กลุ่มที่ 7 บุคลากรภาครัฐ

You might also like

Download as pptx, pdf, or txt
Download as pptx, pdf, or txt
You are on page 1of 23

บุคลากรภาค

รัฐ
กลุม
่ ที่ 7
บทบาทของระบบราชการไทยสมัยก่อน

ระบบราชการไทยเกิดขึน ั และเป็ นระบบหลังการ


้ เด่นชด
ปฏิรป
ู การปกครองในสมัยสมเด็จพระปรมไตรโลกนาถและ
วิวฒั นาการต่อมาจนกลายเป็ นระบบราชการสมัยใหม่
ในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล ้าเจ ้าอยูห ่ วั
มีโครงสร ้างแบบระบบตะวันตก

กล่าวคือ ระบบราชการสมัยใหม่จะมีการกำหนดหน ้าที่


และตำแหน่งทีแ ั การจัดสรรตำแหน่ง
่ ตกต่างกันโดยอาศย
ตามความรู ้ความชำนาญ มีการกำหนดเงินเดือน และคุณสมบัตไิ ว ้ชด
ั เจน
ระบบราชการในปั จจุบน

เป็ นกลไกทีม ี วามสำคัญอย่างยิง่ ในการบริหารราชการแผ่นดิน


่ ค
และขับเคลือ
่ นนโยบายของรัฐบาล ในฐานะฝ่ ายบริหาร(Executive)
ของประเทศโดย มีเป้ าหมายสำคัญในการพัฒนาประเทศ
และตอบสนองความต ้องการของประชาชน

“ระบบราชการ(Bureaucracy)”
โดยมีการแบ่งบุคลากรภาครัฐ ออกเป็ น 6 ประเภท ได ้แก่

ข ้าราชการ ลูกจ ้างของสว่ นราชการ บุคลากรของรัฐวิสาหกิจ


บุคลากรขององค์การมหาชน พนักงานของรัฐในสว่ นราชการ
และพนักงานราชการ
1 ข ้าราชการ

ข ้าราชการการเมือง ข ้าราชการประจำ
“ข ้าราชการการเมือง” ถือเป็ นองค์ประกอบ “ข ้าราชการประจำ” ซงึ่ เป็ นองค์ประกอบ
สว่ นบนของระบบราชการโดยมีหน ้าทีใ่ นการ สว่ นล่างทีม ่ บี ทบาทหลักในการบริหาร
กำหนดนโยบายและเป้ าหมายในการพัฒนา หรือการรับเอานโยบายของข ้าราชการ
ประเทศ อีกทัง้ ยังมีบทบาทหลักในการ การเมือง
บังคับบัญชาและกำกับดูแลการปฏิบต ั งิ าน ไปปฏิบต ั ใิ ห ้บรรลุผลสำเร็จตามคุณค่าที่
ของ “ข ้าราชการประจำ” ข ้าราชการการเมืองได ้กำหนดไว ้ รวมทัง้
การให ้ข ้อเสนอแนะและข ้อมูลเพือ ้
่ ใชในการ
ตัดสน ิ ใจของข ้าราชการการเมือง
1.1ข ้าราชการการเมือง(นักการเมือง)
(พระราชบัญญัตริ ะเบียบข ้าราชการการเมืองพ.ศ.2535 มาตรา 5 )

