วิชาเศรษฐศาสตร์ 1

You might also like

Download as pptx, pdf, or txt
Download as pptx, pdf, or txt
You are on page 1of 86

วิชาเศรษฐศาสตร์

ส 32102 ม.5
• มาตรฐานการเรียนรู ้
ส ๓.๑ ม.๔-๖/๑ อภิปรายการกำหนดราคาและค่าจ ้างใน
ระบบเศรษฐกิจ
ส ๓.๑ ม.๔-๖/๒ ตระหนักถึงความสำคัญของปรัชญาของ
เศรษฐกิจพอเพียงที่
่ เศรษฐกิจสงั คมของประเทศ
มีตอ
ส ๓.๑ ม.๔-๖/๓ ตระหนักถึงความสำคัญของระบบ
สหกรณ์ในการพัฒนา
เศรษฐกิจในระดับชุมชนและประเทศ
ส ๓.๑ ม.๔-๖/๔ วิเคราะห์ปัญหาทางเศรษฐกิจ ในชุมชน
และเสนอแนวทางแก ้ไข
ส ๓.๒ ม.๔-๖/๑.อธิบายบทบาทของรัฐบาลเกีย่ วกับ
นโยบายการเงิน การคลังในการพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศ
ส ๓.๒ ม.๔-๖/๒. วิเคราะห์ผลกระทบของการเปิ ดเสรีทาง
เศรษฐกิจในยุคโลกาภิวต
ั น์ทม ี ลต่อสงั คมไทย
ี่ ผ
ส ๓.๒ ม.๔-๖/๓. วิเคราะห์ผลดีผลเสย ี ของความร่วมมือ
ทางเศรษฐกิจระหว่างประเทศในรูปแบบต่าง ๆ
ระบบเศรษฐกิจกับการจัดสรร
ทรัพยากรในประเทศ
• - ทรัพยากรมีจำกัด
• - ความต ้องการของมนุษย์ไร ้ขีดจำกัด
องค์ประกอบหลักของระบบ
เศรษฐกิจ

หน่วย กิจกรรมทาง
เศรษฐกิจ เศรษฐกิจ
ระบบเศรษฐกิจ
• เป็ นวิธก
ี ารทีร่ ัฐบาลจะเลือกนำมาใชกั้ บประเทศ
เพือ่ ให ้เกิดการจัดสรรทรัพยากรทีม ่ ป
ี ระสทิ ธิภาพ
และเป็ นธรรม และเพือ ่ แก ้ไขปั ญหาพืน ้ ฐานทาง
เศรษฐกิจของประเทศ
ระบบเศรษฐกิจแบบทุนนิยม
• - พัฒนามาจกแนวคิดของบิดาเศรษฐศาสตร์ คือ
อด ัม สมิธ
– รัฐควรลดบทบาทให ้น ้อยทีส
่ ด

– ให ้เอกชนดำเนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจอย่างเสรี
• มือทีม
่ องไม่เห็น
• ลักษณะสำคัญ
– เอกชนเป็ นเจ ้าของปั จจัยการผลิตและทรัพย์สน ิ ต่าง ๆ
– เอกชนมีเสรีภาพอย่างเต็มทีใ่ นการประกอบการ
– กำไรเป็นเครือ ่ งจูงใจ ในระบบเศรษฐกิจแบบเสรี กำไรซงึ่ เป็ น
สว่ นของผลได ้ทีเ่ พิม่ ขึน้ มาจากการลงทุนเป็ นสงิ่ สำคัญในการ
จูงใจให ้หน่วยธุรกิจผู ้ผลิตทำการผลิต โดยมุง่ นำเทคนิคใหม่ๆ
ทีม ่ าชว่ ยลดต ้นทุนการผลิตมาใชในการดำเนิ
้ นการ เพือ ่ ทีจ
่ ะได ้
กำไรสูงสุด
– กลไกของราคา ระบบเศรษฐกิจแบบเสรีใชราคาเป็ ้ นตัวตัดสน ิ
ปั ญหาพืน ิ ใจว่าจะผลิตอะไร
้ ฐานด ้านการผลิต คือ ผู ้ผลิตตัดสน
เป็ นจำนวนเท่าใด โดยดูแนวโน ้มความต ้องการของผู ้จ่ายเงินซอ ื้
สน ิ ค ้าชนิดต่างๆ 
– บทบาทของรัฐ ระบบเศรษฐกิจแบบเสรี รัฐจะไม่มบ ี ทบาทในทาง
เศรษฐกิจเลย รัฐทำหน ้าทีเ่ พียงด ้านความยุตธิ รรมและป้ องกัน
ประเทศ โดยทีร่ ัฐบาลจะเป็ นฝ่ ายให ้บริการและอำนวยความสะดวก
แก่เอกชนหรือผู ้ผลิตสน ิ ค ้าและบริการ
ระบบเศรษฐกิจแบบสงั คมนิยม
ประชาธิปไตย
• ลักษณะสำคัญ
• -รัฐเข ้าไปควบคุมการดำเนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจ โดย
มีจดุ มุง่ หมายให ้เกิดความเป็ นธรรม
• รัฐเป็ นเจ ้าของปั จจัยการผลิต แต่ยงั คงให ้เอกชนมีสท
ิ ธิ
ในการถือครองทรัพย์สน ิ สว่ นตัว
• การวางแผนดำเนินกิจกรรมจากสว่ นกลาง
• ข ้อดี
– การกระจายรายได ้เป็ นธรรม
– เกิดเสถียรภาพทางเศรษฐกิจ เพราะการวางแผน
จากสว่ นกลางเป็ นหลักประกันว่าประชาชนมีงานทำ
– ขจัดปั ญหาการกอบโกยผลประโยชน์จากนายทุน
• ข ้อเสย

