1605130553006

You might also like

Download as pptx, pdf, or txt
Download as pptx, pdf, or txt
You are on page 1of 43

ดาราศาสตร์ และอวกาศ

บทที่ 2 ดาวฤกษ์
2.1 ความสอ ่ งสว่างและโชติมาตรของดาวฤกษ์
2.2 ระยะห่างของดาวฤกษ์
2.3 ส ี อุณหภูมผิ วิ และสเปกตรัมของดาวฤกษ์
2.4 วิวฒั นาการของดาวฤกษ์

จุดประสงค์การเรียนรู ้

อธิบายธรรมชาติของดาวฤกษ์
ื ค ้น อภิปราย กำเนิดและวิวฒ
สบ ั นาการของดาวฤกษ์ p1
คำถามก่อนเรียน บทที่ 2
ดาวฤกษ์
วฤกษ์ แต่ละดวงมีความเหมือนและความแตกต่างกันในเรือ ่ งใดบ ้าง
นบิวลาคืออะไร และเกีย ่ วข ้องกันกับดาวฤกษ์ อย่างไร
.ธาตุตา่ ง ๆ ในโลกและในตัวเราเกิดจากทีใ่ ด
วฤกษ์ ทอ ี่ ยูใ่ นกลุม
่ ดาวฤกษ์ เดียวกัน อยูห ่ า่ งจากโลกเท่ากันหรือไม่
ความสอ ่ งสว่างปรากฏของดาวฤกษ์ ขน ึ้ อยูก ่ บ
ั ปั จจัยใดบ ้าง
มวลของดาวฤกษ์ สม ั พันธ์กบั ความสอ ่ งสว่างอย่างไร
ดาวฤกษ์ ทก ุ ดวงมีววิ ฒั นาการเหมือนกันหรือไม่ อย่างไร
.หลุมดำคืออะไร ต่างจากดาวนิวตรอนอย่างไร

p2
ดาวฤกษ์ (star)

ภาพถ่ายท ้องฟ้ ากลางคืนบนดอยอินทนนท์


p3
ดาวฤกษ์ (star)
ดาวฤกษ์ เป็นก้อนสสารขนาดใหญ่ มหึมาซงึ่ มีองค์ประกอบ
เกือบทงหมดคื
ั้ อ H รองลงมาคือ He ดาวฤกษ์ทก ุ ดวงมีธรรมชาติ
ทีเ่ หมือนก ัน 2 ประการคือสร้างพล ังงานได้ดว้ ยต ัวเอง และมี
วิว ัฒนาการ ทีเ่ รามองเห็นด้วยตาเปล่าเป็นรูปกลุม ่ ดาวอยูห
่ า่ ง
จากโลกประมาณ 4 - 1500 ปี แสง  น ักดาราศาสตร์ทำการศก ึ ษา
ดาวฤกษ์ได้โดยการวิเคราะห์คลืน ่ แม่เหล็ก ไฟฟ้าทีด ่ าวแผ่ออก
มา2.1 เพือ
่ ให้ ได้ทราบสมบ
ความส ่ งสว่ัติาทีงและโชติ
อ ต ้ าตรของดาวฤกษ์
่ า่ งก ันด ังนีม

2.2 ระยะห่างของดาวฤกษ์
2.3 ส ี อุณหภูมผ
ิ วิ และสเปกตร ัมของดาวฤกษ์
2.4 วิว ัฒนาการของดาวฤกษ์

p4
่ งสว่างและโชติ
2.1 ความสอ
มาตรของดาวฤกษ์
เขียนรายงานการทดลอง
ชอ ื่ กลุม ่ ................................
สมาชก ิ ......................................เ
ลขที.่ ...........
วันทีท ่ ำการ
ทดลอง.............................
จุด
ประสงค์......................................
....
อุปกรณ์การ
คำถามจากการทดลอง
ทดลอง......................
วิธท
1) ปั จจัยความสว่ ี ดลอง เขียนเป็ยนนจากการสงั เกต
างของเที
ขึน แผนภาพ.......
้ อยู ก
่ บ ั อะไรบ ้าง
2) ผลการทดลองของนั
ผลการ กเรียน เป็ นความสว่าง
ความสอ ่ทดลอง................................
งสว่างปรากฏ หรือ ความสอ ่ งสว่างส
สรุปและอภิปรายผลการ
ทดลอง.......
p5
โชติมาตรของดาวฤกษ์
(apparent magnitude)
ความสอ ่ งสว่างสมบู ั รณ์ ่ งสว่างปรากฏ
ความสอ
(absolute brightness) (apparent brightness)
หมายถึง ความสอ ่ งสว่างของ หมายถึง ความสอ ่ งสว่างของ
แหล่งกำเนิดแสง แหล่งกำเนิดแสงทีม ่ รี ะห่างจากผู ้
ทีม ่ รี ะห่างจากผู ้สงั เกตเท่ากัน สงั เกตไม่เท่ากันจึงมีปัจจัย
ความสอ ่ งสว่าง กำหนดความสว่างถึง 3 ปั จจัยคือ
ทีไ่ ด ้จะมีคา่ เป็ นวัตต์ ต่อตาราง 1) พลังงานแสงทีแ ่ หล่งกำ
เมตร เนินสร ้างขึน ้
การส 2)ระยะห่
งั เกตความส างจากผู
่ งสว่
อ ้สงั าเกตถึ ง
งดาวจาก
ถ ้าเราจะวัดความสอ ่ งสว่างของ แหล่
โลกจึงงกำเนิ
ได ้ขด้อมูล
ดาวจริงจะต ้องเลือ่ นดาวแต่ละ 3) ตำแหน่
เป็ นความส งในการซ
่ งสว่
อ างปรากฏเพื ้
อนทั บอ
่ กัให
น ้
ดวงให ้ห่างเท่า กันคือ 10 ง่ายต่อการนำไปใชนั้ กดาราศาสตร์
พาร์เซก และวัดค่าความสอ ่ ง โบราณจึงกำหนด ระดับวัดความสอ ่ ง
สว่างของดาวดวงนัน ้ ว่าใน 1 สว่างปรากฏออกมาเรียกว่า โชติp6
วินาทีมคี วามสอ่ งสว่างกีว่ ตั ต์ มาตร (apparent magnitude)
โชติมาตรของดาวฤกษ์
(apparent magnitude)
ิ ปาค ัส (Hipparchus) ดาวฤกษ์ทสี่ ว่างทีส่ ด
ฮป ุ บนท้องฟ้ามีโชติ
มาตร 1
ดาวทีส
่ ว่างเป็นครึง่ หนึง่ ของอ ันด ับแรก
เป็นโชติมาตร 2 
ไล่ลงมาเชน ่ นีจ
้ นถึงโชติมาตร 6 ซงึ่ เป็น
ดาวทีส่ ว่างน้อยทีส่ ด
ุ ทีส
่ ามารถมองเห็น
ได้
 ต่อมาในคริสตศตวรรษที่ 19 นักดาราศาสตร์
กำหนดให ้ ดาวโชติมาตร 1 สว่างเป็ น 100 เท่า ของ
เป็ นนักดาราศาสตร์ นัก
ดาวโชติมาตร 6  ดังนัน ้ ความสว่างของแต่ละโชติ
ภูมศ
ิ าสตร์ และนัก
มาตรจะแตกต่างกัน 2.512 เท่า เนือ ่ งจาก (2.512)5 เ
คณิตศาสตร์ชาวกรีกใน
ท่ากับ 100 ดังตารางที่ 1  ทัง้ นีส
้ ามารถคำนวณความ
ยุค Hellenistic ก่อน
แตกต่างระหว่างโชติมาตร โดยใชสู้ ตรเปรียบเทียบ
คริสตกาล
ความสอ ่ งสว่างดังนี ้
http://www.lesa.biz/astronomy/star-properties/magnitude
p7
โชติมาตรของดาวฤกษ์
= 2.512 (m2-m1)
(apparent magnitude)
สว่าง หรีดาว
่ A มีโชติมาตร = 5
B A
ดาว B มีโชติมาตร = 3
ผลต่างโชติมาตร
A-B=2
ด ังนนดาว
ั้ B
สว่างกว่า A 2
2.512 =6.31

