Download as pptx, pdf, or txt
Download as pptx, pdf, or txt
You are on page 1of 33

ทฤษฎีการเรียนรูข

้ องบลูม
Bloom เป็ นนักการศึกษาชาวอเมริกัน เชื่อว่า การ
เรียนการสอนที่จะประสบความสำเร็จและมี
ประสิทธิภาพนัน้ ผู้สอนจะต้องกำหนดจุดมุ่งหมาย
ให้ชัดเจน และได้แบ่งประเภทของพฤติกรรมโดย
อาศัยทฤษฎีการเรียนรู้และจิตวิทยาพื้นฐานว่า
มนุษย์จะเกิดการเรียนรู้ใน 3 ด้านคือ ด้านสติปัญญา
ด้านร่างกาย และด้านจิตใจ และนำหลักการนี ้
จำแนกเป็ นจุดมุ่งหมายทางการศึกษาเรียกว่า
ั เดิม
กระบวนการและคำศพท์ ั ใหม่
กระบวนการและคำศพท์

1. ความรู ้ (Knowledge) 1. จำ (Remember)

1. ความเข้าใจ(Comprehension) 1. เข ้าใจ (Understand)

1. การนำไปใช ้ (Application) 1. ประยุกต์ใช ้ (Apply)

1. การวิเคราะห์ (Analysis) 1. วิเคราะห์ (Analyze)


1. การสงเคราะห์ (Synthesis) 1. ประเมินค่า (Evaluate)

1. การประเมินค่า (Evaluation) 1. สร ้างสรรค์ (Create)