(1) นายกรัฐมนตรี (11) เลขาธิการนายกรัฐมนตรี


(2) รองนายกรัฐมนตรี (12) รองเลขาธิการนายกรัฐมนตรีฝ่ายการเมือง
(3) รัฐมนตรีวา่ การกระทรวง (13) โฆษกประจําสํานักนายกรัฐมนตรี
(4) รัฐมนตรีประจําสํานักนายกรัฐมนตรี (14) รองโฆษกประจําสํานักนายกรัฐมนตรี
(5) รัฐมนตรีวา่ การทบวง (15) เลขานุการรัฐมนตรีประจําสํานักนายก
(6) รัฐมนตรีชว่ ยว่าการกระทรวง รัฐมนตรี
(7) รัฐมนตรีชว่ ยว่าการทบวง (16) ประจําสํานักเลขาธิการนายกรัฐมนตรี
(8) ทีป่ รึกษานายกรัฐมนตรี (17) เลขานุการรัฐมนตรีวา่ การกระทรวง
(9) ทีป ่ รึกษารองนายกรัฐมนตรี (18) ผู ้ชว่ ยเลขานุการรัฐมนตรีวา่ การกระทรวง
(10) ทีป ่ รึกษารัฐมนตรี และทีป
่ รึกษารัฐ (19) เลขานุการรัฐมนตรีวา่ การทบวง
มนตรีประจําสํานักนายกรัฐมนตรี (20) ผู ้ชว่ ยเลขานุการรัฐมนตรีวา่ การทบวง
1.2 ข ้าราชการประจำ
ี )
(ข ้าราชการประจำทีเ่ ติบโตตามสายอาชพ ข ้าราชการ
ทหาร
ข ้าราชการ ข ้าราชการกลาโหมพลเรือน
ทหาร
ข ้าราชการ
พลเรือน
ข ้าราชการพลเรือนใน
มหาวิทยาลัย
ข ้าราชการ
ข ้าราชการประจำ ข ้าราชการฝ่ าย ครู
ข ้าราชการ
พลเรือน
เป็ นบุคคลทีไ่ ด ้รับการบรรจุและ ตำรวจ
แต่งตัง้ ให ้รับบราชการในสว่ นต่างๆ ข ้าราชการ
อัยการ
ข ้าราชการ
ตุลาการ
ข ้าราชการฝ่ าย
รัฐสภา
ฯลฯ

ข ้าราชการสว่ นท ้อง ลูกจ ้างชวั่ คราว


ถิน

ข ้าราชการประจำ (ต่อ)
ข ้าราชการประจำแบ่งออกได ้เป็ น 3 ประเภท
ได ้แก่ ข ้าราชการฝ่ ายทหาร ข ้าราชการฝ่ าย
พลเรือน ข ้าราชการทีไ่ ด ้รับการบรรจุ
ข ้าราชการสว่ นท ้องถิน
่ และแต่งตัง้ เพือ ่ ปฏิบต ั ิ
ราชการทหารแบ่งชน ั ้ ยศ
ข ้าราชการทหาร ออกเป็ นชน ั ้ ประทวนและชน ั้
สญั ญาบัตร
ซงึ่ จะมีชอื่ เรียกยศต่างกัน
ตามกองทัพทีส ่ งั กัด
ข ้าราชการทหาร

คือ บุคคลทีเ่ ข ้ารับราชการทหารประจำการ


ข ้าราชการกลาโหมและพลเรือนทีบ ่ รรจุในอัตราทหาร ข ้าราชการทีไ่ ด ้รับการ
่ ึ ั
ในหน่วยงานทางการทหารซงสงกัดกระทรวงกลาโหมหรือกองทัพไทย บรรจุ
ข ้าราชการฝ่ ายทหาร
ข ้าราชการ และแต่งตัง้ เพือ่ ปฏิบต
ั ิ
กลาโหม ราชการในกระทรวง
พลเรือน กลาโหม
แต่ไม่ได ้มียศแบบ
ข ้าราชการทหาร
ข ้าราชการฝ่ ายพลเรือน ตามพระราชบัญญัตริ ะเบียบข ้าราชการ
พลเรือน พ.ศ.2551
มาตรา 4 ในพระราชบัญญัตน ิ ี้
“ข ้าราชการพลเรือน” หมายความว่า บุคคลซงึ่ ได ้รับบรรจุและแต่งตัง้ ตามพระ
ราชบัญญัตน ิ ี้ ให ้รับราชการโดยได ้รับเงินเดือนจากเงินงบประมาณใน
“ข ้าราชการฝ่ าย
กระทรวง กรมฝ่ ายพลเรือน พลเรือน”

