ลักษณะสำคัญของสัญญาเช่าทรัพย์ 12

You might also like

Download as pptx, pdf, or txt
Download as pptx, pdf, or txt
You are on page 1of 11

สัญญาเช่าทรัพย์

สัญญาซึ่งบ ุคคลคนหนึ่งเรียกว่าผูใ้ ห้เช่า ตกลง


ให้บ ุคคลอีกคนหนึ่งเรียกว่าผูเ้ ช่าได้ใช้หรือได้รบั
ประโยชน์ในทรัพย์สินอย่างใดอย่างหนึ่งชัว่ ระยะเวลา
อันมีจำกัด และผูเ้ ช่าตกลงจะให้ค่าเช่าเพื่อการนัน้
มาตรา 537
ลักษณะสำคัญของสัญญา

 1. เป็นสัญญาที่มีบ ุคคล 2 ฝ่าย


คู่สญ
ั ญาทัง้ สองฝ่ายคือ ผูใ้ ห้เช่าฝ่ายหนึ่งกับ ผู้
เช่าอีกฝ่ายหนึ่ง ซึ่งฝ่ายผูใ้ ห้เช่าไม่จำเป็ นต้องเป็ น
เจ้าของกรรมสิทธิ์ในทรัพย์สินที่เช่า
(คำพิพากษาฎีกาที่ 410/2515, 2152-2167/2521,2170-2190/2521)
 2. ผูใ้ ห้เช่าตกลงให้ผเ้ ู ช่าได้ใช้หรือได้รบั ประโยชน์ใน
ทรัพย์สินอย่างใดอย่างหนึ่ง
-สัญญาเช่ามิได้มขี นึ้ เพื่อวัตถุประสงค์ในการโอน
กรรมสิทธิ์ในทรัพย์สินที่เช่า แต่มวี ตั ถุประสงค์ที่จะให้ผเู้ ช่าได้
ครอบครองทรัพย์สินที่เช่าเพื่อจะได้ใช้ทรัพย์สินที่เช่า
-สัญญาเช่าทรัพย์เป็ นสัญญาต่างตอบแทน เพราะคู่
สัญญาเช่าทรัพย์นนั้ ต่างเป็ นเจ้าหนีแ้ ละลูกหนีซ้ ึ่งกันและกัน
ซึ่งหน้าที่สำคัญฝ่ ายผูใ้ ห้เช่าต้องส่งมอบทรัพย์ที่เช่าให้ตกอยู่
ในความครอบครองของผูเ้ ช่า เพื่อให้ผเู้ ช่าได้ใช้หรือได้รบั
ประโยชน์จากทรัพย์สินที่เช่า และผูเ้ ช่ามีหน้าที่ตอ้ งชำระค่าเช่า
เพื่อเป็ นการตอบแทนการได้ใช้หรือได้รบั ประโยชน์จาก
ทรัพย์สินนัน้
-ผูใ้ ห้เช่าไม่จ ำเป็ นต้องเป็ นเจ้าของทรัพย์สินที่ให้เช่า
 คำพิพากษาฎีกาที่ 166/2477 เมื่อผูเ้ ช่าได้รบั ประโยชน์
จากสัญญาเช่าพร้อมบริบรู ณ์แล้วจะคัดค้านว่าผูใ้ ห้เช่าไม่ใช่
เจ้าของและไม่ยอมชำระค่าเช่านัน้ ไม่ได้

