Download as pptx, pdf, or txt
Download as pptx, pdf, or txt
You are on page 1of 27

บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วนสอน

เรื่อง ปิ โตรเลียม
PETROLEUM
เข้าสู่บทเรียน

EXIT
บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วนสอน
เรื่อง ปิ โตรเลียม
จุดประสงค์การเรียนรู้

ช่วยเหลือผูเ้ รียน

เข้าสู่เนื้อหา

เอกสารอ้ างอิ ง

ผูจ้ ัดทำ
กลับหน้าแรก
บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วนสอน ปิ โตรเลียม
แบบทดสอบก่อนเรียน แบบทดสอบหลังเรียน แบบฝึ กหัด ออก

กำเนิดและแหล่งปิ โตรเลียม

เนื้อหาการ การกลั่นน้ำมันปิ โตรเลียม


เรียนรู้ แก๊สธรรมชาติ

สารประกอบไฮโดรคาร์บอน

เชื้อเพลิงในชีวิตประจำวัน

กลับเมนู
จุดประสงค์การ
เรียนรู ้
1. อธิบายการเกิดปิ โตรเลียมและการกลน ่ ั ลำด ับ
สว่ นน้ำม ันดิบได้
2. อธิบายการเกิดแก๊สธรรมชาติและกระบวนการ
แยกแก๊สธรรมชาติได้
3. อธิบายประโยชน์ของผลิตภ ัณฑ์ทเี่ กิดจากการ
แยกน้ำม ันดิบได้
4. อธิบายประโยชน์ของผลิตภ ัณฑ์ทเี่ กิดจากการ
แยกแก๊สธรรมชาติได้
้ จากการใช ้
5. อธิบายปลกระทบทีเ่ กิดขึน
ผลิตภ ัณฑ์จากปิ โตรเลียมและวิธป
ี ้ องก ันได้
กล ับเมนู
เอกสาร
อ้างอิง
• การเกิดปิ โตรเลียม.(ออนไลน์).ทีม
่ า:
https://sites.google.com/site/putsadanoodeesci/bth-thi-3-
kar-keid-pitorleiym ื ค ้นเมือ
สบ ่ 12 กรกฎาคม พ.ศ.2558
• ผลิตภ ัณฑ์จากการกลน ่ ั ปิ โตรเลียม .(ออนไลน์).ทีม่ า:
http://www.vcharkarn.com/lesson/1050 สบ ื ค ้นเมือ่ 12 กรกฎาคม
พ.ศ.2558
• แก๊สธรรมชาติ.(ออนไลน์).ทีม
่ า:
http://www.gasforcars.net/basic_ngv.php ื ค ้นเมือ
สบ ่ 12
กรกฎาคม พ.ศ.2558
• สารประกอบไฮโดรคาร์บอน.(ออนไลน์).ทีม่ า:
http://www.vcharkarn.com/lesson/1052 สบ ื ค ้นเมือ
่ 12
กรกฎาคม พ.ศ.2558
• เชอ ื้ เพลิงในชวี ต
ิ ประจำว ัน.(ออนไลน์).ทีม
่ า:
กล ับเมนู
http://www.vcharkarn.com/lesson/1053 สบ ื ค ้นเมือ
่ 12 กรกฎาคม
กำเนิดและแหล่งปิ โตรเลียม
ความหมายของปิ โตรเลียม

ปิ โตรเลียม คือสารผสมทีม ่ อี งค์


ประกอบสว่ นใหญ่เป็นสารประกอบ
ไฮโดรคาร์บอนทงชนิ ั้ ดอิม
่ ต ัวและไม่
อิม
่ ต ัวหลายชนิด ตงแต่ ั้ โมเลกุล
ขนาดเล็กๆ ไปจนถึงโมเลกุลขนาด
ใหญ่ ต ัวอย่าง เชน ่ น้ำม ันดิบหรือ
น้ำม ันปิ โตรเลียม และแก๊สธรรมชาติ