ข ้าราชการพลเรือนสามัญ หมายความว่า
ตำแหน่งประเภทบริหาร ได ้แก่ ตำแหน่งหัวหน ้าสว่ นราชการ ข ้าราชการพลเรือนและ
และรองหัวหน ้าสว่ นราชการระดับกระทรวง กรม และตำแหน่งอืน่ ที่ ข ้าราชการอืน่ ในกระทรวง
ก.พ.กำหนดเป็ นตำแหน่งประเภทบริหาร กรมฝ่ ายพลเรือน ตามกฎหมาย
ว่าด ้วยระเบียบข ้าราชการ
ตำแหน่งประเภทอำนวยการ ได ้แก่ ตำแหน่งหัวหน ้าสว่ นราชการ ประเภทนัน ้
ทีต
่ ่ำกว่าระดับกรม และตำแหน่งอืน
่ ที่ ก.พ.กำหนดเป็ นตำแหน่งประเภท
อำนวยการ

ตำแหน่งประเภทวิชาการ ได ้แก่ ตำแหน่งทีจ่ ำเป็ นต ้องใชผู้ ้สำเร็จการศก


ึ ษา
ระดับปริญญาตามที่ ก.พ.กำหนดเพือ่ ปฏิบต
ั งิ านในหน ้าทีข่ องตำแหน่งนัน ้

่ ำแหน่งประเภทบริหาร
ตำแหน่งประเภททั่วไป ได ้แก่ ตำแหน่งทีไ่ ม่ใชต
ตำแหน่งประเภทอำนวยการ และตำแหน่งประเภทวิชาการ ตามที่
ก.พ.กำหนด
ข ้าราชการฝ่ ายพลเรือน (ต่อ)
1 ข ้าราชการพลเรือนในมหาวิทยาลัย
2 ข ้าราชการครู
แบ่งออกเป็ น 3 ประเภท
3 ข ้าราชการตำรวจ
แบ่งออกเป็ นประเภทย่อย 3 ประเภท ผู ้สอนในหน่วยงานการศึกษา
ประเภทวิชาการ ข ้าราชการตำรวจ คือ ข ้าราชการใน
เชน ่ ครู อาจารย์ ศาสตราจารย์
เชน่ ศาสตราการย์ รองศาสตราจารย์ สงั กัดสำนักงานตำรวจแห่งชาติซงึ่ เป็ น
ผู ้บริหารสถานศึกษาและผู ้บริหารการ สว่ นราชการไม่สงั กัดสำนักนายก
อาจารย์ ศึกษา
ประเภทผู ้บริหาร รัฐมนตรี
เช่น ผู ้อำนวยการสถานศึกษา ผู ้อำนวย กระทรวงหรือทบวงมีฐานะเป็ นกรมและ
เชน ่ อธิการบดี รองอธิการบดี คณะบดี ึ ษา ฯลฯ
การเขตพืน ้ ทีก
่ ารศก อยูใ่ นบังคับบัญชาของนายกรัฐมนตรี
ประเภททั่วไป บุคลากรทางการศก ึ ษาอืน่
วิชาชีพเฉพาะ หรือเชีย่ วชาญตามที่ ข ้าราชการฝ่ าทหารแบ่งออกเป็ น
เช่น ศึกษานิเทศก์ และตำแหน่งทีเ่ รียก ชน ั ้ ประทวนและชนั ้ สญ
ั ญาบัตร
ก.พ.อ. กำหนด มาตรา 4 แห่ง พระราชบัญญัตริ ะเบียบ ชอื่ ตามที่ ก.ค.ศ. กำหนดตามมาตรา 4 แห่งพระราช
ข ้าราชการพลเรือนในสถาบันอุดมศึกษา พ.ศ. 2547 ตามมาตรา 4 แห่งพระราชบัญญัตต
ิ ำรวจแห่งชาติพ.ศ. 2547
บัญญัตริ ะเบียบข ้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา พ.ศ.
2547