p8
ตัวอย่างการคำนวณ
โชติมาตร 5 ดาว B มีโชติมาตร 3 ดาวใดสว่างกว่ากันและสว่างกว่าก

วิธท
ี ำ ดาว A มีโชติมาตร 5 (m1)
ดาว B มีโชติมาตร 3 (m2)
ดันนัน
้ ดาว B สว่างกว่า A และสว่างกว่าเท่ากับ
= 2.512 (m2-m1)
= 2.512 l(5-3)l
= 2.512 2
= 6.31 เท่า Ans
คำถาม (จงแสดงวิธท
ี ำ)
กำหนดให้ในระบบมีดาวฤกษ์ A,B, และ มีโชติมาตร
เท่าก ับ 4, -1 ใครสว่างกว่าก ันและสว่างกว่าก ันเท่าไร

ดให้ในระบบมีดาวฤกษ์ 3 ดวง คือ A,B, และ C มีโชติมาตร


บ 3, 1 และ -2
ดาวฤกษ์ทส ี่ ว่างทีส
่ ด
ุ มีความสว่างต่างจากดาวทีห
่ รีท
่ ส
ี่ ด
ุ เท่าไร
ดาว B ก ับ C ใครสว่างกว่าก ันและสว่างกว่าก ันเท่าไร
ดาว A และดาว B สว่างกว่าก ันเท่าใด

หนดให้ในระบบมีดาวฤกษ์ซรี อ ี ัส มีโชติมาตร -1.5


ดาวพฤห ัสบดีมโี ชติมาตร -2.5 ใครสว่างกว่าก ันและสว่างกว่า
จากการกำหนดโชติมาตรของดาวฤกษ์ (apparent magnitude) ดวงอาทิตย์
เป็ นดาวฤกษ์ทส่ี ว่างทีส่ ดุ เมือ่ สังเกตจากโลกจึงมีคา่ โชติมาตร -26.7

ปีแสง (light year หรือ Ly.) คือ ระยะทางทีแ่ สงเดินทางในเวลา


1 ปี อัตราเร็วของแสงมีคา่ 33108 เมตร/วินาที ดังนัน้ ระยะทาง
1 ปีแสงจึงมีคา่ ประมาณ 931012 ล้านกิโลเมตร

ดวงอาทิตย์อยูห่ า่ งจากโลก 8.3 นาทีแสง หรือประมาณ 150


าม ดาวพฤห ัสก ับดาวศุกร์ ล้านกิโลเมตร เท่ากับ 1 หน่วยอวกาศ ( AU)
ใดสว่างกว่าก ันและสว่างกว่าก ันเท่าใด p9
จากการกำหนดโชติมาตรของดาวฤกษ์ (apparent magnitude)
สามารถคำนวณหาโชติมาตรสัมบูรณ์ของดาวฤกษ์ (Absolute Magnitude) ได้

