อจท.ประวัติศาสตร์สากล ม.4-6 หน่วยที่ 3-2

You might also like

Download as pptx, pdf, or txt
Download as pptx, pdf, or txt
You are on page 1of 35

มรดกทางวัฒนธรรม

• ชาวโรมันเรี ยนรู ้งานศิลปวัฒนธรรมต่างๆ จากกรี ก และดัดแปลงให้สอดคล้องกับความต้องการของตน


• ประสบความสำเร็ จในการสร้างสิ่ งก่อสร้างเพื่อสนองความต้องการของรัฐและประชาชน เช่น
โคลอสเซี ยม สถานที่อาบน้ำสาธารณะ สะพานส่ งน้ำ เป็ นต้น

สะพานส่ งน้ำ (aqueduc)ใช้เพื่อส่ งน้ำให้ชาวเมืองใช้


• งานด้ านสถาปัตยกรรม เน้นความใหญ่โตทนทาน อาคารประตูโค้งที่เป็ นศิลปะ
โดดเด่นของโรมัน ได้แก่ แพนธีออน
• งานประติมากรรม ของชาวโรมันมีลกั ษณะสมจริ งตามธรรมชาติ สะท้อน
บุคลิกภาพและอารมณ์ความรู้สึกของมนุษย์ได้สมจริ ง
• งานประพันธ์ ของโรมันแท้ๆ
มีวตั ถุประสงค์ที่จะสนอง
จักรวรรดิ และสร้าง
ความภาคภูมิใจให้
พลเมืองโรมัน เช่น
มหากาพย์อิเนียด

วิหารแพนธีออน
อารยธรรมจีน
สมัยก่ อนประวัตศิ าสตร์

• พบโครงกระดูกมนุษย์โบราณ
• วัฒนธรรมแรก คือ วัฒนธรรมหยางเซ่า อยูท่ างตอนเหนือของจีน

• มีการเพาะปลูก ทำเครื่ องมือจับปลา เครื่ องปั้ นดินเผา


แบบลายเขียนสี

กระดูกศรี ษะมนุษย์ปักกิ่ง เครื่ องปั้ นดินเผาลายเขียนสี


พบที่ถ ้ำโจวโข่วเตี้ยน ใกล้กรุ งปั กกิ่ง วัฒนธรรมหยางเซ่า
• ในยุคโลหะ-สำริ ด มีวฒั นธรรมหลงซาน อยูเ่ ป็ นชุมชนใหญ่ มีถนน มีการ
จัดระเบียบการปกครอง การทำเครื่ องปั้ นดินเผาแบบรมดำ นำหยกมาเป็ น
เครื่ องมือเครื่ องใช้

ภาชนะสามขาและภาชนะสำริ ดวัฒนธรรมหลงซาน
สมัยประวัตศิ าสตร์

1. ราชวงศ์ ชาง
• มีการประดิษฐ์ตวั อักษรแบบรู ปภาพบนกระดูกสัตว์และบนกระดองเต่า
• มีการทำเครื่ องใช้ต่างๆ ด้วยสำริ ด
• นับถือเทพเจ้าแห่งการเพาะปลูก เรี ยกว่า ชางตี้ ทำปฏิทินบอกฤดูกาล
ต่างๆ ซึ่งมีความสำคัญต่อการเพาะปลูก

ตัวอักษร บนกระดองเต่า ภาชนะสำริ ดในสมัยราชวงศ์ชาง


2. ราชวงศ์ โจว
• เป็ นราชวงศ์ที่ปกครองจีนนานที่สุด ในประวัติศาสตร์ราชวงศ์ของจีน
• มีความเชื่อว่ากษัตริ ยค์ ือโอรสแห่งสวรรค์
• มีความรุ่ งเรื องทางปรัชญา เกิดลัทธิขงจื้อ ลัทธิเต๋ า
• มีการประดิษฐ์เข็มทิศ การประดิษฐ์ตะเกียบเพื่อใช้หยิบอาหารซึ่งได้
กลายเป็ นสัญลักษณ์อย่างหนึ่งของจีน

