง แนวคิดภารกิจนิยมของมิทรานี จึงเห็นควรตงองค์ ั้ กรทีท่ ำหน้าทีเ่ ฉพาะ
แยกต่างหากเป็นภารกิจๆ ร ับผิดชอบเพียงภารกิจเดียวและมีความชำนาญเฉพาะ ร ัฐเองจะไม่รส ึ ว่าต ัวเอง
ู้ ก
ถูกต ัดทอนอำนาจอธิปไตย เนือ ่ งจากองค์กรทีม ่ ภ
ี ารกิจเฉพาะก็จะร ับผิดชอบเรือ ่ งเกีย่ วก ับการสร้างแนว
ทิศทางสูส่ ว ัสดิการทว่ ั หน้าสากลเพือ ่ ผลประโยชน์รว ่ มก ัน ต่อมา เอิรน
์ ฮาส (Ern Haas) ได้เสนอแนวคิด
ภารกิจนิยมใหม่ทีอ ่ ธิบายการบูรณาการระหว่างประเทศทีพ ่ ัฒนามาจากภารกิจนิยมเดิม คือ กระบวนการ
ล้นไหล(spill over) อ ันเป็นผลของการทำงานร่วมก ันในภารกิจงานด้านหนึง่ ซงึ่ จะสง ่ ผลให้เกิดแรงกดด ัน
ต่อภารกิจอีกด้านหนึง่ ทีเ่ กีย ่ วข้อง จนนำไปสูก ่ ารบูรณาการในด้านอืน ่ เพืม
่ มากขึน้ โดยเฉพาะอย่างยิง่ การบู
รณาการในด้านการเมือง
แนวคิดการบูรณาการระหว่างประเทศหล ังแนวคิดดงเดิ
ั้ ม
- แนวคิดร ัฐนิยมแบบเสรี (Liberal Intergovernmentalism) โดย แอนดริว โมราฟชก ิ (Andrew
Moravcsik) เจ้าของแนวคิดนีเ้ สนอว่าพ ัฒนาการและอ ัตราความก้าวหน้าของการร่วมมือบูรณาการนนย ั้ ัง
คงขึน ้ อยูก ิ ใจและการกระทำของร ัฐชาติ ร ัฐเป็นต ัวแสดงทีม
่ ับการต ัดสน ั ันธ์ระหว่างร ัฐจึง
่ เี หตุผล ความสมพ
มีล ักษณะทีร่ ัฐบาลย ังมีบทบาทหล ักในการกำหนดสภาพความสมพ ั ันธ์ระหว่างก ัน
้ ฐานในทางการเมืองนนมี
1. ต ัวแสดงพืน ั้ เหตุผล กลุม
่ ต่างๆมีอส
ิ ระในต ัวเองทีม
่ ป ั ันธ์บนพืน
ี ฎิสมพ ้ ฐานเพือ
่ ผล
ประโยชน์ของตน
2. พฤติกรรมของร ัฐและรูปแบบต่างๆของความร่วมมือและข ัดแย้งสะท้อนธรรมชาติของรูปแบบของผล
ประโยชน์ของร ัฐ
3. การบริหารจ ัดการหลายระด ับ (Multi – Level Governance)
แนวคิดการบูรณาการทางเศรษฐกิจ
สหภาพยุโรปเป็นองค์การแรกทีเ่ ริม
่ การทำงานบูรณาการ เริม
่ ต้นด้วยด้านเศรษฐกิจและเป็นงานด้านที่
ประสบความสำเร็จมากและชดเจนที
ั ส
่ ด
ุ เบลา บาล ัสซา (Bela Balassa) เสนอว่าการบูรณาการทาง
เศรษฐกิจนนร
ั้ ัฐต่างๆสามารถทำตามขนตอนได้
ั้ ด ังนี้
1. เขตการค้าเสรี (free trade area)
2. สหภาพศุลกากร (customs union)
3. ตลาดร่วม (common market)
4. สหภาพทางเศรษฐกิจ (economic union)
การรวมกลุม
่ ภูมภ
ิ าค
ภูมภิ าคนิยม (regionalism) ได้ร ับความสนใจอย่างมากภายหล ังสงครามโลกครงที ั้ ่ 2 สน ิ้ สุดลง ซงึ่ เป็น
ผลมาจากความร่วมมือระด ับภูมภ ิ าคในยุโรป การรวมกลุม
่ ภูมภิ าคนิยมชว ่ งนีเ้ รียกว่า ภูมภิ าคนิยมยุคเก่า มี
ว ัตถุประสงค์ดา้ นความมน ่ ั คงและเสถียรภาพทางการเมืองเป็นหล ัก การรวมกลุม ่ ในชว ่ งนีจ
้ งึ เกิดจากการ
ผล ักด ันของประเทศมหาอำนาจโดยให้ประเทศในแต่ละภูมภ ิ าครวมต ัวก ันเพือ
่ สน ับสนุนล ัทธิทางการเมือง
ฝ่ายของตน เชน ่ โครงการ COMECON ของฝั่งโซเวียต และ แผนการ Marshall Plan ของฝั่งโลกเสรี
หล ังสงครามเย็นผ่อนคลาย ได้เกิดการรวมกลุม ่ ในล ักษณะภูมภ
ิ าคนิยมใหม่ทต ี่ า่ งจากเดิม โดย
เป็นการรวมกลุม่ ระหว่างประเทศทีร่ เิ ริม
่ โดยประเทศภายในภูมภิ าคนนๆ
ั้ เป็นไปด้วยความสม ัครใจ อีกทงยั้ ัง
ให้ความสำค ัญก ับความร่วมมือด้านเศรษฐกิจ และขยายความร่วมมือในด้านอืน ่ ๆเพิม ้ ด้วย
่ ขึน
ความแตกต่างระหว่างภูมภ
ิ าคนิยมเก่าและภูมภ
ิ าคนิยมใหม่
ภูมภ
ิ าคนิยมเก่า ภูมภ
ิ าคนิยมใหม่
ทศวรรษที่ 1950 - 1960 ตงแต่
ั้ ทศวรรษที่ 1980