– ประชาชนขาดเสรีภาพในการทำธุรกิจ
– แรงจูงใจในการทำงานต่ำ
– ความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจชา้
– ผู ้บริโภคไม่มโี อกาสเลือกสน
ิ ค ้ามาก
– สนิ ค ้าอาจจะด ้อยคุณภาพ
ระบบเศรษฐกิจแบบสงั คมนิยม
คอมมิวนิสต์
• ลักษณะสำคัญ
• รัฐเป็ นผู ้ดูแลกำกับทัง้ เศรษฐกิจและการเมือง
อย่างสมบูรณ์
• รัฐเป็ นผู ้ตัดสน
ิ ใจในทางเศรษฐกิจและสงั คม
ทัง้ หมด
• เอกชนไม่มเี สรีภาพทีจ ี
่ ะประกอบอาชพ
• ข ้อดี
– เกิดความเสมอภาคทางเศรษฐกิจ
– ไม่เกิดการผูกขาดทางเศรษฐกิจ
– ไม่เกิดการได ้เปรียบ – เสย
ี เปรียบของประชาชน

ข ้อเสย
- ประชาชนขาดเสรีภาพ
- การดำเนินงานล่าชา้ เพราะผ่านขัน ้ ตอนมาก
- ขาดแรงจูงใจในการผลิต ทำให ้ไม่มป ิ ธิภาพใน
ี ระสท
การผลิตและเศรษฐกิจอาจจะโตชา้
ระบบเศรษฐกิจแบบผสม
• ระบบเศรษฐกิจแบบผสม หมายถึง ระบบเศรษฐกิจที่
รวมเอาลักษณะสำคัญของระบบเศรษฐกิจแบบ
ทุนนิยมและสงคมนิ ั ยมเข ้าไว ้ด ้วยกัน ระบบเศรษฐกิจ
แบบผสม หรือทีเ่ รียกกันโดยทัว่ ๆ ไปอีกอย่างหนึง่
ว่า ”ระบบเศรษฐกิจแบบ ทุนนิยมใหม่”
• ล ักษณะสำค ัญ
-  เอกชนและรัฐบาลมีส่วนร่ วมกันในการวางแผนเศรษฐกิจของประเทศว่าจะ
เป็ นการผลิตสิ นค้าและบริ การอะไร ปริ มาณมากน้อยเท่าใด และการกระจายสิ นค้า
และบริ การที่ผลิตได้ไปสู่ ใครอย่างไรบ้าง ทั้งนี้ต้ งั อยูบ่ นพื้นฐานของการร่ วมมือกันทั้ง
ภาคเอกชนและภาครัฐบาล
- เอกชนและร ัฐบาลสามารถจะเป็น
เจ้าของปัจจ ัยในการผลิตสน ิ ค้าและบริการ
อย่างเสรี แต่อาจมีการจำกัดสท ิ ธิเสรีภาพใน
การผลิตสน ิ ค ้าและบริการบางประเภททีร่ ัฐบาล
พิจารณาแล ้วเห็นว่าหากปล่อยให ้เอกชนดำเนิน
งานอาจไม่ปลอดภัยต่อความมั่นคงของชาติ
หรือเอกชนอยูใ่ นฐานะทีเ่ หมาะสมซงึ่ จะดำเนิน
งานได ้เพราะอาจจะขาดแคลนเงินทุน ขาดเจ ้า
หน ้าทีผ ่ ู ้เชยี่ วชาญ ฯลฯ กิจกรรมดังกล่าวนี้ เชน ่
กิจกรรมสาธารณูปโภค สาธารณูปการ การ
รักษาความปลอดภัย การป้ องกันประเทศ
เป็ นต ้น
- กลไกราคายังเป็ นสงิ่ ทีส ่ ำคัญในการกำหนด
– รัฐบาลทำหน ้าทีไ่ กล่เกลีย
่ ข ้อพิพาทระหว่าง
กลุม
่ เศรษฐกิจทีม
่ ผี ลประโยชน์ขด ั กัน
– รัฐจะคอยให ้ความคุ ้มครองและความชว่ ย
เหลือ ตลอดจนอำนวยความสะดวกแก่ผู ้
ประกอบการในภาคเอกชนด ้วยการสร ้างพืน ้
ฐานทางด ้านเศรษฐกิจ เชน ่ การสร ้างถนน
สะพาน สนามบิน ฯลฯ ไว ้คอยอำนวย
ประโยชน์ตอ่ เอกชนในการดำเนินธุรกิจ
– รัฐและเอกชนมีสว่ นร่วมในการวางแผน
เศรษฐกิจของประเทศ
• ข ้อดี
- เอกชนยังมีบทบาททางเศรษฐกิจ มีการ
แข่งขัน สน ิ ค ้าจึงมีคณ
ุ ภาพสูง
- รัฐบาลเข ้ามามีบทบาทให ้เกิดความเป็ น
ธรรมในเรือ ่ งของราคา และการกระจายรายได ้
- ผู ้บริโภคมีโอกาสเลือกสน ิ ค ้าได ้มากพอ
สมควร
ข ้อเสย ี
- ระบบเศรษฐกิจแบบผสมมีความยืดหยุน ่
และปรับบทบาททางเศรษฐกิจของรัฐบาลและ
เอกชนได ้ง่าย ทำให ้เกิดผลกระทบต่อการ
ลงทุนในเรือ ่ งความไม่แน่นอนในกรรมสท ิ ธิ์
ตลาดในระบบเศรษฐกิจ
• ตลาดในทางเศรษฐศาสตร์ จะหมายถึง “กิจกรรม”
การตกลงซื้อขายสินค้าและบริการ รวมทัง้ ปั จจัยการ
ผลิต ดังนัน้ ตลาดในความหมายนี ้ จะไม่ได้หมายถึงสถาน
ที่เท่านัน
้ แต่จะ หมายถึง การทํากิจกรรมการซื้อขาย
แลกเปลี่ยนสินค้ากัน โดยที่ผู้ซ้อ
ื และผู้ขายอาจไม่ได้พบ
กัน เลย แต่สามารถจะติดต่อกันได้ หรือมีการซื้อขายกัน
เกิดขึน้
ตลาดในทาง
เศรษฐศาสตร์
มีผู้ซ้อ