เล่าจื้อ ผูใ้ ห้ก ำเนิดลัทธิเต๋ า ขงจื้อ ผูใ้ ห้ก ำเนิดลัทธิขงจื้อ


3. ราชวงศ์ ฉิน
• ปฐมจักรพรรดิ คือ จิ๋นซี ฮ่องเต้
• สามารถรวมจีนให้เป็ นปึ กแผ่น และมีอ ำนาจเด็ดขาดในการปกครองมณฑลต่างๆ
• โปรดให้สร้างถนน ขุดคลอง เพื่อเชื่อมโยงราชธานีก บั มณฑลต่างๆ
• ทรงให้สร้างกำแพงเมืองจีน โดยต่อเติมและเชื่อมโยงจากกำแพงที่มีอยูเ่ ดิม
• สัญลักษณ์ของความยิง่ ใหญ่อีกอย่างหนึ่งคือ พระราชวังขนาดใหญ่ และสุ สานที่มีทรัพย์สิน
และรู ปปั้ นขนาดเท่าตัวจริ งของนักรบและม้า
์ น
4. ราชวงศฮ ่ั
• เป็ นสมัยทีจ ่ น
ี มีความเจริญรุง่ เรือง
• เริม
่ มีการสอบจอหงวน
• พระพุทธศาสนาจากอินเดียเริม ่ เผยแผ่สูจ ่ น
ี มีผลต่อความ
เจริญรุง่ เรืองของอารยธรรมจีนมาก
• มีการสำรวจเสนทางสายไหมเพื
้ ่ ใชติ้ ดต่อกับอินเดีย และ

ยุโรป

ภาพวาดการสอบจงหงวน
• ซอื หม่า เชย ี น ได ้ปรับปรุงปฏิทน ิ
จันทรคติ และเขียนหนังสอ ื สอ
ื่ จี้
• มีการประดิษฐ์กระดาษ และ
เครือ่ งมือวัดแผ่นดินไหว
• เมือ่ สนิ้ สุดสมัยราชวงศฮ ์ น
ั่ จีน
เกิด
การแตกแยกภายใน หรือสมัย
สามก๊ก
แต่ในชว่ งเวลาดังกล่าว
พระพุทธศาสนา
มีความเจริญรุง่ เรืองมาก

เครื่ องมือวัดแผ่นดินไหว
์ ัง
5. ราชวงศถ
• จีนกลับมาเป็ นปึ กแผ่นอีกครัง้ และนับ
เป็ นยุคทองของจีน
• มีเขตแดนกว ้างใหญ่ อารยธรรมรุง่ เรือง
สูงสุด โดยเฉพาะด ้านบทกวี และ
จิตรกรรม
• มีการเผยแผ่ศาสนามากมาย และพระ
ถังซำจั๋ง เดินทางไปศก ึ ษาพระพุทธ
ศาสนาทีอ ่ น
ิ เดีย ทำให ้เกิดการแปล
พระไตรปิ ฎกเป็ นภาษาจีนจำนวน
มาก
์ อ
6. ราชวงศซ ้ ง
• จีนถูกชนเผ่าทางเหนือรุกรานจน
ต ้องย ้าย
เมืองหลวงลงมาทางใต ้
• มีการประดิษฐ์ดน ิ ปื น เพือ ้
่ ใชใน
การทำดอกไม ้ไฟ
• งานศล ิ ปะทีโ่ ดดเด่น ได ้แก่ ภาพ
วาด และเครือ ่ งกระเบือ ้ ง
์ ยวน
7. ราชวงศห
• อำนาจและชอ ื่ เสย
ี งของจีนขยายออก
ไปอย่าง
กว ้างขวาง มีอาณาเขตไป
จนถึงยุโรป
• ชาวยุโรปเดินทางเข ้าสูร่ าช
สำนักจีน ทีส ่ ำคัญ คือ มาร์โค
โปโล ได ้เขียนบันทึก
เหตุการณ์เกีย ่ วกับจีนในยุคนัน

ไว ้

กุบไลข่าน
์ มิง
8. ราชวงศห
• ระยะแรก เมืองหลวงอยูท ่ เี่ มืองหนานจิง ต่อ
มาย ้ายไปอยูท ่ เี่ ป่ ย์จงิ
(หรือปั กกิง่ ในปั จจุบน ั )
• มีการสง่ กองเรือขนาดใหญ่ออกสำรวจทาง
ทะเลไป
จนถึงแอฟริกาตะวันออก
• มีการแต่งวรรณกรรมสำคัญ เชน ่ สามก๊ก ไซ
อิว๋
์ งิ
9. ราชวงศช
• ในระยะแรกขยายอำนาจออกไปได ้กว ้าง
ใหญ่ แต่ตอ ่ มาเสอ ื่ มอำนาจเพราะจักรพรรดิ
ไม่มค ี วามสามารถ และเกิด
การฉ ้อราษฎร์บงั หลวงกันมาก
• มีการทำสงครามฝิ่ นระหว่างจีนกับอังกฤษ
ซงึ่ จีนเป็ นฝ่ ายแพ ้
• การเข ้ามาของจักรวรรดินย ิ มตะวันตก เป็ น
สาเหตุหนึง่ ทีท ่ ำให ้การปกครองแบบ
จักรพรรดิสน ิ้ สุดลง