ก่อตงภายใต้
ั้ บริบทของยุคสงครามเย็น ทีก
่ ารเมือง ก่อตงภายใต้
ั้ บริบทของโลกยุคใหม่ ทีก่ ารเมือง
โลกแบ่งเป็นสองขวอำนาจ
ั้ คือ เสรีประชาธิปไตยก ับ โลกเปลีย ่ นจากสองขวอำนาจไปสู
ั้ ห่ ลายขวั้
คอมมิวนิสต์ อำนาจ และกระแสโลกาภิว ัตน์เข้ามามีบทบาท
อย่างยิง่ ก ับเศรษฐศาสตร์การเมืองโลก

ประเทศมหาอำนาจเป็นผูร้ เิ ริม
่ ในการก่อตงและเข้
ั้ า ประเทศในภูมภิ าคริเริม
่ ก่อตงกลุ
ั้ ม่ ความร่วมมือ
มาแทรกแซงการดำเนินงานของกลุม ่ ความร่วมมือ และดำเนินกิจกรรมระหว่างประเทศร่วมก ันด้วย
เพือ
่ หาแนวร่วมในการถ่วงดุลอำนาจก ับฝ่ายตรง ความสม ัครใจมากกว่าถูกแรงผล ักจากประเทศ
ข้าม มหาอำนาจภายนอกภูมภ ิ าค
ภูมภ
ิ าคนิยมเก่า ภูมภ
ิ าคนิยมใหม่
ทศวรรษที่ 1950 - 1960 ตงแต่
ั้ ทศวรรษที่ 1980
ความแตกต่
มีว ัตถุ าองระหว่
ประสงค์ดา้ นการเมื งและความมางภูน มภ
่ ั คงเปิ ็ นาคนิ
เน้ย มเก่วามมื
นความร่ และภู มภ ิ าคนิ
อด้านเศรษฐกิ ยมใหม่
จและขยายความ
หล ัก ร่วมมือในด้านอืน ่ ๆ มากขึน้