มีผู้
ขาย

มีความต้องการแลก
เปลี่ยนสินค้า-บริการ
ซึ่งกันและกัน
การจำแนกประเภทของตลาด
• 1.การจำแนกตลาดตามชนิดของผลผลิต
1.ตลาดปั จจัยการผลิต คือ ตลาดที่มีการซื้อขาย
ปั จจัยการผลิตต่าง ๆ เช่น ตลาดวัตถุดิบ ตลาด
แรงงาน
2.ตลาดสินค้า คือ ตลาดที่ทำการขายสินค้าหรือ
บริการซึ่งผู้ซ้อ
ื จะนำไปใช้ในการอุปโภคบริโภค
โดยตรง
•  3.ตลาดการเงิน (financial market) เป็ นแหล่งให้ผู้ผลิตซึ่งมีความ
ต้องการเงินลงทุนได้กู้ยืมเงินไปลงทุนตลาดการเงินยังแบ่งออกเป็ น 
            3.1 ตลาดเงิน (money market) เป็ นศูนย์กลางการกู้ยืมเงิน
ทุนระยะสัน ้ โดยมีระยะเวลาการชำระคืนไม่เกิน 1 ปี

•          3.2.ตลาดทุน (capital market) เป็ นศูนย์กลางการกู้ยืมเงิน


ทุนระยะยาว โดยมีระยะเวลาการชำระคืนเกิน 1 ปี เรายังสามารถ
แบ่งตลาดทุนออกเป็ นตลาดแรก (primary market) กับตลาด
รอง (secondary market) 
•  3.2.ตลาดทุน (capital market) เป็ นศูนย์กลางการกู้
ยืมเงินทุนระยะยาว โดยมีระยะเวลาการชำระคืนเกิน 1
ปี เรายังสามารถแบ่งตลาดทุนออกเป็ นตลาดแรก
(primary market) กับตลาดรอง (secondary
market) 
• ตลาดแรกเป็ นตลาดที่มีการซื้อขายหุ้นใหม่ (ออก
จำหน่ายเป็ นครัง้ แรก) ส่วนตลาดรองเป็ นตลาดที่มีการ
ซื้อขายหุ้นที่ผ่านการจำหน่ายมาแล้วครัง้ หนึ่ง
• 2.การจำแนกตลาดตามลักษณะการซื้อขาย
1.ตลาดกลาง ตลาดที่มีการซื้อขายสินค้าชนิดใดชนิด
หนึ่งโดยเฉพาะหรือหลายชนิด เป็ นที่รวมของผู้ขาย
จำนวนมาก มีกฎระเบียบเจรจาการซื้อขายที่ชัดเจน
2.ตลาดค ้าปลีก เป็ นตลาดทีม ่ ก ื้ ขายสน
ี ารซอ ิ ค ้า
อุปโภคและบริโภคนัน ้ โดยตรงซงึ่ รูปแบบธุรกิจการค ้า
ปลีกแบ่งเป็ น
- ธุรกิจค ้าปลีกแบบดัง้ เดิม ได ้แก่ ตลาดสด
ตลาดนัด