กล ับ
้ หา
เนือ
กล ับเมนู หน้า 1/3 Next
กำเนิดและแหล่งปิ โตรเลียม
การเกิด
ปิ โตรเลียม
ปิ โตรเลียม เกิดจาก ซากพืชซากสัตว์ทบั ถม
กันอยูใ่ นชั้นกรวด ทราย และโคลนตม เกิดเป็ นชั้น
ตะกอนทับถมเพิ่มขึ้นเป็ นเวลานานนับล้านๆปี
ความกดดันจากการทับถมและความร้อนใต้ผวิ โลก
รวมทั้งการถูกย่อยสลายโดยแบคทีเรี ย แบบไม่ใช้
ออกซิเจน ทำให้เกิดปฏิกิริยาย่อยสลายเป็ นแก๊ส
ธรรมชาติ น้ำมันดิบ และหิ นน้ำมัน ซึ่งรวมเรี ยกว่า
ปิ โตรเลียม ซึ่งเราจัดรวมเป็ น เชื้ อเพลิงฟอสซิล
(fossil fuel) ประเภทหนึ่ง
กลับเนื้อหา กลับเมนู หน้า 2/3 Back Next
กำเนิดและแหล่งปิ โตรเลียม
การสำรวจแหล่ง
ปิ โตรเลียม
การสำรวจแหล่งปิ โตรเลียมใช ้
ความรู ้ทางธรณีวท ิ ยา และธรณี
ิ สป
ฟิ สก ์ ระกอบกันดังนี้
1. ทางธรณีวท ้
ิ ยา ใชภาพถ่ ายทาง
อากาศ ภาพดาวเทียม แผนที่
เป็ นข ้อมูลในการคาดคะเน
โครงสร ้างและชนิดของหิน
2. ทางธรณีฟิสก ิ ส ์ ได ้แก่การวัด
ค่าแรงดึงดูดของโลก เพือ ่
กล ับวิเคราะห์ความแตกต่างของชน ั้
้ หา
เนือ หิน ใต กล
้ผิ
ว ับเมนู
โลก หน้
ทำให ้ได ้ข ้อมูล า 3/3 Back Next
การกลั่นน้ำมันปิ โตรเลียม
การกลั่นน้ำมันปิ โตรเลียม
น้ำมันดิบหรื อปิ โตรเลียม ส่ วนมากมีสีด ำหรื อสี น้ำตาล มีสมบัติแตก
ต่างกัน ตามแหล่งที่พบ บางแหล่งมีไขมาก บางแหล่งมียางมะตอยมาก
ส่ วนใหญ่ประกอบด้วยคาร์บอน 85-90% ไฮโดรเจน 10-15% กำมะถัน
0.001 - 7% ออกซิเจน 0.001 – 5% นอกจากนั้นเป็ นไนโตรเจนและ
โลหะอื่นๆ
การนำมาใช้ประโยชน์จะต้องนำน้ำมันดิบไปผ่านกระบวนการแยก
สารอื่นๆที่ปนอยูอ่ อกก่อน แล้วจึงนำส่ วนที่เป็ นไฮโดรคาร์บอนไปกลัน่
แยกออกเป็ นผลิตภัณฑ์ต่างๆ

กลับเนื้อหา กลับเมนู หน้า 1/6 Back Next


การกลั่นน้ำมันปิ โตรเลียม
หลักการกลั่นแยกน้ำมันดิบ
การกลัน่ แยกองค์ประกอบแต่ละสว่ นจากน้ำมันดิบ ใช ้
หลักการกลัน ่ ลำดับสว่ น (fractional distillation) มี
กระบวนการโดย ทำให ้น้ำมันดิบได ้รับความร ้อนสูงถึง 500
องศาเซลเซย ี ส สารทุกชนิดจะเปลีย ่ นสถานะเป็ นแก๊ส
พร ้อมๆกัน ผ่านขึน ้ ไปบนหอกลัน ่ แล ้วควบแน่นออกเป็ น
สว่ นๆ โดยสารทีม ่ จ ี ด
ุ เดือดสูง แรงยึดเหนีย ่ วโมเลกุลมาก
จะควบแน่นเป็ นของเหลวก่อน และอยูท ี่ ว่ นล่างของหอก
่ ส
่ สว่ นสารทีม
ลัน ่ จี ดุ หลอมเหลวต่ำ แรงยึดเหนีย ่ วระหว่าง
โมเลกุลน ้อย ไอของสารจะเคลือ ่ นทีไ่ ปควบแน่นในชน ั ้ ที่
้ ไปตามลำดับ ในแต่ละสว่ นของสารทีก
สูงขึน ่ ลัน
่ ได ้เป็ น
สารละลายทีป ่ ระกอบไปด ้วย สารประกอบไฮโดรคาร์บอน
กลับเนื้อหลายชนิ
หา ดกลั
ทีบม่ เมนู