ทางด้านเศรษฐกิจอาศยแนวคิ ดเสรีนยิ มของ ทางด้านเศรษฐกิจอาศยแนวคิั ดเสรีนย
ิ มใหม่ มุง

Bretton Woods โดยเน้นความพอเพียงของ เน้นการสร้างความเข้มแข็งขององค์การระด ับ
ภูมภ ิ าค ความเป็นอิสระและไม่พงึ่ พิงโลก ปกป้อง ภูมภิ าคในระบบเศรษฐกิจโลก ให้ความสำค ัญก ับ
ผลประโยชน์ของประเทศสมาชก ิ และใชเ้ ครือ ่ งมือ การเปิ ดตลาดเสรี การค้าเสรี และการผ่อนปรนกฎ
กีดก ันทางการค้า ระเบียบเพือ
่ เพิม
่ ขีดความสามารถในการแข่งข ัน
องค์การระหว่างประเทศทีก ่ อ่ ตงขึ
ั้ น้ ตงแต่
ั้ กลาง คศ.1980 เป็นต้นมาจึงเป็นการรวมกลุม ่ ในล ักษณะ
ภูมภิ าคนิยมใหม่ ทีม ่ คี วามแตกต่างไปจากแนวทางเดิม ล ักษณะสำค ัญของภูมภ ิ าคนิยมใหม่ คือ
เป็นการรวมต ัวทีม่ แี รงข ับเคลือ ่ นจากประเทศภายในภูมภ ิ าคเป็นหล ัก ประเทศสมาชก ิ ขององค์การเป็น
ต ัวแสดงหล ักในการดำเนินกิจกรรม และเป็นไปด้วยความสม ัครใจมากกว่าถูกแรงข ับจากต ัวแสดง
ภายนอกภูมภ ิ าค ภูมภ ิ าคนิยมใหม่ย ังให้ความสำค ัญก ับความร่วมมือด้านเศรษฐกิจ และขยายความร่วม
มือในด้านอืน่ ๆเพิม
่ มากขึน ้ ด้วย เชน ั
่ ด้านพ ัฒนาสงคม ด้านสทิ ธิมนุษยชน ด้านสงิ่ แวดล้อม
ภูมภ
ิ าคนิยมก ับโลกาภิว ัฒน์ (Globalization)

1 Internationalization
2 Liberalization
3 Universalization
4 Westernization
5 Deterritorialization
ภูมภ ี ตะว ันออกเฉียงใต้และอาเซย
ิ าคนิยมในเอเชย ี น


องค์การสนธิสญญาร่ ี ตะว ันออกเฉียงใต้ (The Southeast
วมป้องก ันเอเชย
Asian Treaty Organization: SEATO)