่ ห ้างสรรพ
- ธุรกิจค ้าปลีกแบบสมัยใหม่ เชน
ิ ค ้า
สน
ื้ ขายผ่านระบบอิเล็กทรอนิกส ์ E -
4.ตลาดซอ
Commerce
ประเภทของตลาดแบ่งตาม
ล ักษณะการแข่งข ัน 
•   แบ่งออกได้เป็ น 2 ประเภท คือ
        1.   ตลาดที่มีการแข่งขันอย่างสมบูรณ์ (perfect or
pure competition) ตลาดประเภทนีม ้ ีอยู่น้อยมากในโลก
แห่งความเป็ นจริง อาจกล่าวได้ว่าเป็ นตลาดในอุดมคติ
(ideal market) ของนักเศรษฐศาสตร์
- มีผู้ซ้อ
ื และผู้ขายจำนวนมาก (many buyers and
sellers) แต่ละรายมีการซื้อขายเป็ นส่วนน้อยเมื่อเปรียบ
เทียบกับจำนวนผู้ซ้อ ื และผู้ขายทัง้ หมด
ในตลาด การซื้อขายสินค้าของผู้ซ้อ ื หรือผู้ขายแต่ละรายไม่มี
อิทธิพลต่อการกำหนดราคาในตลาด
– - สินค้าที่ซ้อ
ื หรือขายจะต้องมีลักษณะเหมือนกัน
(homogeneity) สามารถที่จะใช้แทนกันได้อย่าง
สมบูรณ์
–  ผู้ซ้อ
ื และผู้ขายจะต้องมีความรอบรู้ในภาวะของตลาด
อย่างสมบูรณ์ คือ มีความรู้ภาวะของอุปสงค์ อุปทาน
และราคาสินค้าในตลาด สินค้าชนิดใดมีอุปสงค์เป็ น
อย่างไร มีอุปทานเป็ นอย่างไร ราคาสูงหรือต่ำก็
สามารถจะทราบได้
– - หน่วยธุรกิจสามารถเข้าหรือออกจากธุรกิจการค้า
โดยเสรี ตลาดประเภทนีจ ้ ะต้องไม่มีข้อจำกัดหรือข้อ
กีดขวางในการเข้ามาประกอบธุรกิจของนัก
• 2)ตลาดแข่งขันไม่สมบูรณ์ (non-
perfectcompetition market)
สาเหตุที่ทำให้ตลาดแข่งขันไม่สมบูรณ์
- เกิดการกีดกันผู้ผลิตรายใหม่ กิจการบางอย่างใช้เงิน
ลงทุนสูง การผูกขาดทางธุรกิจ การพยายามครอบ
ครองตลาดของธุรกิจประเภทนัน ้
- ความพยายามชิงส่วนแบ่งการตลาด ทำให้ผู้ผลิต
แต่ละรายต้องกำหนดกลยุทธ์ทางการตลาดต่าง ๆ
เพื่อสร้างความแตกต่างและดึงดูดให้ผู้บริโภคหันมา
ซื้อสินค้า
- กิจการบางอย่างรัฐเป็ นเจ้าของ เช่น
สาธารณูปโภค
1. ตลาดผูกขาด (monopoly)
• - ตลาดที่มีผู้ขายอยู่เพียงคนเดียว
• - ผู้ขายมีอิทธิพลเหนือราคาและปริมาณสินค้า
อย่างสมบูรณ์ในการที่จะเพิ่มหรือลดราคา
• - ผู้ขายเป็ นคนกำหนดราคา เนื่องจากไม่มีคู่แข่ง
ทางการค้า
• - ไม่มีสินค้าใดทดแทนได้
• - สามารถยับยัง้ ไม่ให้ผู้ขายรายใหม่เข้ามาแข่งขัน
ได้ เช่น ใบอนุญาต
• เช่น ไฟฟ้ า ประปา ถนน รถไฟฟ้ า
• สาเหตุของการผูกขาด
– การผูกขาดแหล่งวัตถุดิบ
– การผูกขาดโดยธรรมชาติ ธุรกิจขนาดใหญ่ใช้เงิน
ลงทุนสูง การผลิตด้วยเทคโนโลยีที่ทันสมัย วัตถุดิบ
ราคาถูกจนมีผลผลิตมากขายได้ราคาต่ำกว่ารายอื่น
– การผูกขาดด้วยทรัพย์สินทางปั ญญา เช่น ลิขสิทธิ ์
กฎหมาย
– การผูกขาดเพราะการได้รับอนุญาตโดยกฎหมายและ
รัฐบาลให้ผลิตเพียงรายเดียว
• ข้อดี
– ผู้ผลิตและผู้ขายสามารถกำหนดราคาและปริมาณ
สินค้าได้ ทำให้ได้กำไรสูงสุด และสามารถบริหาร
จัดการต้นทุนการผลิตให้ต่ำ
ข้อเสีย
- ผู้บริโภคขาดอำนาจการต่อรองในตลาด เนื่องจาก
ต้องซื้อสินค้าจากผู้ขายเพียงรายเดียวที่ไม่สามารถหา
สินค้ามาทดแทนได้
- เกิดความชะลอการพัฒนาทางเศรษฐกิจได้ เพราะ
ไม่มีการแข่งขัน
ตลาดผู ้ขายน ้อยราย
• ลักษณะสำคัญ
– ตลาดที่มีผู้ขายมากกว่า 1 ราย แต่ไม่มาก
– สินค้าแตกต่างกันแต่ไม่มาก
– ผู้ขายแต่ละรายจะขายสินค้าจำนวนมาก
– เช่น ปั ้ มน้ำมัน สัญญาณโทรศัพท์
• สาเหตุทท
ี่ ำให ้เกิดตลาดผู ้ขายน ้อยราย
– การประหยัดอันเกิดจากการผลิตปริมาณมาก ๆ และ