1.พุทธิพิสัย (Cognitive Domain)
พฤติกรรมด้านสมองเป็ นพฤติกรรมเกี่ยวกับสติปัญญา
ความคิด ความสามารถในการคิดเรื่องราวต่างๆ อย่างมี
ประสิทธิภาพซึ่งพฤติกรรมทางพุทธิพิสัย  6 ระดับ ได้แก่
1.1 ความรู้ (Knowledge) เป็ นความสามารถในการ
จดจำแนกประสบการณ์ต่างๆ และระลึกเรื่องราวนัน ้ ๆ
ออกมาได้ถูกต้องแม่นยำ
1.2 ความเข้าใจ (Comprehension) เป็ นความ
สามารถบ่งบอก ใจความสำคัญของเรื่องราวโดยการแปล
ความหลัก ตีความได้ สรุปใจความสำคัญได้
1. จำ (Remembering) หมายถึง ความสามารถในการ
ระลึกได้ แสดงรายการได้ บอกได้ ระบุ บอกชื่อได้
ตัวอย่างเช่น นักเรียนสามารถบอกความหมายของ
ทฤษฎีได้
2. เข้ าใจ (Understanding) หมายถึง ความสามารถในการแปลความ
หมาย ยกตัวอย่าง สรุป อ้ างอิง ตัวอย่างเช่น นักเรี ยนสามารถอธิบายแนวคิดของ
ทฤษฎีได้
3. ประยุกต์ใช้ (Applying) หมายถึง ความสามารถในการนำไปใช้
1.4 การวิเคราะห์ (Analysis) เป็ นความสามารถในการ
แยกแยะเรื่องราวที่สมบูรณ์ให้กระจายออกเป็ นส่วน
ย่อยๆ ได้อย่างชัดเจน
1.5 การสังเคราะห์ (Synthesis) เป็ นความสามารถใน
การผสมผสานส่วนย่อยเข้าเป็ นเรื่องราวเดียวกัน
โดยปรับปรุงของเก่าให้ดีขน
ึ ้ และมีคุณภาพสูงขึน้
1.6 การประเมินค่า (Evaluation) เป็ นความสามารถ
ในการวินิจฉัยหรือตัดสินกระทำสิ่งหนึ่งสิ่งใดลงไป
การประเมินเกี่ยวข้องกับการใช้เกณฑ์คือ มาตรฐานใน
4. วิเคราะห์ (Analyzing) หมายถึง ความสามารถในการเปรี ยบเทียบ
อธิบายลักษณะการจัดการ ตัวอย่างเช่น นักเรี ยน สามารถบอกความแตกต่างระหว่าง
2 ทฤษฎีได้
5. ประเมินค่ า (Evaluating) หมายถึง ความสามารถในการตรวจสอบ
วิจารณ์ ตัดสิน ตัวอย่างเช่น นักเรี ยนสามารถตัดสินคุณค่าของทฤษฎีได้
6. คิดสร้ างสรรค์ (Creating) หมายถึง ความสามารถในการออกแบบ
(Design) วางแผน ผลิต ตัวอย่างเช่น นักเรี ยนสามารถนำเสนอทฤษฎีใหม่ที่แตก
ต่างไปจากทฤษฎีเดิมได้
ารประเมินด้านพุทธิพิสัย
2. จิตพิสัย (Affective Domain) (พฤติกรรมด้านจิตใจ)
ค่านิยม ความรู้สึก ความซาบซึง้ ทัศนคติ ความเชื่อ ความ
สนใจและคุณธรรม พฤติกรรมด้านนีอ ้ าจไม่เกิดขึน
้ ทันที ดัง
นัน้ การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนโดยจัดสภาพแวดล้อม
ที่เหมาะสม และสอดแทรกสิ่งที่ดีงามอยู่ตลอดเวลา จะทำให้
พฤติกรรมของผู้เรียนเปลี่ยนไปในแนวทางที่พึงประสงค์ได้
จะประกอบด้วย พฤติกรรมย่อยๆ 5 ระดับ ได้แก่
1.การรับรู้
2.การตอบสนอง
3.การเกิดค่านิยม
1.การรับรู้   เป็ นความรู้สึกที่เกิดขึน
้ ต่อปรากฏการณ์
หรือสิ่งเร้าอย่างใดอย่างหนึ่ง
ซึ่งเป็ นไปในลักษณะของการแปลความหมายของสิ่งเร้า
นัน้ ว่าคืออะไร
แล้วจะแสดงออกมาในรูปของความรู้สึกที่เกิดขึน ้
2. การตอบสนอง   เป็ นการกระทำที่แสดงออกมาในรูป
ของความเต็มใจ ยินยอม
และพอใจต่อสิ่งเร้านัน ้ ซึ่งเป็ นการตอบสนองที่เกิดจาก
การเลือกสรรแล้ว
3. การเกิดค่านิยม  การเลือกปฏิบัติในสิ่งที่เป็ นที่ยอมรับ
4. การจัดระบบ  การสร้างแนวคิด จัดระบบของค่านิยม
ที่เกิดขึน