ี ำนวนอะตอมของคาร์บอนใน 1 โมเลกุ
หน้ า 2/6 Back ล Next

ผลิตภัณฑ์จากการกลั่นน้ำมันปิ โตรเลียม

กลับเนื้อหา กลับเมนู หน้า 3/6 Back Next


การกลั่นน้ำมันปิ โตรเลียม
ผลกระทบที่เกิดจากการใช้ผลิตภัณฑ์จากน้ำมันดิบ
มลพิษทางอากาศ สาเหตุ เกิดจากการเผาไหม้ ทไี่ ม่ สมบูรณ์ ของเชื้อเพลิงทำให้ เกิดสารพิษดังนี้
  1.  แก๊ สคาร์ บอนไดออกไซด์   (CO2)  เกิดขึน้ จากการเผาไหม้ อย่ างสมบูรณ์ ของเชื้อเพลิง  เป็ น
แก๊ สน้ำหนักเบากว่ าอากาศ  ทำให้ สามารถลอยขึน้ สู่ ช้ันบรรยากาศ  และก่ อให้ เกิดภาวะโลกร้ อนได้
  2.  แก๊ สคาร์ บอนมอนนอกไซด์   (CO)  เกิดจากการเผาไหม้ ทไี่ ม่ สมบูรณ์   เป็ นแก๊ สทีม่ ี
อันตรายต่ อมนุษย์ และสั ตว์   โดยสามารถจับตัวกับฮีโมโกลบินในเม็ดเลือดได้ ดี  ทำให้ เม็ดเลือดไม่
สามารถรับออกซิเจนได้   จึงทำให้ ร่างกายได้ รับออกซิเจนไม่ เพียงพอ
          3.  สารตะกัว่   เกิดจากสารบางชนิดทีเ่ ติมลงในน้ำมันเบนซินเพือ่ เพิม่ คุณภาพให้ กบั
น้ำมัน  เมื่อถูกเผาไหม้ จึงระเหยปนออกมากับสารอืน่ ทางท่ อไอเสี ย  สารตะกัว่ เป็ นสารทีม่ ีผลเสี ย
ต่ อสมอง  ไต  ระบบประสาท  โลหิต  และระบบสื บพันธุ์  ในปัจจุบันจึงได้ มีการห้ ามไม่ ให้ ผสมสาร
ทีม่ ีตะกัว่ เจือปนลงในน้ำมันอีก
        

กลับเนื้อหา กลับเมนู หน้า 4/6 Back Next


การกลั่นน้ำมันปิ โตรเลียม
ผลกระทบที่เกิดจากการใช้ผลิตภัณฑ์จากน้ำมันดิบ

  4.  แก๊ สซัลเฟอร์ ไดออกไซด์   (SO2)  เกิดขึน


้ จากการเผาไหม้ ของสารทีม่ ี
ซัลเฟอร์ ผสมอยู่  มีผลกระทบต่ อระบบหายใจ  นอกจากนีเ้ มือ่ รวมตัวกับ
ละอองน้ำในอากาศ  จะเกิดเป็ นฝนกรด  ซึ่งเป็ นอันตรายต่ อสิ่ งมีชีวติ   และ
ทำให้ เกิดความเสี ยหายแก่ สิ่งก่ อสร้ างต่ าง ๆ ได้
           5.  แก๊ สไฮโดรคาร์ บอน  เกิดจากการเผาไหม้ สารไฮโดรคาร์ บอนต่ าง ๆ
ทีอ่ ยู่ในน้ำมันเป็ นแก๊ สมีเทน  อีเทน  ออกเทน  ไอของเฮปเทน  และน้ำมัน
เบนซิน  มีผลต่ อเยือ่ ดวงตา  และก่ อให้ เกิดการระคายเคืองในระบบหายใจได้

