หน่วยที่ 3

You might also like

Download as ppt, pdf, or txt
Download as ppt, pdf, or txt
You are on page 1of 25

อาจารย์ ดร.

ลักษณา ศริ วิ รรณ


ประธานกรรมการบริหารชุดวิชา33303
นโยบายสาธารณะและการวางแผน
1 ความรู ้เบื้องต้นเกี่ยวกับนโยบายสาธารณะ
2 ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อนโยบายสาธารณะ
3 การวิเคราะห์นโยบายสาธารณะ
4 การกำหนดนโยบายสาธารณะ
5 การนำนโยบายสาธารณะไปปฏิบตั ิ
6 การประเมินผลนโยบายและการพัฒนานโยบายสาธารณะ
7 ปัญหาและแนวทางพัฒนานโยบายสาธารณะในประเทศไทย
8 ความสัมพันธ์ระหว่างนโยบาย แผน และโครงการ
9 ทฤษฎีและแนวคิดเกี่ยวกับการวางแผนพัฒนา
10 การวางแผนยุทธศาสตร์การพัฒนา
11 การศึกษาความเป็ นไปได้ของโครงการ
12 การวางแผน การดำเนิน การควบคุมโครงการ
13 การติดตามและประเมินผลโครงการ
14 แผนและโครงการในประเทศไทย
15 ระบบสารสนเทศกับกระบวนการนโยบายสาธารณะและการวางแผน
ตอนที่ 3.1 แนวคิดพืน้ ฐานของการวิเคราะห์
นโยบายสาธารณะ
ตอนที่ 3.2 แนวทาง กระบวนการ และ
ระเบียบวิธีการวิเคราะห์นโยบายสาธารณะ
ตอนที่ 3.3 เทคนิคสำหรับวิเคราะห์นโยบาย
สาธารณะ
ขอบเขตการวิเคราะห์นโยบาย
จำแนกตามกิจกรรม
ขอบเขตการวิเคราะห์นโยบาย
จำแนกตามแนวทางการศึกษา
การประเมินนโยบายเพือ่ เสนอแนะมาตรการนโยบาย
การเก็บรวบรวมข้อมูลและการวิเคราะห์มาตรการและผลกระทบของ
นโยบาย
เพือ่ การตัดสินใจ
การเสนอแนวทางการปรับปรุงกลไกและ
ประกอบด้วย 3 แนวทาง(William Dunn, 1994: 63)
แนวทาง/ คำถามพืน้ ฐาน ประเภทของข้ อมูล
ขอบเขต
แนวทางเชิง สิง่ นันหรื
้ อจะเกิดขึ ้นนันคื
้ ออะไร การพรรณนาและการ
ประจักษ์ ทำนาย
แนวทางเชิง คุณค่าของสิง่ นันคื
้ ออะไร คุณค่า
ประเมิน
แนวทางเชิงปทัส สิง่ ที่ควรดำเนินการคืออะไร ข้ อเสนอแนะ
•ช่ วยให้ เกิดการปรั บปรุ งประสิ ทธิ ภาพการปฏิบัติงาน
•ปรั บปรุ งการจัดสรรทรั พยากร