ดาวห ัวใจสงิ ห์ (Regulus) อยู่


ห่างจากโลก 25 พาร์เซก มี
โชติมาตรปรากฏ 1.36 จะมี
โชติมาตรสมบู ั รณ์เท่าใด 
ทัง้ นี้ เราสามารถคำนวณหาโชติมาตร
สัหมายเหตุ
มบูรณ์โดยใช้ สตู ร ิ มาตรสัมบูรณ์ จะ 1.36-M= 5 log25 -5
: การหาโชต
= 5(1.4)-5
ต้องกำหนดให้ดาวดาวอยู่ห่างจากโลก 10
= 7-5
พาร์เซค (1 พาร์เซค = 3.26 ปี แสง) เสมอ
=2
หรือ 32.61 ปี แสง
= -0.64
คำถาม ดาวฮาดาร์ (Beta Centauri) ในกลุม ั อยู่
่ ดาวคนครึง่ สตว์
ห่างจากโลก 100 พาร์เซก p10
2.2 ระยะห่างของดาวฤก
จจ ัยทีท
่ ำให้ดาวฤกษ์มค
ี วามสว่างแตกต่างก ัน
ระการหนึง่ คือ ระยะห่าง ของดาวมาย ังโลก
ห่างจากดาวฤกษ์ทเี่ รารูจ
้ ักคือ ระยะห่างจาก
1AU
ระยะทาง 1 หน่วยดาราศาสตร์
อาทิตย์มาย ังโลก แต่ในกรณีดาวฤกษ์อน ื่ ทีอ
่ ยูไ่ กล
150 ล ้านกิโลเมตร
น ักดาราศาสตร์จะว ัดระยะทางเป็นพาร์เซก (pc)

ระยะทาง 1 หน่วยดาราศาสตร์
( astronomical unit :AU)
เท่าก ับ 149.6 ล้านกิโลเมตร (ประมาณ 150
1 ปี แสง (light-year; ly) หมายถึงระยะทางที่
ล้านกิโลเมตร)
แสงใชเ้ ดินทางนาน 1 ปี หรือระยะทาง 9.5
ล้านล้านกิโลเมตร (V แสง=3x108 m/s)
พาร์เซก (parsec; pc) หมายถึงระยะทางทีว่ ัด
ได้จากโลกถึง
ดาวฤกษ์ โดย 1 pc คือระยะ (d) ทีเ่ กิดจากมุม
แพร ัลแลกซ ์
Parsec ; Parallax Angle of 1 Arc Second p11
การว ัดระยะห่างของดาวฤ
น ักดาราศาสตร์สามารถว ัดระยะ
ห่างจากโลก ถึงดาวฤกษ์ดว้ ยวิธ ี
ทางฟิ สก ิ สท ์ เี่ รียกว่า
แพร ัลแลกซ ์ (parallax)
แพร ัลแลกซ ์ (parallax)
คือ การเลือ ่ นตำแหน่งของภาพ
จากการเปลีย ่ นตำแหน่งสงเกต ั
จากจุดสงเกต ั 2 จุด เมือ่ เทียบ
ก ับตำแหน่งอ้างอิง ด ังรูป โดย
มุมทีเ่ กิดเรียกว่า
ทำการทดลองโดยสงเกต ั
มุม แพร ัลแลกซ ์
ดินสอตามรูป
1) การหล ับตา ซา้ ย-ขวา
จากสมบ2) ัติขเลือ ่ นระยะดิย
องสามเหลี ่ นมเราจะหามุ
สอ เข้า ม
ได้แพร ัลแลกซ ออก ์ p12
การนำหล ัก แพร ัลแลกซ ์ (Parallax)
มาใชใ้ นการว ัดระยะโดยใชห ้ ล ัก
มุม 1 องศา degree = 60 ลิปดา arcminute การของสามเหลีย ่ มคล้าย เป็นการ
1 ลิปดา = 60 ฟิลิปดา arcsecond ว ัดระยะห่างโลกก ับดาวฤกษ์ ก ับ
ตำแหน่งของโลกในวงโคจรดวง
สูตร การหาระยะทาง
อาทิตย์ 6 เดือน
ด้วยมุมแพร ัลแลก
ซ์

       d = 1/p    
d =  ระยะทางถึงดวงดาว
(distance) หน่วยเป็ นพาร์เสค (pc) 
p =  มุมแพรัลแลกซ์ 
(parallax angle) หน่วยเป็ น
ฟิลบิ ดา (arc second)
p13
การว ัดระยะโดยใช ้
หล ักการของ
สามเหลีย ่ มคล้าย
เป็นการว ัดระยะห่าง
โลกก ับดาวฤกษ์ และ
มุม แพร ัลแลกซ ์ มี
s = 1/p
ขนาดเล็กมาก ระยะ
ทางจาก ดาวฤกษ์
มาย ังโลก
คำถาม
ดาวห ัวใจสงิ ห์ (Regulus)
่ ดาวสงิ โต มีมม
ในกลุม ุ แพร ัล
แลกซ ์ 0.04 ฟิ ลิปดา มีระยะ
ทางห่างจากโลกกีพ ่ าร์เซก
p14
คำถาม (จงแสดงวิธท
ี ำ)
1)ดาวซรี อ
ี ัส A มีมม ุ แพร ัลแลกซเ์ ท่าก ับ 0.379 พิลปิ ดา มีระยะ
ทางห่างจากโลกกีพ ่ าร์เซก
2)ดาวซรี อ ุ แพร ัลแลกซเ์ ท่าก ับ 0.04 พิลป
ี ัส B มีมม ิ ดา มีระยะ
ทางห่างจากโลกกีป ่ ี แสง
3)ดาววีกา้ มีระยะทางห่างจากโลก 9.786 พาร์เซกมีมม ุ แพร ัล
แลกซ ์ เท่าไร
4)ดาวในกลุม ่ แอลฟาเซนทเทารี มีระยะทางห่างจากโลก 4.26
ปี แสงมีมม ุ แพร ัลแลกซ ์ เท่าไร
5)น ักดาราศาสตร์พบดาวดวงใหม่ 2 ดวงคือ M-16 และ MK มีมม ุ
แพร ัลแลกซเ์ ท่าก ับ
0.024 พิลป ิ ดา และ 0.24 พิลป ิ ดา ดาวดวงใดอยูใ่ กล้โลกมาก
6)ดาวในกลุม ่ แอลฟาเซนทเทารีB ว ัดมุมจากดาวอ้างอิง 2 ครงั้
ทีส่ ด
ุ และอยูใ่ กล้กว่ากีป ่ ี แสง
ในเวลา 6 เดือน พบว่า
ว ัดมุมทีเ่ บนออกก ันของจุดอ้างอิงทงสอง ั้ ได้ 0.12 พิลปิ ดา
ระยะห่างของดาว B ห่าง
1)ดาวซรี อ ุ แพร ัลแลกซเ์ ท่าก ับ 0.379 พิลป
ี ัส A มีมม ิ ดา มีระยะ
ทางห่างจากโลกกีพ ่ าร์เซก