ซโี ต้ ก่อตงขึ
ั้ น้ เมือ
่ ปี 1954 เป็นองค์การความร่วมมือทีเ่ กิดขึน ้ เป็นครงแรกใน
ั้
ภูมภ ิ าค โดยได้ร ับความสน ับสนุนจากภายนอกภูมภ ้ ก
ิ าค ระบบพ ันธมิตรนีถ ู
ผล ักด ันโดยอเมริกาทีต ่ อ ้ งการเครือ่ งมือสก ัดกนการขยายต
ั้ ัวของฝ่าย
คอมมิวนิสต์ในภูมภ ิ าคนี้ เป้าหมายหล ักของซโี ต้คอ ื การป้องก ันเอกราช
เสถียรภาพ และความมน ่ ั คงร่วมก ันในชว ่ งสงครามเย็น
ดร.ถน ัด คอร์ม ันต์ ร ัฐมนตรีวา
่ การกระทรวงการต่างประเทศประเทศไทย คศ.1959 เป็นผูน ้ ำคนสำค ัญใน
ความคิดและการดำเนินงานเกีย ่ วก ับความร่วมมือระหว่างประเทศในภูมภ ี ตะว ันออกเฉียงใต้
ิ าคเอเชย
สมาคมอาสา (The Association of Southeast Asia: ASA)
สมาคมอาสาก่อตงขึ ้ ด้วยความร่วมมือของประเทศไทย ฟิ ลิปปิ นส ์ และสหพ ันธ์มาลายา คศ 1961 มี
ั้ น
ว ัตถุประสงค์และความร่วมมือในด้านต่างๆ ได้แก่ เศรษฐกิจ สงคม ั ว ัฒนธรรม วิทยาศาสตร์ เพือ
่ บูรณะ
ประเทศภาคีหล ังได้ร ับอิสรภาพ ทงมุั้ ง ั ภาพ หลีกเลีย
่ สร้างสนติ ่ งความข ัดแย้งทางการเมือง อย่างไร
ก็ตามการดำเนินกิจกรรมนีไ้ ด้หยุดชะง ักลงด้วยการสถาปนาประเทศมาเลเซย ี ในปี 1963 และเกิดกรณี
พิพาทดินแดนขึน ้ ระหว่างมาเลเซยี และฟิ ลิปปิ นสใ์ นการเรียกร้องดินแดนซาบาห์
ี ตะว ันออกเฉียงใต้(Association of South East Asian
สมาคมแห่งประชาชาติเอเชย
Nations, ASEAN)
8 สงิ หาคม 1967 ได้มก ี ารประกาศปฎิญญากรุงเทพ(Bangkok Declaration) สถาปานาสมาคมแห่ง
ประชาชาติเอเชย ี ตะว ันออกเฉียงใต้ทก ี่ รุงเทพ โดยร ัฐมนตรีตา่ งประเทศของไทย มาเลเซย ี อินโดนีเซยี
สงิ คโปร์ และฟิ ลิปปิ นส ์ เป็นองค์กรระหว่างประเทศในภูมภ ิ าคเพือ
่ เร่งร ัดความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ
และพ ัฒนาการทางสงคมและวั ัฒนธรรมในภูมภ ิ าค เพือ ั ภาพและเสถียรภาพในภูมภ
่ เสริมสร้างสนติ ิ าค
จงอธิบายการรวมกลุม ่ ของประเทศในยุโรปและในเอเชย ี ตะว ันออกเฉียงใต้ภายใน
แนวคิดการรวมกลุม ่ รวมไปถึงประเด็นของการล้นไหล(spillover) ว่าคืออะไร และมี
ั ันธ์อย่างไรก ับการรวมกลุม
ความสมพ ่ ของประเทศในภูมภ ิ าค
ิ อาเซย
ประเทศสมาชก ี น
ราชอาณาจ ักรไทย

สาธารณร ัฐอินโดนีเซย

สหพ ันธร ัฐมาเลเซย คศ 1967
สาธารณร ัฐสงิ คโปร์
สาธารณร ัฐฟิ ลิปปิ นส ์
บรูไนดารุสซาลาม คศ 1984

สาธารณร ัฐสงคมนิ
ยมเวียดนาม คศ 1995
สาธารณร ัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว คศ 1997
สาธารณร ัฐแห่งสหภาพเมียนมาร์ คศ 1997
ราชอาณาจ ักรก ัมพูชา คศ 1999
การประชุมสุดยอดครงแรกของอาเซ
ั้ ี น

กุมภาพ ันธ์ 1976 บาหลี ประเทศอินโดนีเซย ี “รากฐานสำหร ับความร่วมมือทางการเมืองและเศรษฐกิจ
ทีเ่ ข้มแข็งยิง่ ขึน ี นโดยมิได้ปิดประตูสำหร ับการคืนดีก ับร ัฐอินโดจีน” การประชุมครงนี
้ ในอาเซย ั้ ใ้ ห้ความ
เห็นชอบในเอกสารสำค ัญคือ

- สนธิสญญาทางไมตรี ี ตะว ันออกเฉียงใต้ (Treaty of Amity and
และความร่วมมือในเอเชย
Cooperation in Southeast Asia: TAC)
่ ำค ัญในประว ัติศาสตร์ความร่วมมือในแง่ของความมน
***เป็นการประชุมทีส ั
่ ั คง และสนธิสญญาฉบ ับบนี้