•ทำให้ ผ้ เู กี่ยวข้ องกับนโยบายสามารถรั บมือกับ
สิ่ งแวดล้ อมที่เปลี่ยนนโยบายได้ ดีขึน้
•ช่ วยประเมินผลแผนและแผนงาน
จริ ยธรรมของการวิเคราะห์
1. หลักความซื่อสั ตย์ :
2. หลักสมรรถนะ :
3. หลักความรับผิดชอบ :
4. หลักการให้ ความเคารพ : การปฏิบตั ิต่อบุคคลอื่นให้เหมือนเช่น
ที่ตอ้ งการให้ผอู้ ื่นปฏิบตั ิต่อตน
5. หลักแห่ งความใส่ ใจ : โดยเฉพาะการให้ความใส่ ใจผูซ้ ่ ึ งเป็ นเป้ าหมาย
ของมาตรการตลอดจนผูไ้ ด้รับผลกระทบ
ประเด็นทางวัฒนธรรม และ
ภาพลักษณ์ของผูเ้ กี่ยวข้อง
1. การนิยามประเด็นปัญหาอย่ างมีจริยธรรม
2. การกำหนดทางเลือกอย่ างมีจริยธรรม
3. การกำหนดทางเลือกอย่ างมีจริยธรรม
4. การคาดหมายผลลัพธ์ อย่ างมีจริยธรรม
5. ความกล้ าได้ กล้ าเสียทีว่ างอย่ บู นพืน้ ฐานทางจริ ยธรรม
6. การเขียนรายงานทีอ่ ย่ บู นพืน้ ฐานของจริยธรรม
ตอนที่ 3.1 แนวคิดพื้นฐานของการวิเคราะห์
นโยบายสาธารณะ
ตอนที่ 3.2 แนวทาง กระบวนการ และ
ระเบียบวิธีการวิเคราะห์นโยบายสาธารณะ
ตอนที่ 3.3 เทคนิคสำหรับวิเคราะห์นโยบาย
สาธารณะ
• แนวทางกระบวนการตัดสินใจอย่ างมีเหตุผล :เน้ นกระบวนการใช้ เหตุผลและข้ อมูล
ประกอบการวิเคราะห์เพื่อแสวงหาข้ อเสนอเชิงนโยบายและทางเลือกที่ก่อให้ เกิดประโยชน์
สูงสุด
• แนวทางเกมทางการเมือง : กระบวนการของการใช้ อำนาจและกระบวนการเจรจาต่อ
รอง
• แนวทางวาทกรรม : เน้ นการสร้ างเวทีการโต้ เถียงให้ มีความหลากหลายความคิดจาก
กลุม่ ต่าง ๆ เพื่อสะท้ อนกรอบความคิด สร้ างการเรี ยนรู้และรับรู้ทศั นภาพระหว่างกัน
• แนวทางหน้ าต่ างนโยบาย : นโยบายมีลกั ษณะที่ไม่เป็ นขันตอนและเปลี
้ ่ยนแปลงง่าย ขึ ้น
อยูก่ บั ความสอดคล้ องและการบรรจบกันของปั ญหา มาตรการนโยบาย การเมือง และผู้มี
ส่วนเกี่ยวข้ องในจังหวะเวลาที่เหมาะสม
•แนวทางกระบวนการสถาบัน : นโยบายเป็ นการผลิตซ้ำ มาตรการที่เคยมีอยูเ่ ดิมซึง่ ถูก
การระบุและ
วิเคราะห์ ปัญหา