กลับเนื้อหา กลับเมนู หน้า 5/6 Back Next


การกลั่นน้ำมันปิ โตรเลียม
ผลกระทบที่เกิดจากการใช้ผลิตภัณฑ์จากน้ำมันดิบ

มลพิษทางน้ำ เกิดจากการขนส่ งผลิตภัณฑ์ ปิโตรเคมี การใช้ น้ำมันเชื่อเพลิงต่ างๆส่ วนใหญ่


จะมีการขนส่ งทางเรือ และถ้ ามีการเกิดอุบัติเหตุ น้ำมันเชื้อเพลิงทีบ่ รรทุกมา ก็จะเกิดการรั่วไหล
ลงสู่ ทะเลตามแม่ น้ำลำคลอง ทีม่ ีการสั ญจรทางเรือตลอดจนการล้ าง การถ่ ายน้ำมันเครื่องทั้งลงสู่
ทะเล เมื่อน้ำมันลงสู่ แหล่ งน้ำจะแพร่ กระจายไปบนผิวน้ำอย่ างกว้ างขวาง คราบน้ำมันทีป่ กคลุม
ผิวน้ำทำให้ น้ำขาดออกซิเจน สิ่ งมีชีวติ เช่ น พืช สั ตว์ น้ำ ไม่ สามารถดำรงชีวติ อยู่ได้ ทำให้ เกิดการ
เน่ าเสี ยของน้ำ

มลพิษทางดิน สาเหตุส่วนใหญ่ เกิดจากการใช้ ผลิตภัณฑ์ ทไี่ ด้ จากการกลัน่ น้ำมันดิบเป็ นสาร


ตั้งต้ น เช่ น ปุ๋ ยเคมี สารทีใ่ ช้ ปราบศรัตรู พชื ผงซักฟอก รวมถึงพลาสติกชนิดต่ างๆ

กลับเนื้อหา กลับเมนู หน้า 6/6 Back Next


แก๊สธรรมชาติ
แหล่งกำเนิดแก๊สธรรมชาติ
แก๊ สธรรมชาติเกิดอยู่ใต้ พนื้ ดินอาจเป็ นบนบกหรือในทะเล และอาจพบอยู่
ตามลำพังในสถานะแก๊ ส หรืออยู่รวมกับน้ำมันดิบ แหล่ งแก๊ สธรรมชาติในอ่ าว
ไทยประกอบด้ วยแก๊ สมีเทนเป็ นส่ วนใหญ่ แก๊ สธรรมชาติบางส่ วนเกิดจากความ
ร้ อนสู งภายในโลก ทำให้ น้ำมันดิบทีถ่ ูกกักเก็บไว้ เป็ นเวลานานเกิดการสลายตัว
เป็ นแก๊ สธรรมชาติ

กลับเนื้อหา กลับเมนู หน้า 1/6 Back Next


แก๊สธรรมชาติ
องค์ประกอบแก๊สธรรมชาติ

แก๊ สธรรมชาติทขี่ ุดเจาะขึน้ มามีองค์ ประกอบ 2 ส่ วน คือ


1. ส่ วนทีเ่ ป็ นไฮโดรคาร์ บอนหลายชนิดได้ แก่ แก๊ สมีเทน
อีเทน โพรเพน บิวเทน และแก๊ สเหลว
2. ส่ วนทีม่ าใช่ สารประกอบไฮโดรคาร์ บอน ไก้ แก่ แก๊ ส
คาร์ บอนไดออกไซด์ ไฮโดรเจนซัลไฟด์
แก๊สหุงต้ม