d = 1/p
P=0.379 d=s
s = 1/p
d s = 1/0.379
= 2.63 pc
ระยะห่างจากโลกไปดาวฤกษ์ 2.63 pc
d
2.3 ส ี อุณหภูมผ
ิ วิ และสเปกตร ัม
ของดาวฤกษ์ ไอนาร์ เฮริ ต์ ซปรุง (Ejnar
Hartzsprung 1873-1967) เกิดที่
เมืองโรสคิลู (Roskilde) ประเทศ
เดนมาร์ก เดิมเป็ นนักเคมี เปลีย ่ น
อาชพ ี เป็ นนักดาราศาสตร์เมือ ่
อายุ 29 แต่ด ้วยความละเอียด
่ ้วนในการสงั เกตประกอบกับ
ถีถ
ความเป็ นคนชอบดูดาวมาแต่เดิม
ทำให ้เฮริ ต ์ ซปรุงมีผลงานทรง
ดาวฤกษ์
คุณท ค่าป
ี่ ทางด
รากฏบนท้ อสงฟ
้านโชติมาตร ้า
ี แพรั
ลแลกซ ์
จะมีสต ี า่ งก ัน เมือ ึ ษาอุณหภูม ิ
่ ศก
ผิวของดาวฤกษ์จะพบว่า สข ี อง
ดาวฤกษ์มค ั ันธ์ก ับ
ี วามสมพ
อุณหภูมผ ิ วิ ของดาวฤกษ์ดว้ ย
น ักดาราศาสตร์แบ่งชนิด
ของดาวฤกษ์ตามสแ ี ละอุณหภูม ิ
ผิวของดาวฤกษ์ได้ 7 ชนิด คือ O
B A F G K และ M แต่ละชนิดจะมี p15
ทำไมชนิดสเปกตร ัมจึงไม่เรียงตาม
ลำด ับอ ักษร A ถึง O ?
การจำแนกชนิดสเปกตรัมทีเ่ กิดขึน้ ตอนแรกในช่วงปลายคริสต์ศตวรรษที่ 19 นัน้ ใช้เส้นดูดกลืน
ไฮโดรเจนในสเปกตรัมเป็ นตัวจำแนก เริม่ ลำดับทีห่ นึ่งด้วยดาวทีเ่ ส้นไฮโดรเจนคมชัดเรียง ลำดับไป
จนถึงดาวทีเ่ ส้นไฮโดรเจนจางทีส่ ดุ กลุม่ แรกให้ชอ่ื ว่าชนิด A กลุม่ ต่อไปคือชนิด B ไล่ไปจนชนิด O จาก
นัน้ มีการค้นพบว่าบางชนิดมีซ้ำกัน จึงยกเลิกบางชนิดไปต่อมาเปลีย่ นวิธเี รียงชนิดสเปกตรัม แต่ไม่
เปลีย่ นลำดับอักษร เลยสลับกันอย่างทีเ่ ห็น
ตารางต่อไปนี้ เรียงตามลำดับอุณหภูมิพืน้ ผิวดาว
แสดงความคมชัดของเส้นไฮโดรเจนให้เห็นว่าเข้ากับตัวอักษรที่ใช้พอดี

p16
ความแตกต่างของสเปกตร ัมสะท้อน
ความแตกต่างของอุณหภูมข ิ อง
บรรยากาศเป็นหล ัก
ชนิด O เป็ นดาวฤกษ์สน ี ้ำเงินทีม ่ กี ำลังสอ ่ งสว่างและอุณหภูมส ิ งู มากประมาณ
30,000-60,000 องศาเคลวิน แผ่รังสใี นชว่ งอัลตร ้าไวโอเลต ดูดกลืนความยาวคลืน ่
ของก๊าซฮเี ลียมได ้ดี แต่มเี สนไฮโดรเจนที ้ อ
่ อ
่ นมากเพราะมีแกนกลางร ้อนมากจึงเผา
ไหม ้เชอ ื้ เพลิงไฮโดรเจนผ่านได ้อย่างรวดเร็วและเป็ นดาวแรกทีอ ่ อกจากกระบวนหลัก
จำนวน1 ใน 3,000,000 ของดาวในกระบวนหลัก
          ชนิด B เป็ นดาวฤกษ์สฟ ี ้ าทีม ่ กี า๊ ซไฮโดรเจนห่อหุ ้มรอบๆดาว  อุณหภูมป ิ ระมาณ
10,000-30,000 องศาเคลวิน  ดูดกลืนไฮโดรเจนระดับปานกลาง เสนโลหะบริ ้ สท
ุ ธิ์ Mg
IIและ Si II อายุสน ั ้ มาก  จำนวน 1 ใน 800 ของดาวในกระบวนหลัก
          ชนิด A เป็ นดาวฤกษ์สข ี าวปนฟ้ า อุณหภูมป ิ ระมาณ 7,500-10,000 องศาเคลวิน 