โดยอาศัยความสัมพันธ์ ถ้าเข้ากันได้ก็จะยึดถือต่อไปแต่
ถ้าขัดกัน
อาจไม่ยอมรับอาจจะยอมรับค่านิยมใหม่โดยยกเลิกค่า
นิยมเก่า
5. บุคลิกภาพ  การนำค่านิยมที่ยึดถือมาแสดง
พฤติกรรมที่เป็ นนิสัยประจำตัว
ให้ประพฤติปฏิบัติแต่สิ่งที่ถูกต้องดีงามพฤติกรรมด้านนี ้
จะเกี่ยวกับความรู้สึกและจิตใจ
ซึ่งจะเริ่มจากการได้รับรู้จากสิ่งแวดล้อม แล้วจึงเกิด
3.ทักษะพิสัย (Psychomotor Domain) (พฤติกรรม
ด้านกล้ามเนื้อประสาท)
     พฤติกรรมที่บ่งถึงความสามารถในการปฏิบัติงานได้
อย่างคล่องแคล่วชำนิชำนาญ ซึ่งแสดงออกมาได้โดยตรง
โดยมีเวลาและคุณภาพของงานเป็ นตัวชีร้ ะดับของทักษะ
ประกอบด้วย 5 ขัน ้ ดังนี ้
1.การรับรู้
2.กระทำตามแบบ
3.การหาความถูกต้อง
4.การกระทำอย่างต่อเนื่องหลังจากตัดสินใจ
1.การรับรู้  เป็ นการให้ผู้เรียนได้รับรู้หลักการปฏิบัติที่ถูก
ต้อง หรือ เป็ นการเลือกหาตัวแบบที่สนใจ
2.กระทำตามแบบ หรือ เครื่องชีแ ้ นะ  เป็ นพฤติกรรมที่ผู้
เรียนพยายามฝึ กตามแบบที่ตนสนใจ
และพยายามทำซ้ำ เพื่อที่จะให้เกิดทักษะตามแบบที่ตน
สนใจให้ได้ หรือ
สามารถปฏิบัติงานได้ตามข้อแนะนำ
3.การหาความถูกต้อง พฤติกรรมสามารถปฏิบัติได้ด้วย
ตนเอง โดยไม่ต้องอาศัยเครื่องชีแ ้ นะ  
เมื่อได้กระทำซ้ำแล้ว  ก็พยายามหาความถูกต้องในการ
4.การกระทำอย่างต่อเนื่องหลังจากตัดสินใจเลือกรูปแบบ
ที่เป็ นของตัวเองจะกระทำ
ตามรูปแบบนัน ้ อย่างต่อเนื่อง จนปฏิบัติงานที่ยุ่งยากซับ
ซ้อนได้อย่างรวดเร็ว ถูกต้อง
คล่องแคล่ว  การที่ผู้เรียนเกิดทักษะได้  ต้องอาศัยการ
ฝึ กฝนและกระทำอย่างสม่ำเสมอ
5. การกระทำได้อย่างเป็ นธรรมชาติ พฤติกรรมที่ได้จาก
การฝึ กอย่างต่อเนื่อง
จนสามารถปฏิบัตืได้คล่องแคล่วโดยอัติโนมัติ เป็ นไปอย่าง
จากทฤษฎีดังกล่าวคือผู้เรียนทุกคนนัน ้
ต้องมีพ้นื ฐานในการเรียนรู้ทุกคน  แต่อาจ
จะไม่เท่ากันเพราะคนเรามีการเรียนรู้ที่ต่าง
กัน  บางคนพบเจอสิ่งที่แตกต่างจากคนอื่น
ก็จะมีความรู้ความเข้าใจที่ต่างจากคนอื่น
แต่ถ้าผู้เรียนมีพ้น
ื ฐานในการเรียนรู้
คล้ายๆกันมีความรู้ ความเข้าใจ มีการนำ
ความรู้ไปใช้ประโยชน์คล้ายๆ กัน  ผลการ
เรียนรู้ของคนกลุ่มนีก ้ ็จะคล้ายกันด้วย
https://www.youtube.com/watch?
time_continue=22&v=AGgAuPtK2lc&feature=emb_log
o
การเรียนรู้หมายถึง กระบวนการเปลี่ยนแปลง
พฤติกรรมจากเดิมไปสู่พฤติกรรมใหม่ทค ี่ ่อนข้างถาวร
และพฤติกรรมใหม่นเี ้ ป็ นผลมาจากประสบการณ์หรือ
การฝึ กฝน มิใช่เป็ นผลจากการตอบสนองตามธรรมชาติ
หรือสัญชาตญาณ หรือวุฒิภาวะ หรือพิษยาต่าง ๆ หรือ
อุบัติเหตุ หรือความบังเอิญ พฤติกรรมที่เปลี่ยนไปจะ
ต้องเปลี่ยนไปอย่างค่อนข้างถาวร จึงจะถือว่าเกิดการ
เรียนรู้ขนึ ้ หากเป็ นการ เปลี่ยนแปลงชั่วคราวก็ยังไม่
ถือว่าเป็ นการเรียนรู้

You might also like