ผูอ
่ ี้ จักรพรรดิจน
ี องค์สด
ุ ท ้าย
อารยธรรมอินเดีย
สมัยก่ อนประวัตศิ าสตร์

ยุคหินเก่า ผูค้ นยังเร่ ร่อนเก็บหาอาหาร ล่าสัตว์


ยุคหินกลาง รู้จกั นำสุ นขั ป่ ามาเลี้ยง ทำเครื่ องมือ
หินให้ดีข้ ึน
ยุคหินใหม่ รู้จกั การเพาะปลูก นำสัตว์มาเลี้ยง
ปั้ นภาชนะใส่ อาหาร รู้จกั ทอผ้า อยูร่ วมกันเป็ นชุมชน มีการ
นับถือพระแม่ธรณี เพื่อความอุดมสมบูรณ์ในการเพาะปลูก
ยุคโลหะ หรื ออารยธรรมลุ่มแม่น้ำสิ นธุ
เป็ นอารยธรรมของชาวอินเดียดั้งเดิม ที่เรี ยกว่า เผ่าทฺรวิฑ

ชาวเผ่าทฺรวิฑ หรื อทมิฬ


มีรูปร่ างเล็ก ผิวคล้ำ
ซากเมืองโมเฮนโจ-ดาโร

• แหล่งอารยธรรมลุม ิ ธุอยูท
่ แม่น้ำสน ่ เี่ มืองโมเฮนโจ-ดาโร
และเมืองฮารัปปา
• ซงึ่ แสดงให ้เห็นถึงความเจริญแบบอารยธรรมเมือง มีการ
วางผังเมือง มีทอ ี่ าบน้ำสาธารณะ มีระบบการระบายน้ำ
ซากเมืองฮารัปปา

• ต่อมาชาวอารยันรุกรานเข ้ามาในอินเดีย และให ้ชาวทมิฬ


เป็ นผู ้รับใช ้ และถูกเรียกว่า ทาส ซงึ่ เป็ นทีม
่ าของการเกิด
วรรณะ
• มีการแต่งบทสรรเสริญพระผู ้เป็ นเจ ้า แต่ไม่มก ี ารจดบันทึก
ต่อมาอินเดียเริม ่ มีการประดิษฐ์ตวั อักษร จึงมีการจดบันทึก
ยุคพระเวท
เรียกตามชอ ื่ พระเวท ส่ วนหนึ่งของคัมภีร์พระเวท
ทีศ ั ดิส
่ ก ิ ธิข
์ ท ์ องชาวอารยัน คือ
1. ฤคเวท เป็ นพระเวททีศ ั ดิส
่ ก ์ ทิ ธิท
์ ส
ี่ ด

เป็ นการสวดอ ้อนวอนให ้เทพเจ ้าประทาน
ชยั ชนะแก่ตน
2. ยชุรเวท เป็ นคัมภีรอ ์ ธิบายวิธป ี ระกอบพิธ ี
บวงสรวง
3. สามเวท เป็ นบทสวดสำหรับการทำพิธ ี
บูชาด ้วยน้ำโสมในพิธข ี องบ ้านเมือง หรือของ
กษั ตริย ์
4. อถรรพเวท เป็ นคัมภีรเ์ กิดขึน ้ ทีหลัง
นับถือเทพและไม่ใชเ่ ทพ ทัง้ ทีใ่ ห ้คุณและให ้
ยุคมหากาพย์
• เรี ยกตามชื่อมหากาพย์ยิง่ ใหญ่ของอินเดีย 2
เรื่ อง คือ มหาภารตะ และรามายณะ
• พวกอารยันได้ขยายอำนาจต่อไปทางตะวัน
ออก และไปตั้งอาณาจักรในเขตพาราณสี
• มีการก่อตั้งอาณาจักรของเผ่าต่างๆ การค้า
และงานฝี มือมีมากขึ้น การบันทึกมีมากขึ้น