เป็นสนธิสญญาด้ านความร่วมมือด้านความมน ่ ั คงฉบ ับแรก
ว ัตถุประสงค์ในการจ ัดตงอาเซ
ั้ ี น

1 เพือ
่ การกินดีอยูด ้ ฐานความเสมอภาคและผลประโยชน์รว
่ ี บนพืน ่ มก ันในหมูส ิ ทงั้ 10 ประเทศ
่ มาชก
2 เพือ ่ เสริมความเข้าใจอ ันดีระหว่างประเทศสมาชก
่ สง ิ
3 เพือ ั
่ สร้างการเติบโตทางเศรษฐกิจ โดยมีการพ ัฒนาอย่างสร้างสรรค์ในด้านสงคมและว ัฒนธรรมของ
หมูส
่ มาชกิ
“One Vision , One Identity , One Community”
โดยมุง
่ เน้นไปที่ 3 ประชาคมคือ
ประชาคมการเมืองและความมน ี น
่ ั คงอาเซย
ี น
ประชาชมเศรษฐกิจอาเซย

ประชาคมสงคมและว ี น
ัฒนธรรมอาเซย
ี น
AFTA เขตการค้าเสรีอาเซย
เขตการค้าเสรีอาเซยี นจ ัดตงขึ
ั้ น้ ในปี 1992 โดยมีความตกลงสองฉบ ับเป็นหล ักเกณฑ์ในการดำเนินงาน
ของเขตการค้าเสรีอาเซยี น คือ
ี น
1 กรอบความตกลงแม่บทว่าด้วยการขยายความร่วมมือทางเศรษฐกิจของอาเซย
2 ความตกลงว่าด้วยอ ัตราภาษีพเิ ศษทีเ่ ท่าก ันสำหร ับเขตการค้าเสรีอาเซย
ี น ทีค ิ ค้า
่ รอบคลุมสน
ิ ค้าเกษตรแปรรูป และสน
อุตสาหกรรม สน ิ ค้าเกษตรไม่แปรรูป
ี น(ASEAN CHARTER) หรือธรรมนูญอาเซย
กฎบ ัตรอาเซย ี น
การประชุมสุดยอดผูน ้ ำอาเซย ี น ครงที
ั้ ่ 11 ทีป
่ ระเทศมาเลเซย ี ปี 2005 ผูน ้ ำอาเซย ี นเห็นชอบให้มก ี ารยก
ร่างกฎบ ัตรอาเซย ี นขึน
้ ซงึ่ เปรียบเสมือนร ัฐธรรมนูญของอาเซย ี น เป็นการวางกรอบทางกฎหมายและ
โครงสร้างองค์กรให้ก ับอาเซย ี น โดยนอกจากจะประมวลสงิ่ ทีถ ่ อ ื เป็นค่านิยม หล ักการ และแนวปฎิบ ัติใน
อดีตของอาเซย ี นมาประกอบก ันเป็นข้อปฎิบ ัติอย่างเป็นทางการของประเทศสมาชก ิ แล้ว ย ังมีการ
ปร ับปรุงแก้ไข พร้อมกำหนดขอบเขตหน้าทีค ่ วามร ับผิดชอบขององค์กรทีส ่ ำค ัญในอาเซย ี น เพือ่ เพิม