ใชเทคโนโลยี ระดับสูง
– ผู ้ผลิตรายใหม่เข ้าไปแข่งขันยาก เนือ ่ งจากรายเก่า
ใชวิ้ ธก
ี ารกีดกัน
– การควบรวมกิจการ คือ บริษัทสองบริษัทมารวมกัน
เป็ นบริษัทเดียว
ข ้อดี
- ผู ้บริโภคยังพอมีอำนาจในการตัดสน ิ ใจเลือกซอ
ื้
สนิ ค ้าตามความพอใจสูงสุดได ้บ ้าง
- ผู ้ผลิตยังสามารถกำหนดราคา หรือเป็ นผู ้นำทาง
ราคาเพือ ่ ให ้ตนได ้รับกำไรสูงสุด
• ข ้อเสย

– การแข่งขันยังต่ำ เพราะมีการกีดกันรายใหม่
– การควบรวมกิจการของผู ้ขายน ้อยรายนำไปสูก ่ าร
ผูกขาดอย่างสมบูรณ์
ตลาดกึง่ แข่งขันกึง่ ผูกขาด
• ลักษณะสำคัญ
– เป็ นตลาดที่มีจำนวนผู้ซ้อ
ื ผู้ขายจำนวนมาก
– สินค้าคล้ายคลึงกันแต่ไม่เหมือนกัน มีการสร้าง
ความแตกต่างให้กับสินค้าด้วยกลยุทธ์
– เป็ นตลาดที่พร้อมการต่อสู้สูง หมายถึง ผู้ผลิตราย
ใหม่ที่มีศักยภาพคอยแสวงหาโอกาสเข้ามาแข่งขัน
• กึ่งแข่งขัน เนื่องจากการเข้าออกอุตสาหกรรมใน
ตลาดประเภทนีไ้ ด้อย่างเสรี แม้มีความพยายาม
กีดกันของผู้ผลิตรายเก่า แต่การลงทุนไม่สูงมาก
จนเกินไป และเปิ ดโอกาสพัฒนาสร้างความแตก
ต่างให้กับสินค้าและบริการ
• กึ่งผูกขาด เนื่องจากผู้ขายแต่ละรายมีอำนาจใน
การผูกขาดสินค้าของตนในระดับหนึ่ง หาก
สามารถทำให้สินค้าของตนติดตลาด นั่นคือ
สามารถครองส่วนแบ่งการตลาดได้เป็ นอันดับ
หนึ่ง
• ข้อดี
– เกิดการแข่งขันสูง ทำให้เกิดความได้เปรียบของผู้
บริโภค โดยผู้บริโภคมีอำนาจในการต่อรองและ
อำนาจในการเลือก
– เกิดการพัฒนาผลิตภัณฑ์ใหม่ ๆ ที่สร้างสรรค์ขนึ ้ เป็ น
จำนวนมาก
ข้อเสีย
- ผู้ผลิตอาจจะต้องลงทุนในระยะแรก การทุ่มงบ
ประชาสัมพันธ์ การลดแรกแจกแถม เพื่อสินค้าเป็ น
ที่ร้จ
ู ัก
- การแข่งขันสูง ผู้ผลิตต้องมีคุณธรรมต่อการผลิตไม่เอา
เปรียบผู้บริโภคด้วยการลดปริมาณวัตถุดิบหรือ
คุณภาพของสินค้าลง
การกำหนดราคาในระบบเศรษฐกิจ
– ทรัพยากร มีจำกัดเมือ ่ เทียบกับความต ้องการของ
มนุษย์ ดังนัน ้ ทรัพยากรจึงมี “ มูลค่า “
– มูลค่าทีม ้
่ นุษย์ใชประโยชน์ จากทรัพยากรตีคา่ ออก
มาในรูปแบบราคา
– การซอ ื้ ขายแลกเปลีย ่ นกันก็ถก ู มนุษย์วด
ั มูลค่าการ
ซอ ื้ ขายออกมาในรูปแบบของ “ราคา”
– สนิ ค ้าและบริการต่าง ๆ ทีม ่ นุษย์บริโภคต ้องใช ้
ทรัพยากรการผลิตทีล ่ ้วนมีมล
ู ค่า ทำให ้สน ิ ค ้าต ้องมี
ราคา เพือ ่ ชดเชยต ้นทุนทีเ่ สย ี ไปในการผลิตและเพือ ่
สร ้างเงินให ้ออกมาในรูปแบบของกำไร
การกำหนดราคาโดยเอกชนด้วยการปล่อย
ให้เป็นไปตามกลไกราคา
• กลไกราคา = การปล่อยให้ราคาขึน
้ - ลงไปตามแรงผลักของอุปสงค์
และอุปทานในตลาด
อุปส
งค์
อุปสงค์ทาง = ความ ความเต็มใจที่
เศรษฐศาสตร์ ต้องการ จะซื้อ