มีเสนไฮโดรเจนเข ้มทีส
่ ด
ุ และเสนโลหะ ้ Fe II, Mg II, Si II  จำนวน 1 ใน 160 ของดาวใน
กระบวนหลัก
          ชนิด F เป็ นดาวฤกษ์สข ี าว อุณหภูมป ิ ระมาณ 6,000-7,500 องศาเคลวิน  เสน้
ไฮโดรเจนเริม ่ อ่อนลง เริม ่ เห็นเสนของ ้ Fe I, Cr I, K และ Ca IIเข ้มมากขึน ้ จำนวน 1 ใน
33 ของดาวในกระบวนหลัก
          ชนิด G เป็ นดาวฤกษ์สเี หลืองอุณหภูมป ิ ระมาณ 5,000-6,000 องศาเคลวิน มีเสน้
สเปกตรัมไฮโดรเจนอ่อนกว่า F เริม ้
่ มีโมเลกุล CH และเสนโลหะไอออไนซ ์ ากขึน
ม ้
          ชนิด K เป็ นดาวฤกษ์สส ี ม้ อุณหภูมป ิ ระมาณ 3,500-5,000 องศาเคลวิน สว่ นใหญ่ p17
p18
http://www.narit.or.th/index.php/astronomy-article/89-2012-11-21-03-42-24
p19

อุณหภูมพ ิ น
ื้ ผิว
รัศมีดวงดาว
มวลดวงดาว
กำลังสอ่ งสว่าง
อายุดาว
ดาวสว ่ นใหญ่จะอยูใ่ น
ลำด ับหล ัก ทงนี ั้ ้
เนือ่ งจากดาวใช ้
เวลา 80% ของอายุข ัย
อยูใ่ นลำด ับหล ัก ดาว
ลำด ับหล ักสน ี ้ำเงินมี
อุณหภูมส ิ งู และมี
กำล ังสอ ่ งสว่าง
มากกว่าดาวลำด ับ
หล ักสแ ี ดง เพราะว่า
ดาวลำด ับหล ัก
สนี ้ำเงินมีมวลตงต้ ั้ น
สูงมาก จึงมีขนาด
ใหญ่ แก๊สมวลมากกด
ท ับก ัน ทำให้ดาวมี
อุณหภูมส ิ งู จนแผ่ร ังส ี
ทีม่ คี วามยาวคลืน ่ เข้ม
p20
ระยะห่างของดาวฤกษ์
คำถามท้ายเรืและอุ

่ ง ณหภูมพ ื้ ผิวของดาว
ิ น
์ า่ งกับมุมทีส
แพรัลแลกซต ่ งั เกตเห็นดาวฤกษ์ เปลีย
่ นตำแหน่งในรอบ
ดาวซรี อ
ี ส
ั และดาวคาโนปั ส มีมมุ แพรัลแลกซ ์ 0.379 และ 0.130 ฟิ ล
ตามลำดับ ดาวทัง้ สองดวงอยูห ่ า่ งจากโลกกีป่ ี แสง
ี ละอุณหภูมพ
มวลสแ ิ น
ื้ ผิวของดาวมีความสม ั พันธ์กน ั อย่างไร

p21
2.4 วิว ัฒนาการของ
ดาวฤกษ์
เนบิวลา ได้หดยุบต ัวลง ขณะ
ขนแรกของการเกิ
ั้ ดดาวฤกษ์
ทีย ่ บ
ุ ต ัวลงเป็นก้อนกลม
คือ แรงโน้มถ่วงของเมฆฝุ่น
โมเลกุลของแก๊สเข้าใกล้ก ัน
และกลุม ่ แก๊สขนาดใหญ่ท ี่
มากขึน ้ เคลือ
่ นต ัวด้วย
เรียกว่า “เนบิวลา (Nebula)”
ความเร็วสูง ความกดด ันเพิม ่
จนกระทง่ ั อุณหภูมส ิ ง ้
ู ขึน ขึน้ ทำให้แก๊ส และฝุ่นร้อนขึน ้
เป็น  15 ล้านองศาเซย ี ล อุณหภูมข ิ องแก๊สทีใ่ จกลางสูง
เซย ี ส จึงเกิดปฏิกริ ยิ าเทอร์ ขึน ้ เรือ
่ ยๆก้อนแก๊สกลายเป็น
โมนิวเคลียร์ได้พล ังงาน ดาวทีอ้ ไ่ สารน้
หากเนื อยกว่
ม่สมบู รณ์าห1รืใน 20เ่ รี
อที ของ
ยกว่า
ดวงอาทิตย์
มหาศาลออกมา เป็นการ “Protostar” ้ แต่อณ
ก้อนแก๊สจะร้อนขึน ุ หภูม ิ
สร้างพล ังงานของดาวฤกษ์ ภายในไม่สง ู พอจะเกิดปฏิกริ ย
ิ าได้
ทำให้ดาวเปล่งแสงออกมา ด ังนน ่ งแสงเป็นดาวฤกษ์
ั้ จึงสอ
มีมาวลมากกว่
อย่ งสมบูรณ์าไ1ม่ไใน
ด้ 20
แต่จะ
จะกลายเป็น
เป็นดาวฤกษ์เกิดใหม่
พ ัฒนา
ดาวแคระส ี ้ำตาล