ประสท ิ ธิภาพของอาเซย ี นให้สามารถดำเนินการตามว ัตถุประสงค์และเป้าหมายโดยเฉพาะอย่างยิง่ การ
ข ับเคลือ
่ นการรวมต ัวของประชาคมอาเซย ี นภายในปี 2015 (กฎบ ัตรอาเซย ี นมีผลบ ังค ับใชว้ ันที่ 15
ธ ันวาคม คศ 2008)
สาระสำค ัญของกฎบ ัตรอาเซย
ี น
ี นมีสถานะเป็นนิตบ
- กำหนดให้อาเซย ิ ค
ุ คล
ิ ยินยอมทีจ
- สมาชก ่ ะผูกพ ันตามกฎบ ัตรและปฎิบ ัติตามพ ันธกรณี รวมถึงมีหน้าทีใ่ นการออกกฎหมาย
ภายในประเทศเพือ ั้ ้ มิได้มบ
่ รองร ับพ ันธกรณี ทงนี ิ ทีล
ี ทบ ัญญ ัติลงโทษแก่สมาชก ่ ะเมิดกฎบ ัตร เพียงแต่
กำหนดว่าถ้ามีการละเมิดให้เสนอเรือ
่ งไปทีป ่ ระชุมสุดยอดอาเซย ี น
ิ ใจให้อยูบ
- กระบวนการต ัดสน ้ ฐานของการปรึกษาหารือและฉ ันทามติ
่ นพืน
- จ ัดตงกลไกระง
ั้ ับข้อพิพาท
- จ ัดตงองค์
ั้ ิ ธิมนุษยชนอาเซย
กรสท ี น
- สง่ เสริมการปรึกษาหารือก ันระหว่างประเทศสมาชก
ิ เพือ
่ แก้ไขปัญหาทีก
่ ระทบต่อผลประโยชน์ระหว่าง
ก ัน
ี นเป็นองค์การทีม
- สน ับสนุนให้อาเซย ่ ป
ี ระชาชนเป็นศูนย์กลาง
ี นปี ละ 2 ครงั้
- กำหนดให้จ ัดการประชุมสุดยอดอาเซย
ความสำค ัญของกฎบ ัตรอาเซย
ี น
1 การมีสถานะเป็นนิตบ
ิ ค ่ ารเปลีย
ุ คลนำมาสูก ั ันธ์เชงิ มิตรภาพและความสม ัคร
่ นจากรูปแบบความสมพ
ใจมาเป็นการผูกพ ันตามกฎกติกา
ี นชว
2 กฎบ ัตรอาเซย ่ ยผล ักด ันให้สมาชก
ิ มีความเป็นเอกภาพมากยิง่ ขึน

3 สน ับสนุนให้อาเซย ี นเป็นองค์การทีม
่ ป
ี ระชาชนเป็นศูนย์กลาง โดยระบุให้มก
ี ารจ ัดตงกลไกส
ั้ ิ ธิมนุษย

ชนอาเซย ี นขึน
้ เสริมสร้างค่านิยมประชาธิปไตย สท ิ ธิมนุษยชนและหล ักธรรมาภิบาล
4 กระตุน
้ ให้ประเทศสมาชกิ ทีไ่ ม่คอ
่ ยให้ความร่วมมือปฎิบ ัติตามพ ันธกรณี คำนึงถึงผลประโยชน์สว่ นรวม
และมีความร ับผิดชอบต่อประชาชนในประเทศมากยิง่ ขึน ้
ี น
ข้อจำก ัดของกฎบ ัตรอาเซย
ี นย ังคงร ับรองหล ักการและว ัฒนธรรมในวิถอ
1 กฎบ ัตรอาเซย ี น (Asian Way) คือ มีความยืดหยุน
ี าเซย ่ สูง
ไม่เป็นทางการ ไม่มก
ี ฎเกณฑ์ตายต ัว
2 หล ักการฉ ันทามติ
ี นมีล ักษณะกว้างๆ ทำให้ตค
3 บทบ ัญญ ัติในกฎบ ัตรอาเซย ี วามได้อย่างกว้างๆ และยืดหยุน
่ ทงในเช
ั้ งิ เป้า
หมายและการดำเนินการ
4 ไม่มบ
ี ทบ ัญญ ัติลงโทษ
ประเด็นสำค ัญในสามเสาหล ักอาเซย
ี น
1 ประชาคมการเมืองและความมน ี น (ASEAN Political – Security Community)
่ ั คงอาเซย
- สร้างประชาคมให้มค ี า่ นิยมร่วมก ันในเรือ
่ งของการเคารพความหลากหลายของแนวคิดและสง ่ เสริมให้
ประชาชนเป็นศูนย์กลางของนโยบายและกิจกรรมภายใต้เสาการเมืองและความมน ่ ั คง
่ เสริมความมน
- สง ่ ั คงของภูมภ ิ าค สามารถเผชญ ิ ก ับภ ัยคุกคามความมน ่ ปัญหายา
่ ั คงในรูปแบบใหม่เชน
เสพติด ปัญหาอาชญากรรมข้ามชาติ ปัญหาการค้ามนุษย์ ปัญหาการก่อการร้าย
อุปสรรค
- กรณีพพ
ิ าทเรือ ิ ความไม่ไว้วางใจซงึ่ ก ันและก ัน
่ งพรมแดนระหว่างประเทศสมาชก
ี น (ASEAN Economic Community)
2 ประชาคมเศรษฐกิจอาเซย
- มุง
่ จ ัดตงให้
ั้ ี นเป็นตลาดเดียวและเป็นฐานผลิตร่วมก ัน
อาเซย
่ ยเหลือแก่ประเทศสมาชก
- ให้ความชว ิ น้องใหม่ของอาเซยี น (CLMV) เพือ ่ ลดชอ่ งว่างของระด ับการ
พ ัฒนาของประเทศสมาชก ิ อาเซย
ี น และชว่ ยให้ประเทศสมาชก ิ เหล่านี้ เข้าร่วมในกระบวนการรวมต ัว
เศรษฐกิจของอาเซย ี น
่ เสริมความร่วมมือในนโยบายการเงินและเศรษฐกิจมหภาค
- สง
อุปสรรค
- ตลาดร่วมทีไ่ ม่สมบูรณ์ มีการเปิ ดเสรีการค้าและบริการเท่านน
ั้
่ งว่างระหว่างประเทศรวยและจน
- ชอ