ความสามารถ
ที่จะซื้อ
• อุปสงค์ (demand) หมายถึง ปริมาณความต้องการซื้อ
สินค้าหรือบริการชนิดใดชนิดหนึ่งที่ผู้บริโภคมีความ
เต็มใจที่จะซื้อ และสามารถซื้อหามาได้ในขณะใดขณะ
หนึ่ง ณ ระดับราคาต่างๆที่ตลาดกำหนดมาให้
• ปั จจัยที่กำหนดอุปสงค์
• -  ราคาสินค้าที่ต้องการซื้อ
• - รสนิยมของผู้บริโภค 
• - จำนวนของประชากร 
• - ฤดูกาล
• - วัฒธรรม ประเพณี
• - เทศกาล
• - การคาดคะเนราคาในอนาคตของผู้บริโภค 
• กฎของอุปสงค์ กล่าวว่า "ปริมาณสินค้าที่ผู้
บริโภคต้องการซื้อในขณะใดขณะหนึ่งจะมีความ
สัม พันธ์ในทางตรงกันปริ
ราคา  (บาท) 
ข้ามมกั บราคาสินค้าชนิด
าณอุปสงค์
นัน
้ “
(กิโลกรัม) 
10 60
20 50
30 40
40 30
50 20
อุปสงค์กบ
ั รายได ้ของผู ้บริโภค

สินค้าปกติ สินค้าด้อย
เป็ นสนิ ค ้าทีม ่ ป
ี ริมาณเสนอ เป็ นสนิ ค ้าทีม่ ป ี ริมาณเสนอ
ซอื้ มาก หากผู ้บริโภคมี ซอื้ มาก หากผู ้บริโภคมีราย
รายได ้สูงขึน ้ ได ้ลดลง เรียกสน ิ ค ้าด ้อย
รายได ้ผู ้บริโภคเพิม ่ ขึน
้ รายได ้ผู ้บริโภคเพิม ่ ขึน

อุปสงค์เพิม ่ ขึน ้ อุปสงค์ลดลง
รายได ้ผู ้บริโภคลดลง รายได ้ผู ้บริโภคลดลง
อุปสงค์ลดลง อุปสงค์เพิม ่ ขึน ้
เชน ่ สน ิ ค ้าทัว่ ไป เชน ่ บะหมีก ่ งึ่ สำเร็จรูป
อุปสงค์กับราคาสินค้าชนิดอื่นที่เกี่ยวข้อง

กรณีสินค้าทดแทนกันได้ กรณีสินค้าใช้ประกอบกันได้
เมือ
่ ไข่ไก่ราคาสูง โทรศพั ท์เคลือ
่ นทีร่ าคาสูง
อุปสงค์ไข่เป็ ดสูง อุปสงค์ตอ
่ แบตเตอรีต ่ ่ำ
เมือ่ ไข่ไก่ราคาสูง ปริมาณ โทรศพ ั ท์เคลือ
่ นราคาสูง
ซอื้ ไข่ไก่ลดลง ปริมาณเสนอซอ ื้ โทรศพ
ั ท์
เคลือ
่ นทีล
่ ดลง

เมือ
่ ไข่เป็ ดทดแทนไข่ไก่ได ้ ้
แบตเตอรีใ่ ชประกอบกั บ
ราคาไข่เป็ ดไม่สงู เท่าไข่ไก่ โทรศพ ั ท์เคลือ ่ นที่ เมือ่
ปริมาณเสนอซอ ื้ ไข่เป็ ดจึง ปริมาณเสนอซอ ื้ โทรศพั ท์
สูงขึน
้ เคลือ
่ นทีล ่ ดลง ปริมาณ
เสนอซอ ื้ แบตเตอรีต ่ ้องลดลง
ตาม
อุปทาน (Supply)

• อุปทาน (Supply) หมายถึง ปริมาณสินค้าและบริการชนิดใดชนิดหนึ่งที่ผู้
ผลิตเต็มใจนำออกเสนอขายในตลาดภายในระยะเวลาหนึ่ง ณ ระดับราคา
ต่างๆ กันของสินค้าและบริการนัน

• ปั จจัยที่กำหนดอุปทาน
– ราคาที่ต้องการขาย
– ต้นทุนการผลิต
– การคาดคะเนเหตุการณ์ในอนาคต
– สภาพแวดล้อม ดินฟ้ า อากาศ
– เทคโนโลยีการผลิต
– จำนวนของผู้ขาย
กฎของอุปทาน กล่าวว่า “ปริมาณสินค้าที่ผู้ผลิตเต็มใจจะนำออก
ขายในระยะเวลาหนึ่งขึน
้ อยู่กับราคาสินค้านัน
้ ๆ ในทิศทางเดียวกัน” 