4 ข ้าราชการอัยการ 5 ข ้าราชการตุลาการ
6 ข ้าราชการฝ่ ายรัฐสภา
แบ่งออกเป็ น 2 ประเภท คือ
ข ้าราชการฝ่ ายอัยการ คือ ข ้าราชการผู ้มีอำนาจและหน ้าทีใ่ นการ ข ้าราชการรัฐสภาสามัญ
ข ้าราชการทีบ่ รรจุและแต่งตัง้ ให ้รับ พิจารณาพิพากษาอรรถคดีรวมตลอด คือ ข ้าราชการซึง่ รับการบรรจุและแต่งตัง้
ราชการในสำนักงานอัยการสูงสุด ถึงผู ้ช่วยผู ้พิพากษา ให ้ดำรงตำแหน่งประจำ
เป็ นคณะกรรมการกลางในการกำกับดูแล โดยตำแหน่งข ้าราชการตุลาการมีดงั นี้ โดยได ้รับเงินเดือนในอัตราสามัญ ใช ้วิธ ี
ข ้าราชการฝ่ ายอัยการแบ่งออกเป็ น เชน ่ ประธานศาลฎีกา รองประธานศาล การจำแนก
-ข ้าราชการอัยการ ฎีกา ผู ้พิพากษาหัวหน ้าคณะในศาล และกำหนดประเภทตำแหน่งแบบเดียวกับ
-ข ้าราชการธุรการ ในหน่วยงานของ ฎีกา ผู ้พิพากษาศาลฎีกา ประธาน ข ้าราชการพลเรือนสามัญ
อัยการ ศาลอุธรณ์ รองประธานศาลอุธรณ์ ฯลฯ ข ้าราชการรัฐสภาฝ่ ายการเมือง
ตามมาตรา 4 แห่งพระราชบัญญัตริ ะเบียบข ้าราชการฝ่ ายอัยการ คือ ข ้าราชการซึง่ รับราชการในตำแหน่ง
ตามมาตรา 4 แห่งพระราชบัญญัตริ ะเบียบข ้าราชกา
พ.ศ. 2554
รฝ่ ายตุลาการศาลยุตธิ รรม พ.ศ. 2543
การเมืองของรัฐสภา ตามมาตรา 4 แห่งพระราช
บัญญัตริ ะเบียบข ้าราชการฝ่ ายรัฐสภา พ.ศ. 2518
ข ้าราชการสว่ นท ้องถิน
่ ิ
ตามพระราชบัญญัตัระเบี
ยบ บริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2534

ข ้าราชการสว่ นท ้องถิน ่ คือ ข ้าราชการองค์การบริหารสว่ นจังหวัด พนักงาน


เทศบาล พนักงานเมืองพัทยา พนักงานสว่ นตำบล
ตำแหน่งของข ้าราชการสว่ นท ้องถิน ่ มี 4 ประเภท ประกอบด ้วย
ประเภทบริหารท ้องถิน ่ และ ประเภทอำนวยการท ้องถิน ่
มี 3 ระดับ ได ้แก่ ระดับต ้น ระดับกลาง ระดับสูง
ประเภทวิชาการ มี 4 ระดับ ได ้แก่
ระดับปฏิบต ิ าร ระดับชำนาญการ
ั ก
ระดับชำนาญการพิเศษ ระดับเชย ี่ วชาญ
ประเภททั่วไป มี 3 ระดับ ได ้แก่
ั งิ าน ระดับชำนาญงาน ระดับอาวุโส
ระดับปฏิบต
ข ้อแตกต่างระหว่าข ้าราชการการเมืองและข ้าราชการประจำ

ข ้าราชการการเมือง ข ้าราชการประจำ

1.ข ้าราชการการเมือง ไม่มข ี น


ั ้ วิง่ เหมือนข ้าราชการประจำ
2.ข ้าราชการการเมือง มาจากเหตุผลทางการเมือง
3.ข ้าราชการมีขน
ั ้ วิง่ สวัสดิการ บำเหน็ จ บำนาญ ฯลฯ
4.ข ้าราชการประจำมาจากผู ้ทีส ่ อบบรรจุได ้ ตามระเบียบ กพ. กำหนด
5.ตำแหน่งสูงสุดของข ้าราชการประจำคือ ปลัดกระทรวง
02.
ลูกจ ้าง
ของสว่ นราชการ
ลูกจ ้างของสว่ นราชการ เป็ นบุคลากรภาครัฐประเภทหนึง่ ซ งึ่ เป็ นการจางเพือ ่
เสริมการปฏิบต ั งิ านหรือสนับสนุนการทำงานของข ้าราชการให ้มีประสท ิ ธิภาพ
ยิง่ ขึน
้ ลักษณะการจ ้างเป็ นการทีต่ ้องใช ้ แรงงาน ฝี มือ ความชำนาญเป็ นพิเศษ