ปฏิกริ ยิ าเทอร์โมนิวเคลียร์ เป็นดาวฤกษ์ได้สมบูรณ์
ด ังกล่าว เกิดขึน้ เฉพาะเมือ ่ p22
เนบิวลา (Nebula)
เนบิวลา (Nebula) คือกลุม
่ ของก๊าซและฝุ่นผงทีร่ วมต ัว
ก ันอยูใ่ นอวกาศ เนบิวลามาจากภาษาลาตินแปลว่า
"เมฆ"
แบ่งเนบิวล่า ออกเป็น 4 กลุม
่ ใหญ่
คือ
1. Emission nebula หรือเนบิวลามีแสง
ในต ัวเอง
2. Reflective nebula หรือเนบิวลา
สะท้อนแสง
เนบิวลาดาวเคราะห์
3. Planetary nebula หรือเนบิวลาดาว
Planetary nebula หรือ เนบิวลาดาวเคราะห์เป็นเครือ ่ งหมายบ่ง
เคราะห์
บอกถึงจุดจบของดาวฤกษ์ทม ี่ ข
ี นาดเท่าก ับดวงอาทิตย์ของเรา
4.
เมืDark
่ ถึงnebula
อ ชว หรื
่ งสุด ท้าอยอายุ
เนบิขวลามื ด
อง ดาวฤกษ์ ดาวฤกษ์จะหดต ัวอย่าง
รวดเร็วเพราะแรงนิวเคลียร์ไม่มท
ี จ
ี่ ะต่อต้านแรงโน้มถ่วงที่
มากมายมหาศาลได้ แกนกลางจนหดต ัวเป็นดาวแคระ จนมี p23
เนบิวลาสว่างใหญ่ในกลุม ่ ดาวนายพราน เนบิวลาในกระจุกดาว
(M 42 Great Orion Nebula) ลูกไก่(M45 Pleiades)
 ดาวฤกษ์ทเี่ กิดขึน้ ใหม่มอ
ี ณุ หภูมส ิ งู เป็ นเนบิวลาสะท ้อนแสง” (Reflection
ประมาณ 25,000 K เป็ น Nebula)
ดาวสเปกตรัมประเภท O แผ่รังสเี ข ้มสุดใน เนบิวลามีแก๊สและฝุ่ นอยูห่ นาแน่น บางครัง้
ชว่ งอัลตราไวโอเล็ต เนบิวลาทีห ่ อ
่ หุ ้มดาว อนุภาคขนาดใหญ่เป็ นอุปสรรคขวางกัน ้
ดูดกลืนพลังงานจากรังสอ ี ลั ตราไวโอเล็ต การแผ่รังส ี จึงเกิดการกระเจิงของแสง
และแผ่รังสเี ข ้มสุดในชว่ ง H-alpha ซงึ่ มี p24ี
(Scattering) ทำให ้มองเห็นเป็ นเนบิวลาส
เนบิวลามืดเป็ นกลุม
่ แก๊สทีม
่ อ
ี ณ
ุ หภูม ิ เนบิวลาไทรฟิ ด (M20 Trifid Nebula)ในกลุม ่
ต่ำอยูอ
่ ย่างหนาแน่น กลุม่ แก๊สเหล่านี้ ดาวคนยิงธนู  เป็ นกลุม่ แก๊สซงึ่ มีทงั ้ เนบิวลา
เหล่านีบ้ ดบังแสงสว่างจากดาวฤกษ์ สว่าง เนบิวลาสะท ้อนแสง และเนบิวลามืด อยู่
เกิดใหม่หรือเนบิวลาสว่างซงึ่ อยูด
่ ้าน ในตัวเดียวกัน  ดาวเกิดใหม่ทอยู ่ี ภ ่ ายในแผ่รังส ี
หลัง เราจึงมองเห็นเป็ น “เนบิวลา ออกมากระตุ ้นให ้กลุม
่ แก๊สทีอ่ ยูบ ่ ริเวณรอบๆ แผ่
มืด” (Dark Nebula) เชน่ เนบิวลารูปหัว ี รากฏเป็ นเนบิวลาสว่างสแ
รังสป ี ดง แต่มก ี ลุม่
ม ้าในกลุม่ ดาวนายพราน (Horsehead แก๊สหนาทึบบางสว่ นมาบังแสงสว่างทำให ้มอง
Nebula) เห็นเป็ นเนบิวลามืด และเกิดการกระเจิงของ p25
ระบบดาวฤกษ์
ระบบดาวฤกษ์  คือ ดาวฤกษ์ กลุม ่ เล็กๆ จำนวนหนึง่ ทีโ่ คจร
อยูร่ อบกันและกัน โดยมีแรงดึงดูดระหว่างกันทำให ้จับ
กลุม ่  ดาวซรี อ
่ กันไว ้ เชน ั ซงึ่ เป็ นดาวคู่ เป็ นระบบ
ี ส
ดาวฤกษ์  2 ดวง เคลือ ่ นรอบซงึ่ กันและกันด ้วยแรงโน ้ม
ถ่วง ดาวแอลฟาเซนเทารี เป็ นระบบดาวฤกษ์  3 ดวง 

กระจุกดาวลูกไก่ กระจุกดาวทรงกลม M13 กระจุกดาวคู่ ซรี อ


ี ส

ระบบดาว ใกล ้โลกทีส ่ ดุ มีเงือ
่ นไข
ด ้วยร่วมวงโคจร 3 ดวง (Three Co-
orbiting)
หนึง่ ในดวงทีส ่ ว่างทีส
่ ดุ คือ Rigil
Kentaurus หรือ Toliman บางครัง้
มักเรียกดาว
ดวงนีว้ า่ Alpha Centauri A ด ้วย มี
ความสว่างมากกว่าดวงอาทิตย์ จึง
จัดไว ้ใน
Brightest star (-0.01 Mangnitude)

สว่ น Alpha Centauri B มีความ


สว่างกว่า ดวงอาทิตย์ 1 ใน 3 ระบบ
ดังกล่าว
เรียกว่า Alpha Centauri system มี
ดาวประเภท Red-dwarf (
ดาวแคระสแ ี ดง)
ชอ ื่ Proxima Centauri อยูใ่ นระบบ
ด ้วย มีระยะทางห่างจากโลกราว
4.3 ปี แสง
p26
เนือ ่ งจากดาวมีขนาด มวลของดาว
ใหญ่มาก เราจึงไม่
สามารถทำการหามวล
ของดาวด้วยวิธช ี ง่ ั ตวง
ว ัด น ักดาราศาสตร์ไม่
สามารถคำนวณหาขนาด
มวลของดาวดวงเดียว
โดดๆ ได้ แต่จะคำนวณ
หามวลของระบบดาวคู่
ซงึ่ โคจรรอบก ันและก ัน