ราคา  (บาท)  ปริมาณทาน


(กิโลกรัม) 
10 10
12 20
14 30
16 40
18 50
ราคาดุลยภาพ

ราคาดุลยภาพ คือ ราคาที่ทำให้ปริมาณสินค้าและ


บริการที่ต้องการซื้อในระยะเวลาใดเวลาหนึ่งเท่ากับ
ปริมาณที่ต้องการขาย
ปริมาณดุลยภาพ คือ ปริมาณสินค้า ณ ระดับ
ราคาดุลยภาพ
ภาวะทีไ่ ม่สมดุล
การกำหนดราคาเชงิ กลยุทธ์ โดย
เอกชน
• 1.เป้ าหมายการกำหนด
ราคาเชิงกลยุทธ์
ขายสินค้าให้ได้มากที่สุด
กำไรมาก
ผู้ขาย ราคา ให้สินค้าเป็ นที่ “ติด
ตลาด”
ช่วงชิงส่วนแบ่งการ
ตลาด
ชิงส่วนแบ่งการตลาดได้มากที่สสุด
ผู้บริโภคเกิดความไว้วางใจ เชื่อมั่น
ในยี่ห้อนัน
้ มากที่สุด
• 2.ปั จจัยที่กำหนดราคาเชิงกลยุทธ์
1.ต้นทุนการผลิต
2.ภาวะตลาดของสินค้าที่จะขาย
- ราคาในตลาด ราคาสินค้าเฉลี่ย
- การแข่งขัน หากมีการแข่งขันสูง ผู้ขาย
ต้องหาวิธีการลดต้นทุนการผลิต เพื่อให้สามารถทำให้
ราคาสินค้าไม่สูงกว่ารายอื่น ๆ
• 3.กลยุทธ์
ราคา
การลด เพือ
่ เพิม
่ กำไรลด
ราคา ยอดขาย ลง

ผูข
้ ายรายอืน
่ ลด สงคราม
ราคาตาม ราคา

กลยุทธ์
ราคา
กลยุทธ์ราคา
• 1.กลยุทธ์
ราคาเลขคี่
• 2.กลยุทธ์สร ้าง
ระดับราคา
• 3.กลยุทธ์การตัง้ ราคาแบบขาดทุน
• 4.กลยุทธ์ตงั ้ ราคาตามกลุม
่ ผู ้บริโภค
• 5.กลยุทธ์ตงั ้ ราคาตามชว่ งเวลา
• 6.กลยุทธ์ตงั ้ ราคาตามทำเลทีต
่ งั ้
• 7.กลยุทธ์ตงั ้ ราคาชุดผลิตภัณฑ์
• 8.กลยุทธ์ทุ่มตลาด

- ตัง้ ราคาต่ำกว่าทุน หรือต่ำกว่าผู้ขายรายอื่น


- ยอมขาดทุนในระยะแรก
- เมื่อผู้ขายรายอื่นทนสภาวการณ์ขาดทุนไม่
ไหวจนเลิกกิจการ
- ผู้ขายได้ครองตลาดและปรับราคาให้สูงขึน ้
• 9.กลยุทธ์การเจาะ
ตลาด
การแทรกแซงด ้วยการกำหนดราคาขัน
้ สูง

• สาเหตุ
– ราคาดุลยภาพสูงเกินไปจนทำให ้ผู ้บริโภคเดือดร ้อน
– รัฐแทรกแซงด ้วยการกำหนดราคาขัน ้ สูงโดยเป็ น
ราคาต่ำกว่าดุลยภาพ
• ผลกระทบทีส
่ ำคัญจากการกำหนดราคาขัน
้ สูง
1.เกิดภาวะอุปสงค์สว่ นเกิน สน ิ ค ้าขาดตลาด ผู ้
บริโภคเดือดร ้อน
2.เกิดภาวะตลาดมืด เกิดการลักลอบขายสน ิ ค ้าใน
ราคาสูงกว่าราคาขัน
้ สูงทีร่ ัฐบาลกำหนด
การแทรกแซงด ้วยการกำหนดราคา
ขัน้ ต่ำ
• สาเหตุ
– ราคาดุลยภาพต่ำเกินไปจนทำให ้ผู ้ผลิตเดือนร ้อน
เนือ
่ งจากผลผลิตมีมากเกินความต ้องการ ทำให ้
ราคาตกต่ำ
• ผลกระทบทีส
่ ำคัญจากการกำหนดราคาขัน
้ ต่ำ
1.เกิดภาวะอุปทานสว่ นเกิน สง่ ผลให ้สน ิ ค ้าทีผ
่ ลิต
ออกมาล ้นตลาด รัฐจึงต ้องรับซอ ื้ ผลผลิตสว่ นเกิน
ทัง้ หมดในราคาประกัน เรียกว่า การพยุงราคา
2.ร ัฐบาลอาจต้องใชม ้ าตรการให้เงินอุดหนุน รัฐ
จะปล่อยให ้ผู ้ผลิตขายสน ิ ค ้าทีผ
่ ลิตในราคาทีจ ่ ะทำให ้
สนิ ค ้าขายได ้ทัง้ หมด แต่รัฐจะจ่ายเงินชดเชยให ้กับผู ้
ผลิตทีข ่ ายไปเท่ากับสว่ นต่างของราคาทีข ่ ายไปกับ
ราคาทีร่ ัฐประกันไว ้
ตลาดล ้ม รัฐบาลแทรกแซง รัฐบาลล ้ม
เหลว กลไกราคา เหลว