โดยใชประสบการณ์ เป็ นหลัก
ลูกจ ้างแบ่งออกเป็ นได ้ 2 ประเภท
่ วข ้อง : ข ้อ 5 ระเบียบว่าด ้วยการจ่ายค่าจ ้างลูกจ ้างของส ว่ นราชการ พ.ศ.2526
กฎหมายทีเ่ กีย

ลูกจ ้างชวั่ คราว


หมายความว่าลูกจ ้างรายเดือนรายวันและ
ลูกจ ้างประจำ รายชวั่ โมงทีจ ่ ้างไว ้ปฏิบต
ั งิ านทีม
่ ล
ี ก
ั ษณะ
ชวั่ คราวและหรือมีกําหนดเวลาจ ้างแต่ทงั ้ นี้
ระยะเวลาการจ ้างต ้องไม่เกินปี งบประมาณ
สามารถจำแนกออกเป็ น 2 ประเภท คือ
คือ ลูกจ ้างรายเดือน รายวันและรายชวั่ โมง ลูกจ ้างชวั่ คราวเงินงบประมาณและลูกจ ้าง
ทีจ
่ ้างไว ้ปฏิบต
ั งิ านทีม
่ ล
ี ก
ั ษณะประจำ ชวั่ คราวเงินนอกงบประมาณ เชน ่ พนักงาน
โดยไม่มก ี ำหนดเวลาตามอัตราและจำนวนที่ เทศบาล พนักงานสว่ นตำบล ข ้าราชการ
กำหนดไว ้ องค์การบริหารสว่ นจังหวัด ข ้าราชการ
กรุงเทพมหานคร พนักงานเมืองพัทยา
รัฐวิสาหกิจ
อยูภ
่ ายใต ้พระราชบัญญัตค ิ ณ
ุ สมบัตม ิ าตรฐานส ําหรับกรรมการและพนักงานรัฐวิสาหกิจ
พ.ศ. ๒๕๑๘ และทีแ ่ ก ้ไขเพิม
่ เติม (พระราชบัญญัตค ิ ณ
ุ สมบัตม
ิ าตรฐานฯ)

“มาตรา 4 ในพระราชบัญญัตน ิ ี้
“รัฐวิสาหกิจ” หมายความว่า
(1) องค์การของรัฐบาลตามกฎหมายว่าด ้วยการจัดตัง้ องค์การของรัฐบาล
หรือกิจการของรัฐตามกฎหมายทีจ ่ ัดตัง้ กิจการนัน้ และหมายความรวม
ถึงหน่วยงานธุรกิจทีร่ ัฐเป็ นเจ ้าของแต่ไม่รวมถึงองค์การหรือกิจการ ทีม ่ ี
วัตถุประสงค์เฉพาะเพือ ่ สงเคราะห์หรือสง่ เสริมการใดๆ ทีม ่ ใิ ชธ่ รุ กิจ
(2) บริษัทจํากัดหรือห ้างหุ ้นสว่ นนิตบิ คุ คลทีก ่ ระทรวง ทบวงกรม หรือทบวง
การเมืองทีม่ ฐ ี านะเทียบเท่า และหรือรัฐวิสาหกิจตาม (๑) มีทน ุ รวมอยู่
ด ้วยเกินรอยละห ้าสบ ิ หรือ
(3) บริษัทจํากัดหรือห ้างหุ ้นสว่ นนิตบ ิ คุ คลทีก ่ ระทรวง ทบวงกรม หรือทบวง
การเมืองทีม ่ ฐ ี านะเทียบเท่า และหรือรัฐวิสาหกิจตาม (๑) และหรือ (๒)
ทีทน ุ รวมอยูด่ ้วยสองในสาม 03
พระราชบัญญัตค
ิ ณ
ุ สมบัตม
ิ าตรฐานฯ ได ้จําแนกบุคลากรของรัฐวิสาหกิจออกเป็ น ๓
ระดับ ได ้แก่