โดยอาศยความส มพ ั ันธ์​
ระหว่างคาบวงโคจรและ
ระยะห่างระหว่างดาวทงั้
สอง  ตามกฎของ
เคปเลอร์-นิวต ัน ตามสูตร
  
วิว ัฒนากา

ของ
ดาวฤกษ์

การจบสน ิ้ ชวี ต ิ ของดาวขึน ้ อยูก ่ ับมวลเริม ่ ต้นทีก่ อ


่ กำเนิดดาวขึน้ มา
ดาวทีม ่ ม
ี วลมากมีชว ่ งชวี ต ั้
ิ สนกว่ าดาวทีม ่ วลน้อย เนือ่ งจากปฏิกริ ย
ิ า
ั ร่ น
ฟิ วชนที ุ แรงเผาไหม้เชอ ื้ เพลิงภายในดาวอย่างรวดเร็ว น ัก
ดาราศาสตร์จำแนกประเภทจุดจบของดาวฤกษ์ตามทีแ ่ สดงในภาพที่
3 ด ังนี้
ดาวทีม ่ ม ี วลตงต้ั้ นน้อยกว่า 2 เท่าของดวงอาทิตย์ พ้นลำด ับหล ัก
กลายเป็นดาวย ักษ์แดง แล้วจบชวี ต ิ เป็นเนบิวลาดาวเคราะห์และ
ดาวแคระขาวคาร์บอน 
ดาวทีม ่ ม ี วลตงต้ ั้ น 2 - 8 เท่าของดวงอาทิตย์ พ้นลำด ับหล ักกลาย
เป็นดาวย ักษ์แดง แล้วจบชวี ต ิ เป็นเนบิวลาดาวเคราะห์และดาว
แคระขาวออกซเิ จน 
ดาวทีม ่ ม ี วลตงต้ ั้ นมากกว่า 8 เท่า แต่นอ ้ ยกว่า 18 เท่าของดวง
p27
การสน ิ้ อายุข ัยของดาวมวลน้อย (<
2 Msun)
ผลสุดท้ายคือเนบิวลาดาวเคราะห์ มี
ดาวแคระขาว
ซงึ่ มีองค์ประกอบเป็นคาร์บอน อยูท ่ ี่
  ดาวทีม ่ ม
ี วลตัง้ ต ้นน ้อยกว่า 2 เท่าของมวล
ใจกลาง
ดวงอาทิ ตย์ เมือ ่ ดาวฟิ วชน ั ฮเี ลียมทีแ
่ ก่นดาว
กลายเป็ นคาร์บอนจนหมดแล ้ว ดาวไม่สามารถ
ฟิ วชน ั คาร์บอน (เลขอะตอม 6) ให ้เป็ นธาตุหนัก
ต่อไปได ้ เนือ ่ งจากมวลของดาวไม่มากพอทีจ ่ ะ
ทำให ้เกิดความกดดันทีแ ่ ก่นดาวให ้มีอณ ุ หภูม ิ
สูงถึง 600 ล ้านเคลวิน แก่นดาวจึงยุบตัวเป็ น “ด
าวแคระขาว” (Dwarf star) ซงึ่ มีองค์ประกอบ
เป็ นคาร์บอน มีขนาดประมาณโลกแต่มค ี วาม
หนาแน่นสูงมาก เนือ ่ งจากการจัดเรียง
นีค
่ อ
ื สาเหตุทท
ี่ ำให ้ดาวไม่อิสเล็
ามารถยุ บตัวลงต่ำกว่านีไ
กตรอนในวงโคจรรอบอะตอมแน่ ้ ด ้ (เนือ ้ ของดาว
นเต็มที่
แคระขาว 1 ชอนชา้ มีน้ำหนั
แลก้วเท่ ากับยสสาร
เราเรี 5.5 ตัน บนโลก)
กสถานการณ์ เชน ว่ นเนื
่ นีว้ า่ ส“อิ เล็กอ้ตรอนดี
สาร
ของดาวจะถูกแรงดันของแก๊ สร ้อนสาดกระจายออกสู
เจนเนอเรซ ่ วกาศ มองเห็นp28

”ี (Electron Degeneracy)
การสน ิ้ อายุข ัยของดาวมวลปานกลาง
(2 - 8 Msun)
ผลสุดท้ายคือเนบิวลาดาว
เคราะห์
กดาวแคระขาว ทีเ่ ป็นดาว
้าวพ ้นลำดับหลักกลายเป็ นดาวยักษ์ ส ี
แดงออกซแล ้วจบช วี ต
เิ จน ิ เป็ นเนบิวลาดาวเคราะห์
และดาวแคระขาว เชน ่ เดียวกับดาวมวลน ้อย
หากแต่ดาวมวลปานกลางมีมวลมากพอทีจ ่ ะ
กดดันให ้แก่นดาวมีอณ ุ หภูมส ิ งู 600 ล ้านเคล
วิน จุดฟิ วชนั คาร์บอนให ้หลอมรวมเป็ น
ออกซเิ จน (เลขอะตอม 8)  ดาวแคระขาวที่
อย่างไรก็ตามดาวแคระขาวไม่เกิ จำเป็ นจะต ้องอยูใ่ นเนบิวลาดาวเคราะห์
ดจากดาวมวลปานกลางจึ งเป็ นดาว
เสมอไป ดาวแคระขาวอาจอยูใออกซ ่ นระบบดาวคู
เิ จน ่ เชน ่ ดาวซริ อ ุ เอ และดาวซ ิ
ิ ส
ริอส
ุ บี ในภาพที่ 5  ดาวแคระขาวบางดวงมีคเป็ ู่ นดาวยักษ์ เชน ่ ดาวไร
เจล เอ เป็ นดาวยักษ์ น้ำเงิน สว่ นดาวไรเจล บี เป็ นดาวแคระขาว ถ ้าดาว
แคระขาวอยูใ่ กล ้ชดิ กับคูข
่ องมันมาก จนแรงโน ้มถ่วงของดาวแคระขาว
ดึงดูดมวลจากคูข ่ องมันมาเพิม
ลิมต ิ ่ ของดาวแคระขาวมี
เติมบนดาวแคระขาว ทำให ้มีมวลสารและ
มวลไม่เกิน 1.4
p29
แรงกดดันมากขึน ้ อุณหภูมส ิ งู จนจุดฟิ วชน ั ทีแ
่ ก่นกลาง ระเบิดสว่างเป็ น
การสน ิ้ อายุข ัยของดาวมวลมาก
(> 8 ผลสุ
Msun)ดท้ายเป็นซูเปอร์โนวา และ
ดาวนิวตรอน
ดาวฤกษ์ มวล 8 เท่าของมวล
ดวงอาทิตย์ แรงโน ้มถ่วงของ
ดาวสามารถสร ้างความกดดัน
เอาชนะความดัน ดีเจนเนอเร
ซี
ของอิเล็กตรอนภายในอะตอม
ของออกซเิ จน และทำให ้
อุณหภูมท ิ แี่ ก่นดาวสูงถึง
ถ ้าหากดาวมีมวลมากพอทีจ ่ ะทำให ้อุณหภูมท
ิ แ
1,500 ี่ ล ก่น้านเคลวิ
ดาวสูงนถึงหลอม 2,700
ั ซล
ล ้านเคลวิน จะเกิดฟิ วชน ิ กิ อน (เลขอะตอม
ออกซ14) เิ จนใหทีแ ่ ก่้กลายเป็
นดาวใหนธาตุ