3 ประชาคมสงคมและว ี น (ASEAN Socio – Cultural Community)
ัฒนธรรมอาเซย
- การพ ัฒนาทร ัพยากรมนุษย์
- การคุม ั
้ ครองและสว ัสดิการสงคม
- ความยง่ ั ยืนด้านสงิ่ แวดล้อม
ี น สง
- การสร้างอ ัตล ักษณ์อาเซย ่ เสริมความเป็นเอกภาพในความแตกต่าง
ิ ธิมนุษยชน สง
- สท ่ เสริมความยุตธ ิ ธิของประชาชน รวมทงส
ิ รรม และสท ่ เสริมโอกาสอย่างเท่าเทียม
ั้ ง
การจ ัดตงประชาคมส
ั้ ั
งคมและว ัฒนธรรมอาเซย ี นย ังคงมีปญ
ั หาในเรือ ิ ธิมนุษยชน
่ ง การละเมิดสท
ปัญหาการมีอ ัตล ักษณ์รว่ มก ัน ปัญหาสงิ่ แวดล้อม
ี น
ปัญหาและความท้าทายของอาเซย
- ปัญหาการพ ัฒนาการประชาธิปไตย
- ปัญหาด้านการเมืองความมน
่ ั คง ไม่วา
่ จะเป็นปัญหาความข ัดแย้งทางการเมือง กรณีพพ
ิ าทในเรือ
่ ง
พรมแดนระหว่างประเทศสมาชก ิ ความไม่ไว้วางใจซงึ่ ก ันและก ัน
- ปัญหาด้านเศรษฐกิจ ชอ ่ งว่างระหว่างประเทศรวยและประเทศจน ประเทศอาเซย
ี นย ังคงมองประเทศ
สมาชก ิ อืน
่ เป็นคูแ
่ ข่งทางเศรษฐกิจ
- การบูรณาการในเชงิ ลึก
- การบูณาการในเชงิ กว้าง
- ดุลยภาพแห่งอำนาจ
- ความแตกต่างในเรือ ื้ ชาติ
่ งระบบการเมือง เศรษฐกิจ ว ัฒนธรรม ศาสนา และเชอ
ี นย ังไม่มป
- โครงสร้าง กลไกต่างๆของอาเซย ิ ธิภาพและย ังไม่สมบูรณ์
ี ระสท

You might also like