“กรรมการ”
หมายความว่า พนักงานและลูกจ ้างของ หมายความว่า กรรมการในคณะกรรมการ
รัฐวิสาหกิจ และให ้รวมตลอดถึงทีป ่ รึกษาคณะ รัฐวิสาหกิจ และให ้หมายความรวมถึงป
กรรมการ ทีป ่ รึกษารัฐวิสาหกิจ เลขานุการ ประธานกรรมการและรองประธาน
ผู ้ชว่ ยเลขานุการของคณะกรรมการ หรือ กรรมการ
บุคคลซงึ่ ดํารงตําแหน่งทีม ่ อ
ี ํานาจคล ้ายคลึง
กัน แต่เรียกชอ ื่ อย่างอืน
่ ในรัฐวิสาหกิจด ้วย

ทัง้ นีใ้ ห ้ใชเฉพาะเพื อ
่ การกําหนดคุณสมบัต ิ “ผู ้บริหาร”
มาตรฐานและการพ ้นจากตําแหน่งเท่านัน ้
หมายความว่า ผู ้ว่าการ ผู ้อํานวยการ
กรรมการผู ้จัดการ ผู ้จัดการหรือบุคคลซงึ่
“พนักงาน” ดํารงตําแหน่งผู ้บริหารสูงสุดทีม่ อ
ี ํานาจ
หน ้าทีค
่ ล ้ายคลึงกันในรัฐวิสาหกิจนัน ้
4 องค์การมหาชน
- เป็ นหน่วยงานทีร่ ับผิดชอบบริการสาธารณะทางส งั คมและ
วัฒนธรรม และต ้องไม่เป็ นกิจการทีม ่ ล
ี ก
ั ษณะเป็ นการแข่งขัน
กับภาคเอกชน ซงึ่ เป็ นลักษณะต ้องห ้ามตามรัฐธรรมนูญแห่ง
ราชอาณาจักรไทย
- ไม่มวี ต
ั ถุประสงค์ในการแสวงหากำไร
- เป็ นนิตบ ิ ค
ุ คล
- รัฐจัดตัง้ ได ้รับเงินอุดหนุนจากรัฐ หรือสามารถเลีย ้ งตัวเองได ้
รัฐมีอำนาจกำกับดูแลตามทีก ่ ฎหมายกำหนด
- การลงทุนต ้องขอความเห็นชอบจากรัฐ
- บุคลากรมีสถานะเป็ นเจ ้าหน ้าทีข ่ องรัฐ
- บุคลากรมีสถานะเป็ นเจ ้าหน ้าทีข ่ องรัฐ
บุคลากรขององค์การมหาชน (พระราชบัญญัตอิ งค์การมหาชน พ.ศ. 2542)
คณะกรรมการ ผู ้อำนวยการ บุคลากร
คลากรหลักขององค์การมหาชนได ้แก่
เป็ นผู ้ทีม
่ ห
ี น ้าทีบ
่ ริหารกิจการของ บุคลากรผู ้ปฏิบต ั งิ านประจำให ้แก่
องค์การมหาชนให ้เป็ นไปตาม องค์การมหาชน เรียกว่า “เจ ้าหน ้าที่
เป็ นองค์กรสูงสุดทีท
่ ำหน ้าที่ ขององค์การมหาชน” ตามมาตรา 35
ตัดสน ิ ใจ กำหนดนโยบายและ กฎหมาย วัตถุประสงค์ระเบียบ ข ้อ
และผู ้ปฏิบต ั งิ านทีม ่ ลี ักษณะชวั่ คราว
วางระเบียบข ้อบังคับขององค์การ บังคับ ข ้อกำหนด นโยบาย มติ และ
ให ้แก่องค์การมหาชน เรียกว่า “ลูกจ ้าง
มหาชน คณะกรรมการมาจากการ ประกาศของคณะกรรมการ
ขององค์การมหาชน” นอกจากนี้ ยังมี
และเป็ นผู ้บังคับบัญชาเจ ้าหน ้าที่
แต่งตัง้ ของคณะรัฐมนตรีและจะ เจ ้าหน ้าทีข่ องรัฐ ทีม ่ าปฏิบต
ั งิ านใน
และลูกจ ้างขององค์การมหาชนทุก องค์การมหาชนเป็ นการชัว่ คราวได ้
ต ้องมีจำนวนตามทีก ่ ำหนดไว ้ใน ตำแหน่ง
พระราชกฤษฎีกามีอำนาจหน ้าที่ เมือ่ ได ้รับอนุมัตจิ ากผู ้บังคับบัญชา
(มาตรา 31) (มาตรา 36) สิทธิประโยชน์และ
ในการควบคุมดูแลองค์การ ผู ้อำนวยการจะต ้องรับผิดชอบต่อ สวัสดิการต่าง ๆ ของบุคลากรของ
มหาชนให ้ดำเนินกิจการให ้เป็ น คณะกรรมการในการบริหารกิจการ องค์การมหาชนจะได ้รับไม่ต่ำกว่า
ไปตามวัตถุประสงค์ทก ี่ ำหนดไว ้ ขององค์การมหาชน และเป็ นผู ้แทน มาตรฐานขัน ้ ต่ำทีก ่ ำหนดไว ้ใน
และมีอำนาจหน ้าทีเ่ ฉพาะที่ ขององค์การมหาชนในกิจการเกีย ่ ว กฎหมายว่าด ้วยการคุ ้มครองแรงงาน
กำหนดไว ้ในมาตรา 24 กับบุคคลภายนอก (มาตรา 33) กฎหมายว่าด ้วยการประกันสังคม และ
กฎหมายว่าด ้วยเงินทดแทน (มาตรา
38)
พนักงานของรัฐในสว่ นราชการ