การกำหนด
การสรุ ปเสนอแนะ ทางเลือกนโยบาย

การพัฒนาเกณฑ์
การประเมินทางเลือก ในการประเมิน
ระเบียบวิธีการวิเคราะห์ นโยบายสาธารณะ
ครอบคลุม 2 ระบบ
ระบบแรก คือ วิธีการวิเคราะห์ นโยบาย
ระบบที่สอง คือ ข้ อมูลที่เกี่ยวกับนโยบาย
ที่มา: Dunn, W.N. (2004).. .Public Policy Analysis. (3rd ed.). Englewood Cliffs, NJ: Prentice Hall.
การกำหนดโครงสร้างปัญหา ปัญหานโยบาย

การพยากรณ์ อนาคตนโยบาย

การเสนอแนะ การนำนโยบายไปปฏิ บัติ

การกำกับนโยบาย ผลลัพธ์นโยบาย

การประเมิน ระดับความสำเร็จของนโยบาย
ตอนที่ 3.1 แนวคิดพื้นฐานของการวิเคราะห์
นโยบายสาธารณะ
ตอนที่ 3.2 แนวทาง กระบวนการ และ
ระเบียบวิธีการวิเคราะห์นโยบายสาธารณะ
ตอนที่ 3.3 เทคนิคสำหรับวิเคราะห์ นโยบาย
สาธารณะ
การฉายภาพอนาคตที่เป็ นไปได้ของประเด็นที่ศึกษา และการนำภาพ
อนาคตมานั้นเป็ นฐานในการตัดสิ นใจ 5 ขั้นตอน ประกอบด้วย
การระบุขอบข่ายของฉากอนาคต
การระบุปัจจัยสำคัญ
การวิเคราะห์ปัจจัยสำคัญ
การสร้างฉากอนาคต
การนำไปสู่ การประยุกต์
ที่มา: Kosow, Hannah and Robert Gaßner. (2008). Methods of Future and Scenario Analysis.
Overview, Assessment and Selection Criteria. DIE Studies, 39. Bonn: German Development
Institute.
บุคคล กลุม่ ตลอดจนหน่วยงานจะได้รบั หรืออาจได้รบั ผลกระทบ
จากการกำหนดมาตรการนโยบาย ซึง่ ผลกระทบนัน้ อาจเป็ นได้
ทัง้ ผลประโยชน์และผลเสีย เป้ าหมายของการวิเคราะห์ผูม้ สี ่วน
เกีย่ วข้องก็เพือ่ ให้นกั วิเคราะห์นโยบายและผู ก้ ำหนดนโยบายมี
ความเข้าใจถึงความสัมพันธ์ ของผู ท้ อี่ าจจะเข้ามามีอทิ ธิผลหรือได้
รับผลกระทบจากนโยบาย
เทคนิคในการทำความเข้าใจพลังของผูท้ ี่เกี่ยวข้อง ซึ่ งจะนำไปสู่
การออกแบบกระบวนการนโยบายได้อย่างเหมาะสม 6 ขั้นตอน
การพัฒนาเป้ าหมายกระบวนการวิเคราะห์และทำความเข้าใจระบบ
การระบุกลุ่มผูม้ ีส่วนเกี่ยวข้องที่สำคัญ
การตรวจสอบผลประโยชน์
การระบุรูปแบบและบริ บทการมีปฏิสมั พันธ์ของผูม้ ีส่วนเกี่ยวข้อง
การประเมินอำนาจและศักยภาพของผูม้ ีส่วนเกี่ยวข้อง
การประเมินทางเลือกและใช้ประโยชน์จากข้อค้นพบ
(Mayers, 2001: 4-12)
อำนาจและศักยภาพ
ของผู้มีส่วนเกี่ยวข้ อง ศักยภาพสูง ศักยภาพต่ำ

สร้ างความร่ วมมือ ลดผลกระทบ และต่อ


อำนาจมาก ต้ าน

สร้ างการมีสว่ นร่วม สร้ าง ติดตามและเพิกเฉย


รักษาผลประโยชน์
อำนาจน้ อย

ที่มา: Mayers, J. (2001). Stakeholder Power Analysis, Power Tools Series no 2, IIED, London.
เทคนิคในการประเมินต้นทุนและผลประโยชน์ที่จะเกิดขึ้นจากทางเลือกนโยบาย
โดยคำนึงความแตกต่างของมูลค่าในปัจจุบนั และอนาคต 8 ขั้นตอน
การกำหนดขอบเขตของการศึกษา
การระบุผลกระทบต่อนโยบาย
การประเมินต้นทุนและผลประโยชน์ของนโยบาย
การคำนวณค่าเสี ยโอกาส
การคำนวณหามูลค่าที่แท้จริ ง
การสะท้อนถึงคุณค่าของคุณภาพชีวติ และคุณค่าความเป็ นมนุษย์
การรายงานข้อสันนิษฐานและข้อจำกัดของการศึกษา
การแสดงผลลัพธ์จากการสถานการณ์ที่หลากหลาย
(Mintrom, 2012: 225-245)
เป็ นเทคนิคซึ่งประยุกต์แนวคิดทางเศรษฐศาสตร์เพือ่
ประเมินค่าประโยชน์และต้นทุนของทางเลือกนโยบาย วิธี
การปรับมูลค่าในอนาคตและการประเมินต้นทุน ผล
ประโยชน์ที่ไม่เป็ นตัวเงินให้อยู่ในรูปของมูลค่าซึ่งประเมินได้
ทำให้นักวิเคราะห์นโยบายสามารถจัดลำดับทางเลือกได้
อย่างเหมาะสมมากยิ่งขึ้น

You might also like