ภาพวาดมหากาพย์มหาภารตะ พระกฤษณะ
กับอรชุนกลางสนามรบ
สมัยประวัตศิ าสตร์

ศาสนาฮน ิ ดู
• เชอ ื่ ว่าพระวิษณุและพระศวิ ะ
เป็ นผู ้มาโปรด ชว่ ยให ้พ ้นจาก
ชวี ต ิ ทีย่ ากลำบาก และชว่ ย
ให ้มีชวี ต ิ ทีด ่ กี ว่าในชาติหน ้า
• ยอมรับว่า ทางไปสูส ่ จั ธรรมมี
หลายทาง
• มีเสรีภาพทีจ ่ ะปฏิบต ั ติ าม
ความเชอ ื่ ของตนเอง
ศิวนาฏราช ปางหนึ่งของพระศิวะ เทพเจ้า • มีอท ิ ธิพลต่อวัฒนธรรม
สำคัญองค์หนึ่งในศาสนาพราหมณ์-ฮินดู
อินเดียอย่างมาก
พระพุทธศาสนา
• ถือกำเนิดขึน ้ เพือ
่ ให ้เป็ นทางเลือกของ
มนุษย์ทต ี่ ้องการหลุดพ ้น
จากทุกข์
• หลักคำสอนมีบทบาทสำคัญต่อวิถ ี
การดำเนินชวี ต ิ ของ
ผู ้คน เชน่ เชอื่ เรือ
่ งกรรม ทำดีได ้ดี ทำ
ชวั่ ได ้ชวั่ เป็ นต ้น
• หัวใจของพระพุทธศาสนา คือ การ
ทำความดี ละเว ้น
ความชวั่ ทำจิตในให ้บริสท ุ ธิ์
• ภายหลังพระพุทธเจ ้าปรินพ ิ พาน
พระพุทธศาสนาแยกออกเป็ น 2
เจดียพ์ ทุ ธคยา นิกาย คือ เถรวาท และมหายาน
ราชวงศเ์ มารยะ
• พระเจ ้าจันทรคุปต์ได ้รวบรวมอินเดีย
ให ้เป็ นปี กแผ่น
และรวมอำนาจไว ้ทีศ ่ น
ู ย์กลางได ้เป็พระเจ้
น าอโศกมหาราช
ครัง้ แรก
• กษั ตริยท ์ สี่ ำคัญในเวลาต่อมา คือ
พระเจ ้าอโศกมหาราช ทรงทำนุบำรุง
และ
เผยแผ่พระพุทธศาสนาไปยังดิน
แดนต่างๆ
• เมือ
่ ราชวงศเ์ มารยะหมดอำนาจ
อินเดียถูกต่างชาติหลายพวกรุกราน
เสาหิ นพระเจ้าอโศกมหาราช ทำให ้อินเดียแตกแยกและอ่อนแอ
ราชวงศ์ คุปตะ
• พระเจ้าจันทรคุปต์ที่ 1 เริ่ มรวมประเทศและขยายอำนาจออกไปจากแคว้นมคธ
• เป็ นสมัยแห่งความรุ่ งเรื องทางวิทยาศาสตร์ และคณิ ตศาสตร์ โดยเป็ นผูเ้ ริ ่ มใช้เลขอารบิก และ
เลขศูนย์ ก่อนดินแดนอื่น
• หลังการสิ้ นสุ ดของราชวงศ์คุปตะ อินเดียทางเหนือถูกต่างชาติรุกราน ทำให้ศาสนาอิสลามเริ่ ม
เผยแผ่เข้าสู่ อินเดีย ส่ วนทางใต้ศาสนาพราหมณ์-ฮินดูยงั รุ่ งเรื อง

ถ้ำเอลโลรา ของศาสนาพราหมณ์-ฮินดู เมืองออรังกบาด รัฐมหาราษฎระ


ราชวงศ์ โมกุล
• เป็ นราชวงศ์สุดท้ายที่ปกครองอินเดีย
• ผูก้ ่อตั้งจักรวรรดิโมกุล คือ อักบาร์มหาราช ทรงส่ งเสริ มให้มีขนั ติธรรมทางศาสนา
• สุ ลต่านที่สำคัญอีกพระองค์ คือ ชาห์ เจฮัน ผูส้ ร้างทัชมาฮัล
• จักรวรรดิโมกุลหมดอำนาจลง เมื่ออังกฤษเข้ายึดครองอินเดีย
อินเดียภายใต้ การปกครองของอังกฤษ
• อังกฤษปกครองอินเดียโดยวิธีแบ่งแยกการปกครอง โดยตั้ง
ข้าหลวงเป็ นผูป้ กครอง
• มีการสร้างทางรถไฟ ถนน สะพาน โรงพยาบาล
และจัดการศึกษา
• ต่อมาชาวอินเดียเรี ยกร้องการปกครองตนเอง สมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรี ย
และนำไปสู่ การเรี ยกร้องเอกราช จักรพรรดินีพระองค์แรกแห่งอินเดีย