พนักงานของรัฐในสว่ นราชการบุคคลซงึ่ ได ้รับการจ ้างตามสญ ั ญา


จ ้างโดยได ้รับค่าตอบแทนจากงบประมาณของสว่ นราชการ เพือ ่ เป็ น
พนักงานของรัฐในการปฎิบต ั งิ านให ้กับสว่ นราชการ คือ กระทรวง
ทบวง กรม หรือสว่ นราชการทีเ่ รียกชอ ื่ อย่างอืน่ และมีฐานะเป็ นกรม
หรือหน่วยงานอืน ่ ใดของรัฐทีม
่ ฐี านะเป็ นส ว่ นราชการตามกฎหมาย
ว่าด ้วยระเบียบบริหารราชการแผ่นดินและกฎหมายว่าด ้วยการ
ปรับปรุงกระทรวง ทบวง กรม เว ้นแต่ราชการสว่ นท ้องถิน ่

ตามระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีวา่ ด ้วยพนักงานราชการ
พ.ศ.2547 ข ้อ3

5
6
พนักงานราชการ คือ บุคคลซงึ่ ได ้รับการจ ้างตามสญ ั ญาจ ้างโดยได ้รับ
ค่าตอบแทนจากงบประมาณของสว่ นราชการเพือ ่ เป็ นเจ ้าหน ้าทีข
่ อง
ั งิ านให ้กับสว่ นราชการนัน
รัฐในการปฏิบต ้ พนักงานราชการ มี 2 ประเภท
คือ พนักงานราชการทั่วไป และพนักงานราชการพิเศษ และจําแนกตําแหน่ง
ตามลักษณะงานและผลผลิตของงาน เป็ น 6 กลุม่ (ตามประกาศ คพร. เรือ่ ง การกําหน
ดลักษณะงานและคุณสมบัตเิ ฉพาะของกลุม
่ งานและการจัดทํากรอบอัตรากําลังพนักงานราชการ พ.ศ. 2554 :
ฉบับใหม่ลา่ สุด)

พนักงานราชการ
พนักงานราชการทั่วไป ปฏิบตั งิ านในลักษณะเป็ นงานประจําทั่วไปของสว่ นราชการ
พนักงานราชการประเภทนีม้ ี 5 กลุม่ คือ

กลุม
่ งานบริการ กลุม
่ งานเทคนิค กลุม
่ งานบริหารทั่วไป
1.เทคนิคทั่วไปมีลักษณะงานทีต ้
่ ้องใชความรู ้
ความชํานาญทางเทคนิคซึง่ ต ้องผ่านการ
มีลักษณะงานเชน ่ เดียวกับที่
มีลักษณะงานเป็ นงานปฏิบต ั ริ ะดับ ึ ษาในระบบ หรืองานทีป
ศก ่ ฏิบตั โิ ดยใช ้
ทักษะเฉพาะบุคคลซึง่ มิได ้ผ่านการศึกษาใน ข ้าราชการปฏิบต ั แ ิ ต่มคี วามจําเป็ นเร่ง
ต ้น ไม่สลับซบ ั ซอนมี
้ ขนั ้ ตอน ด่วนและมีระยะเวลาการปฏิบต ั งิ านที่
ระบบ
ชด ั เจน แน่นอน หรือ ไม่ใช่งานลักษณะเช่น
2.กลุม
่ งานเทคนิคพิเศษ มีลักษณะงานทีต ่ ้อง