 คำพิพากษาฎีกาที่ 410/2515 ผูใ้ ห้เช่าไม่จำเป็นต้อง


เป็ นเจ้าของกรรมสิทธิ์ในทรัพย์สินที่เช่า ผูเ้ ช่าจะอ้างเหต ุนัน้
เพื่อไม่ชำระค่าเช่าตามสัญญาไม่ได้ เมื่อจำเลยยินยอมเช่าที่
รายนี้จากโจทก์ โจทก์ยอ่ มมีสิทธิและหน้าที่ในฐานะเป็นผูใ้ ห้
เช่าตามสัญญาเช่านัน้ เมื่อโจทก์เห็นว่าจำเลยทำผิดสัญญา
เช่า โจทก์ผใ้ ู ห้เช่าก็ยอ่ มมีอำนาจจะฟ้องจำเลยผูเ้ ช่าได้ใน
ฐานะที่คสู่ ญ
ั ญากับจำเลย จำเลยไม่มีสิทธิจะคัดค้านโต้แย้ง
อำนาจของผูใ้ ห้เช่าที่ตนยินยอมทำสัญญาด้วยนัน้ ได้
ข้อสังเกต
ถ้าเจ้าของทรัพย์สินมิได้รเ้ ู ห็นยินยอมให้ผเ้ ู ช่านำทรัพย์สินของ
ตนไปให้บ ุคคลอื่นเช่า หากปรากฏว่ามีการให้เช่าทรัพย์สินดังกล่าว
การเช่าก็ไม่มีผลผูกพันเจ้าของทรัพย์สินนัน้ และเจ้าของมีอำนาจ
ฟ้องขับไล่ผเ้ ู ช่าได้
คำพิพากษาฎีกาที่ 83/2532 ส เช่าที่ดินจาก ท 20 ปี นับตัง ้ แต่วนั ที่
1 เมษายน 2500 แล้วมอบให้จำเลยที่ 1 เก็บกินผลประโยชน์ สิทธิ
ของจำเลยที่ 1 หมดลงเมื่อวันที่ 1 เมษายน 2520 สัญญาระหว่าง
จำเลยทัง้ สองลงวันที่ 5 กันยายน 2520 เป็นการทำสัญญาภายหลัง
จากที่สิทธิของจำเลยที่ 1 หมดไปแล้ว ทัง้ ไม่ปรากฏว่าโจทก์ทงั้ สาม
ได้มอบหมายหรือยินยอมในการเช่า จึงเป็นการเช่าโดยไม่มี
อำนาจ แม้จำเลยที่ 2 จะส ุจริตและจดทะเบียนการเช่าต่อพนักงาน
เจ้าหน้าที่ ก็ไม่อาจยกขึ้นเป็ นข้อต่อสูต้ ่อโจทก์ทงั้ สามผูเ้ ป็นเจ้าของ
กรรมสิทธิ์ได้
 3. วัตถ ุแห่งสัญญาเป็ นทรัพย์สิน
ทรัพย์สินที่เป็ นวัตถ ุแห่งสัญญาเช่าจะเป็ น
สังหาริมทรัพย์หรืออสังหาริมทรัพย์ก็ได้หรือสิทธิใด ๆ
ก็ได้ เช่น บ้าน ที่ดิน รถยนต์ สิทธิในเครือ่ งหมายการค้า
หรือลิขสิทธ์ เป็ นต้น

 4. ผูเ้ ช่าตกลงให้ค่าเช่าเพื่อการนัน้
“ค่าเช่า” จะเป็ นเงิน หรือสิ่งใด ๆ ก็ได้ ซึ่งเป็ นการ
ตอบแทนแก่ผใ้ ู ห้เช่าที่ให้ผเ้ ู ช่าได้ใช้ประโยชน์ในทรัพย์สิน
นัน้
 คำพิพากษาฎีกาที่ 268/2501 จำเลยเข้าอยูใ่ นห้องที่โจทก์
เช่ามา โดยจำเลยเสียเงินให้โจทก์เท่าค่าเช่าที่โจทก์ตอ้ งชำระให้แก่
ผูใ้ ห้เช่า และจำเลยให้หน้ ุ ในการค้าแก่โจทก์ 1 หน้ ุ โดยโจทก์ไม่ตอ้ ง
ออกเงินลงท ุนค่าหน้ ุ ดังนี้ เป็นลักษณะจำเลยเช่าทรัพย์โจทก์ ไม่ใช่
อาศัยเพราะการอาศัยผูเ้ ช่าได้ใช้หรือได้รบั ประโยชน์ในทรัพย์สิน
อย่างใดอย่างหนึ่งชัว่ ระยะเวลาจำกัดตามที่กฎหมายบัญญัติไว้