กลายเป็ นธาตุเหล็ก (เลขอะตอม 26) เหล็หนั กเป็กนธาตุ
ลำดับสต่ด ุ อทๆ ้ายของปฏิ
ไป
กิรย ั หากแรงกดดันยังมีมากกว่านี้ แก่นของดาวจะถึงจุด
ิ าฟิ วชน
วิกฤต แรงโน ้มถ่วงเอาชนะแรงดันดีเจนเนอเรซข ี องอิเล็กตรอนเหล็ก
อิเล็กตรอนจะรวมตัวกับโปรตอนเป็ นนิวตรอน แก่นของดาวจะยุบตัว
เป็ น “ดาวนิวตรอน” (Neutron Star) ปลดปล่อยพลังงานระเบิดดาวp30
ระยะห่างของดาว: ใช้กำลังขยายของกล้องโทรทรรศน์ตรวจวัดมุมแพรัลแลกซ์ เรียกว่า
"กระบวนการแอสโตรเมทรี" (Astrometry)
โชติมาตร: บันทึกแสงของดาวด้วย CCD แล้วคำนวณเปรียบเทียบอันดับความสว่าง
เรียกว่า "กระบวนการโฟโตเมทรี" (Photometry)
กำลังส่องสว่าง: แปรผันตรงตามความสว่าง แต่แปรผกผันกับระยะห่างของดาว
สเปกตรัม: แยกแแสงดาวของดาวด้วยสเปกโตรมิเตอร์ เรียกว่า "กระบวนการสเปกโตรสโคปี " (Spectroscopy)
องค์ประกอบทางเคมี: ได้จากการวิเคราะห์เส้นดูดกลืนและเส้นแผ่รงั สีของสเปกตรัม 
ทิศทางการเคลื่อนทีแ่ ละความเร็วเชิงเรเดียน: ได้จากการวิเคราะห์ปรากฏการณ์ดอ็ ปเปลอร์ 
อุณหภูม:ิ  ได้จากการวิเคราะห์กราฟแสง หาค่าความยาวคลื่นเข้มสุด (λmax) ด้วยกฎการแผ่รงั สีของวีน
 (Wien’s displacement Law)
รัศมีของดาว: ได้จากการแทนค่ากำลังส่องสว่างและอุณหภูมชิ องดาว ตามกฎความเข้มพลังงาน
ของสเตฟาน-โบลทซ์มานน์  (Stefan – Boltzmann Law)
มวลของดาว: ได้จากการคำนวณความสัมพันธ์​ระหว่างคาบวงโคจรและระยะห่างระหว่างดาวสองดวงในระบบดาวคู่ 

p32
การสน ิ้ อายุข ัยของดาวมวลมาก (>
18 Msun)
สำหรั บดาวทีม
่ ม
ี วลมากกว่า 18 เท่าของมวลดวง
อาทิตย์ แรงโน ้มถ่วงจะเอาชนะแรงดันดีเจนเนอเร
ซขี องดาวนิวตรอน แก่นของดาวจะยุบลงเป็ น
“หลุมดำ” (Black Hole) แรงโน ้มถ่วงของหลุมดำ
มากจนกระทั่งคลืน ่ แม่เหล็กไฟฟ้ าไม่สามารถแผ่
ออกมาได ้

ไอน์สไตน์อธิบายว่า สภาพภูมศ ิ าสตร์ของอวกาศไม่ใชร่ าบเรียบเป็ นเสนตรง



หรือเป็ นทรงกลมทีส ่ มบูรณ์ หากแต่คดโค ้งไม่สม่ำเสมอ ขึน ้ อยูก
่ บ
ั มวลใน
แต่ละตำแหน่งของจักรวาล ซงึ่ จะฉุดให ้กาลเวลายืดหดไปด ้วย แสงเดินทาง

เป็ นเสนตรงเมื อ
่ อวกาศเป็ นแผ่นระนาบ  แต่ถ ้าอวกาศโค ้ง แสงก็จะเดินทาง
เป็ นเสนโค้ ้งด ้วย ดาวฤกษ์ ทม ี่ ม
ี วลเท่าดวงอาทิตย์ทำให ้อวกาศโค ้งเพียงเล็ก
น ้อย (ภาพ ก) แต่ดาวนิวตรอนทำให ้อวกาศโค ้งมาก แสงทีเ่ ดินทางออกจาก p31

You might also like