ไม่ใชทักษะเฉพาะ ใช ้ความสามารถเฉพาะตัวทักษะพิเศษ เดียวกับทีข่ ้าราชการปฏิบต ั แ
ิ ต่จําเป็ น
ประสบการณ์และความชํานาญในการปฏิบต ั ิ ต ้องใชวุ้ ฒป ิ ริญญา
งาน
1 2 3

กลุม ี เฉพาะ
่ งานวิชาชพ กลุม ี่
่ ต่ เช ยวชาญเฉพาะ

มีลักษณะงานที ้องใช ความรู ้ ประสบการณ์ทฤษฎี
มีลักษณะงานวิชาชพ ี ทีไ่ ม่อาจมอบให ้ หรือ
ผู ้มีคณ
ุ วุฒอ
ิ ย่างอืน
่ ปฏิบตั แ ิ ทนได ้ และ ภูมป ิ ั ญญาท ้องถิน ่ หรือ
มีผลกระทบต่อชีวต ิ และทรัพย์สน ิ ของ เป็ นการพัฒนาระบบ/มาตรฐานทีใ่ ชความรู ้ ้และ
ประชาชน หรือ เป็ นงานทาง ่
ประสบการณ์เชียวชาญเฉพาะ หรือ
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีหรือ เป็ น เป็ นงานทีม ่ ภ
ี ารกิจหรือเป้ าหมายชด ั เจน และมีระยะ
งานทีข่ าดแคลน เวลาสน ิ้ สุดแน่นอน หรือเป็ นงานทีไ่ ม่อาจหาผู ้ปฏิบต ั ท
ิ ี่
เหมาะสมในหน่วยงานได ้
4 5
ปฏิบต
ั งิ านในลักษณะทีต ้
่ ้องใชความรู ้หรือความ
ี่ วชาญ
เชย
พนักงานราชการ สูงมากเป็ นพิเศษ เพือ
่ ปฏิบต ั งิ านในเรือ
่ งทีม
่ คี วามส ําคัญ
และจําเป็ นเฉพาะเรือ่ งของสว่ นราชการหรือมีความจํา
พิเศษ เป็ นต ้องใชบุ้ คคลในลักษณะดังกล่าว
พนักงานราชการประเภทนีม ้ ี 1 กลุม่ คือ

กลุม ี่ วชาญพิเศษ
่ งานเชย

มีลก ้
ั ษณะงานทีใ่ ชความรู ้ ความสามารถประสบการณ์และเชย ี่ วชาญพิเศษระดับสูงเป็ นที่
ยอมรับ หรือ งาน/โครงการทีไ่ ม่อาจหาผู ้ปฏิบตั ท
ิ เี่ หมาะสมในหน่วยงานได ้
หรือ งานทีม
่ ล ั ษณะไม่เป็ นงานประจํา (สว่ นราชการสามารถกําหนดวุฒก
ี ก ึ ษา
ิ ารศก
ประสบการณ์ตามระดับของความเชย ี่ วชาญพิเศษ) เชน ่ ทีป
่ รึกษา ผู ้ทรงคุณวุฒฯิ ลฯ
ิ กลุม
สมาชก ่ ที่ 7

62032867 นางสาวศลิตา สว่างเพ็ง


62032890 นายศุภกฤต หรดี
62032924 นางสาวสมิตานัน เขียวดวงดี
62032935 นายสหัสวรรษ อุปรี
62032957 นางสาวสริ วิ รรณ อ่อนสุวรรณ
62032979 นางสาวสุภค ั ศจี อิม
่ รัง
62032980 นางสาวสุวช ิ า ทองขวัญ
62033004 นายอนุกลู เงินเย็น
62033026 นายอนุรน
ิ ทร์ กันทะ
62033116 นายพีรพัฒน์ พรมนิมต ิ ร

You might also like