ราคาดุลยภาพทำให ้ผู ้บริโภค การกำหนดราคาขัน


้ สูง
เกิดภาวะอุปสงค์สว่ นเกิน
เดือดร ้อน เกิดตลาดมืด
ราคาดุลยภาพทำให ้ผู ้ผลิต การกำหนดราคาขัน้ ต่ำ
เกิดภาวะอุปทานสว่ นเกิน
เดือดร ้อน โดยเฉพาะสนิ ค ้าเกษตร รัฐรับภาระด ้าน
งบประมาณ
การกำหนดค่าจ ้าง อัตราค่าจ ้างแรงงานใน
สงั คมไทย
• ตลาดแรงงาน
– ตลาดแรงงานเป็ นปั จจัยการผลิตหนึง่ ทีส
่ ำคัญ
– แรงงานถือเป็ นเฟื องจักรทีส
่ ำคัญในการขับเคลือ
่ น
เศรษฐกิจ
ตลาดแรงงาน

อุปสงค์แรงงาน อุปทานแรงงาน
ความต ้องการ “จ ้าง ” ค่าจ ้าง ความต ้องการ “เสนอ ”
แรงงาน เป็ นแรงงาน
นั่น คือ ฝ่ ายนายจ ้าง นั่น คือ ฝ่ ายลูกจ ้าง

ค่าจ ้างดุลยภาพ
ค่าจ ้างทีฝ่ ่ ายนายจ ้างและ
ลูกจ ้างพอใจ
การแทรกแซงกลไกตลาดในตลาด
แรงงาน
• 1.การแทรกแซงด้วยการกำหนดอ ัตราค่า
จ้างขนต่ำ
ั้
อ ัตราค่าจ้างขนต่ำ
ั้ คือ รัฐกำหนดค่าจ ้างใหม่ทส ี่ งู
กว่าค่าจ ้างดุลยภาพเดิมซงึ่ ผู ้ผลิตจะว่าจ ้างแรงงานโดย
ให ้อัตราค่าจ ้างต่ำกว่าอัตราค่าจ ้างขัน
้ ต่ำนีไ
้ ม่ได ้
• 2.การแทรกแซงจากสหภาพแรงงาน
สหภาพแรงงาน คือ สมาคมซงึ่ ลูกจ ้างคนงานทีม ่ ี
ระดับต่ำกว่าระดับบริหารร่วมกันจัดตัง้ ขึน ้ เพือ
่ แสวงหา
และคุ ้มครองผลประโยชน์ทเี่ กีย ่ วข ้องกับสภาพการจ ้าง
งาน
- สหภาพแรงงานสามารถต่อรองกับนายจ ้าง เชน ่
เรียกร ้องให ้มีการขึน
้ ค่าจ ้าง
การกำหนดค่าจ ้างในสงั คมไทย
• ค่าจ ้าง คือ เงินทีน่ ายจ ้างและลูกจ ้างตกลงกันโดยจ่ายเป็ น
ค่าตอบแทนในการทำงานตามปกติสญ ั ญาจ ้างสำหรับระยะ
เวลาทำงานปกติเป็ นรายชวั่ โมง รายวัน รายสป ั ดาห์ ราย
เดือน หรือระยะเวลาอืน ่
• ค่าจ ้างขัน
้ ต่ำ คือ อัตราค่าจ ้างทีน
่ ายจ ้างต ้องจ่ายให ้ลูกจ ้าง
เป็ นแรงงานไร ้ฝี มือเมือ
่ แรกเข ้าทำงาน เพือ ่ ให ้มีรายได ้เพียง
พอต่อการเลีย ้ งดูตนเองและครอบครัว
• พิจารณาจาก
– แรงงานมีรายได ้เพียงพอในการเลีย
้ งดูตนเองหรือครอบครัวหรือไม่
– ภาวะค่าครองชพ ี
– อัตราเงินเฟ้ อ
• อัตราค่าจ ้างรายชวั่ โมง
– อัตราค่าจ ้างขัน้ ต่ำสำหรับนักเรียน นิสต
ิ และ
นักศก ึ ษา ชวั่ โมงละ 40 บาท
– จ ้างนอกเวลาในชว่ งเปิ ดภาคเรียนไม่เกินวันละ 4
ชวั่ โมง
– วันหยุดเรียน วันหยุดสป ั ดาห์และวันหยุดนักขัตฤกษ์
ไม่เกินวันละ 6 ชวั่ โมง
– ในชว่ งวันปิ ดภาคเรียนไม่เกินวันละ 7 ชวั่ โมง
– สปั ดาห์ไม่เกิน 36 ชวั่ โมง
– ทำงานติดต่อมาแล ้วไม่เกิน 4 ชวั่ โมง ต ้องให ้มีเวลา
พักไม่น ้อยกว่า 1 ชวั่ โมง
ปั ญหาและผลกระทบจากการกำหนดอัตราค่าจ ้าง
ในสงั คมไทย
• 1.ความสมดุลระหว่างค่าจ ้างขัน ้ ต่ำกับอัตราเงินเฟ้ อ
• 2.ความเป็ นตัวแทนทีแ ่ ท ้จริงของลูกจ ้าง
• 3.นายจ ้างหลีกเลีย ่ งการจ่ายค่าจ ้างขัน ้ ต่ำให ้แก่ลก
ู จ ้าง
• 4.อัตราค่าจ ้างขัน
้ ต่ำเป็ นอัตราเดียวกันอาจจะเกิดความ
ไม่เป็ นธรรมแก่แรงงานบางกลุม ่
ผลกระทบจากการกำหนดอัตราค่าจ ้างขัน
้ ต่ำ

You might also like