มหาตมะ คานธี ผูน้ ำชาวอินเดีย


ในการเรี ยกร้องเอกราชจากอังกฤษ
รูปแบบการติดต่อระหว่างโลก
ตะว ันออก
และโลกตะว ันตก
การขยายอำนาจ และการเผยแผ่ ศาสนา

ในสมัยพระเจ้าอะเล็กซานเดอร์มหาราช
แห่งมาซิ โดเนีย รุ กรานเอเชียมีผลทำให้
สถาปั ตยกรรมของกรี กแพร่ หลายใน
เอเชีย

การเผยแผ่ศาสนาในทวีปเอเชีย
ด้วยกัน มีพระพุทธศาสนา และ
ศาสนาอิสลาม ส่ วนศาสนาที่เผยแผ่
ข้ามทวีป คือ คริ สต์ศาสนา ภาพวาดคณะพระธรรมทูตที่เดินทาง
ไปประกาศพระพุทธศาสนาใดินแดน
ต่างๆ
พระพุทธรู ปที่ได้รับอิทธิพล
รู ปแบบประติมากรรมกรี กในสมัย
พระเจ้าอะเล็กซานเดอร์มหาราช
การแสวงหาพันธมิตร และการผจญภัย

• ในสมัยราชวงศ์ฮนั่ มีการส่ งทูตไปยังดินแดน


ทางตะวันตกของจีน เส้นทางที่เดินทางไป
เรี ยกว่า เส้นทางสายไหม
• นักผจญภัย เช่น อิบน์ บัตตูตา ชาวโมร็ อกโก
เดินทางไปยังดินแดนต่างๆ และเป็ นแรง
บันดาลใจให้นกั เดินทางรุ่ นหลังทำตาม

อิบน์ บัตตูตา ชาวโมร็ อกโก นักเดินทางในยุคกลาง


การค้ าขาย
• มีการแลกเปลีย ่ นซอ ื้ ขายสน
ิ ค ้าระหว่างโลกตะวันออกกับโลก
ตะวันตก สน ิ ค ้าของจีนโดยเฉพาะผ ้าไหม เป็ นทีน ่ ย
ิ มของชาว
โรมันชนั ้ สูง
• สมัยกลางชาวยุโรปต ้องการสน ิ ค ้าเครือ
่ งเทศและพริกไทย จึง
เป็ นสาเหตุให ้เกิดการแสวงหาเสนทางเดิ ้ นเรือ

นายพลเจิ้งเหอหรื อซำปอกง แม่ทพั บัญชาการสู งสุ ดของจีน


ในการเดินทางท่องทะเลของเรื อมหาสมบัติ
ต ัวอย่างการแลกเปลีย
่ น
อารยธรรม
ความต้ องการสิ นค้ าจากโลกตะวันออก

• ชนชั้นสู งของชาวโรมัน • ชาวตะวันตกใช้เครื่ องเทศ • ชาวตะวันตก ซื้ อใบชา


นิยมแต่งกายด้วยผ้าไหม และพริ กไทยในการปรุ ง จากจีนจำนวนมากไปปลูก
จีน ผ้าไหมจึงเป็ นที่ รสและถนอมอาหาร ในอาณานิคม ทำให้การ
ต้องการมาก เครื่ องเทศและพริ กไทย ดื่มชากลายเป็ นวัฒนธรรม
จึงกลายเป็ นของจำเป็ น ของชาติตะวันตก เป็ นต้นมา
เลขอารบิกและระบบการคำนวณ

• อินเดียคิดค้นระบบตัวเลขอารบิกมาใช้ • ชาวอินเดียยังได้คิดค้นระบบทศนิยม
แทนเลขโรมัน ขึ้นมาเพื่อใช้ในการคำนวณ

• เมื่อแลกเปลี่ยนสิ นค้า การค้าขาย การคำนวณผลกำไร ขาดทุน จึงจำเป็ นต้องใช้ความรู้ในการ


คำนวณมาเพื่อหาคำตอบ
เข็มทิศ

• จีนประดิษฐ์เข็มทิศได้เป็ น • มีการพัฒนาเข็มทิศเพื่อใช้ • ต่อมาพัฒนาเข็มทิศไว้ใช้


ชาติแรกของโลก ใช้เพื่อ ในการบอกทิศทาง ใน ในการเดินทาง เดินเรื อ
การทำนายเป็ นหลัก ระยะแรกใช้เพื่อหาทิศทาง ชาวอาหรับได้น ำความรู้
ในการก่อสร้างบ้านเมือง จากเรื่ องเข็มทิศจากจีน
ไปใช้ และชาวยุโรปก็รับ
มาจากอาหรับอีกต่อหนึ่ง

You might also like