 คำพิพากษาฎีกาที่ 1531/2492 ตกลงค่าเช่ากันด้วยข้าว


เปลือก เมื่อมีการฟ้องเรียกค่าเช่าที่คา้ งชำระ จะต้องคิดราคาข้าว
ในขณะที่โจทก์ฟ้อง
 5. เป็ นสัญญาที่มกี ำหนดระยะเวลาอันมีจ ำกัด
การเช่าทรัพย์สินนัน้ ต้องเป็ นเป็ นการตกลงเช่ากันโดยมี
ระยะเวลาในการเช่าเสมอ ซึ่งระยะเวลาในการเช่านัน้ อาจตกลง
กันได้เป็ น 2 ลักษณะคือ
 กำหนดระยะเวลาเช่าเป็ นชัว ่ โมง วัน สัปดาห์ เดือน หรือปี
ก็ได้ แต่ถา้ เป็ นกรณีการเช่าอสังหาริมทรัพย์หา้ มมิให้
กำหนดเวลาเช่าเกินกว่า 30 ปี หากได้ตกลงกันได้เกินกว่า
นัน้ ให้ลดลงเหลือ 30 ปี (มาตรา 540)
 กำหนดระยะเวลาเช่ากันตลอดอายุของผูเ้ ช่าหรือผูใ้ ห้เช่า
หมายความว่าสัญญาเช่าจะระงับลงเมือ่ ผูเ้ ช่าหรือผูใ้ ห้เช่า
ฝ่ ายใดฝ่ ายหนึง่ ตายตามที่ตกลงกันไว้ในสัญญา (มาตรา
541)
กรณีที่คส่ ู ญั ญาได้ท ำสัญญาเช่ากันโดยไม่มกี ำหนด
ระยะเวลาเช่ากันไว้แน่นอน ก็อาจมีระยะเวลาสิ้นสุดได้เช่นกัน
ซึ่งหากสันนิษฐานได้ตามกฎหมายก็ให้สญ ั ญาเช่ามีก ำหนด
ระยะเวลาเช่ากันตามข้อสันนิษฐานนัน้ (มาตรา 565) และหากเป็ น
กรณีที่ไม่อาจสันนิษฐานได้ คูส่ ญ ั ญาฝ่ ายใดฝ่ ายหนึง่ มี
สิทธิบอกเลิกสัญญาได้ ตามมาตรา 566 คือ “.....ต้องบอกกล่าวอีก
ฝ่ ายหนึง่ ให้รตู้ วั ก่อน ชัว่ กำหนดเวลาชำระค่าเช่าระยะหนึง่ เป็ น
อย่างน้อย แต่ไม่จ ำต้องบอกกล่าวล่วงหน้ากว่าสองเดือน”
 6. เป็นสิทธิเฉพาะตัวของผูเ้ ช่า
สัญญาเช่าเป็ นสัญญาที่ผใ้ ู ห้เช่าคำนึงถึงค ุณสมบัติ
ของผูเ้ ช่าเป็ นสำคัญว่าจะให้เช่าทรัพย์สินนัน้ หรือไม่
เพราะตามสัญญาเช่าผูเ้ ช่ามีสิทธิเพียงได้ใช้หรือได้รบั
ประโยชน์ในทรัพย์สินที่เช่า โดยผูเ้ ช่าจะเป็ นผูค้ รอบครอง
ด ูแลทรัพย์สินแทนผูใ้ ห้เช่า
ดังนัน้ เมื่อผูเ้ ช่าตามสัญญาเช่าก็ระงับลงทันที สิทธิ
ในสัญญาเช่านี้จึงเป็นสิทธิเฉพาะตัวของผูเ้ ช่าไม่ตกทอด
ถึงทายาท

กรณีสิทธิเฉพาะตัวของผูเ้ ช่า ตามประมวลกฎหมายแพ่ง
และพาณิชย์ไม่ได้ก ำหนดเอาไว้แต่ได้มคี ำพิพากษาฎีกาวาง
บรรทัดฐานเอาไว้ ดังนีถ้ ึงคุณสมบัตขิ องผูเ้ ช่าว่าจะสมควรได้รบั
ความไว้วางใจในการใช้ทรัพย์ที่เช่า และในการดูแลรักษาทรัพย์สิน
ที่เช่าหรือไม่ ฉะนัน้ สิทธิของผูเ้ ช่าจึงมีสภาพเป็ นการเฉพาะตัว
เมือ่ ผูเ้ ช่าตายสัญญาเช่าเป็ นอันระงับไม่ตกทอดถึงทายาท
คำพิพากษาฎีกาที่ 540/2517 สัญญาเช่าเป็ นสิทธิเฉพาะตัว
ของผูเ้ ช่า เมือ่ สามีจ ำเลยซึ่งเป็ นผูเ้ ช่าอาคารของโจทย์ตาย
สัญญาเช่าอาคารพิพาทก็เป็ นอันระงับไป

You might also like