กลับเนื้อหา กลับเมนู หน้า 2/6 Back Next


แก๊สธรรมชาติ
หลักการแยกแก๊สธรรมชาติ
หลักการแยกแก๊ สธรรมชาติ แก๊สธรรมชาติท้ งั ที่พบในรู ปสถานะแก๊สและ
ของเหลวประกอบด้วย สารประกอบไฮโดรคาร์บอนหลายชนิด และสารที่ไม่ใช่
ไฮโดรคาร์บอน การนำไปใช้ประโยชน์จ ำเป็ นต้องแยกสารแต่ละชนิดออกจาก
กันเพื่อนำไปใช้ประโยชน์ตามสมบัติของสาร ซึ่งการแยกองค์ประกอบของแก๊ส
ธรรมชาติตอ้ งแยกส่ วนที่ไม่ใช่สารประกอบไฮโดรคาร์บอน ออกก่อนดังนี้
1.น้ำ โดยใช้วสั ดุที่มีรูพรุ นดูดซับ
2.แก๊สคาร์บอนไดรออกไซด์ ใช้โพแทสเซียมคาร์บอเนต ดูดซับ
นำสารไฮโดรคาร์บอนไปกลัน่ ลำดับส่ วน

กลับเนื้อหา กลับเมนู หน้า 3/6 Back Next


การนำสารไฮโดรคาร์บอนไปกลั่นลำดับส่วน

นำสารไฮโดรคาร์ บอนไปกลัน่ ลำดับส่ วนดังนี้


1.นำแก็สธรรมชาติไปลดอุณหภูมแิ ละเพิม่ ความดันให้ แก๊ สเปลีย่ นสถานะ
เป็ นของเหลว
2.นำแก๊ สเหลวส่ งไปยังหอกลัน่ ค่ อยๆเพิม่ อุณหภูมิ และลดความดันใน
แต่ ละหอกลัน่
3.แก๊ สทีก่ ลัน่ ได้ คอื แก๊ สมีเทน อีเทน โพรเพน แก๊ สปิ โตรเลียมเหลว
4.แก๊ สทีเ่ หลือคือแก๊ สธรรมชาติเหลว ใช้ ผลิตเป็ นน้ำมันเบนซินและตัวทำ
ละลาย

กลับเนื้อหา กลับเมนู หน้า 4/6 Back Next


แก๊ สธรรมชาติ แก๊สหุง แก๊ส
ต้ม(LPG) ธรรมชาติ
แผนภาพแสดงการแยกแก๊สธรรมชาติ

แก๊ ส โพรเทน
ธรรมชาติ
อีเทน
O
แยกส่ วนทีไ่ ม่ ใช่
ไฮโดรคาร์ บอนออก 𝐶𝑂 2 มีเทน ()

ผ่ านไปยังหอกลัน่ และลด
ลดอุณหภูมิ เพิม่ ความดัน เพือ่ ให้ เปลีย่ น
ความดัน เพิม่ อุณหภูมิ เพือ่
สถานะเป็ นของเหลว
เปลีย่ นสถานะเป็ นแก๊ ส

กลับเนือ้ หา กลับเมนู หน้ า 5/6 Back Next


แก๊สธรรมชาติ ตารางแสดงองค์ประกอบและการใช้ประโยชน์
จากองค์ประกอบของแก๊สธรรมชาติ

กลับเนื้อหา กลับเมนู หน้า 6/6 Back Next


สารประกอบไฮโดรคาร์บอน
สารประกอบไฮโดรคาร์บอนคือ สารที่ประกอบไปด้วยธาตคาร์บอน (C)และไฮโดรเจน (H)
เท่านั้น แบ่งตามชนิดของพันธะระหว่างอะตอมของคาร์บอนกับคาร์บอน
เป็ น2ประเภท ดังนี้
1.สารประกอบไฮโดรคาร์บอนอิ่มตัว (saturated hydrocarbon)
เกิดจากธาตุคาร์บอนสร้างพันธะเดี่ยวทั้งหมดในโมเลกุล
มีสูตรโมเลกุลเป็ น Cn H2n+2 เช่น มีเทน อีเทน โพรเพน
บิวเทน เป็ นต้น
2.สารประกอบไฮโดรคาร์บอนไม่อิ่มตัว (unsturated hydrocarbon)
เกิดจากธาตุคาร์บอนสร้างพันธะคู่หรื อพันธะสามระหว่างคาร์บอนอะตอม
อย่างน้อย1พันธะโมเลกุล มีสูตรโมเลกุลเป็ น CnH2n และ CnH2n-2
เช่น เอทิลีน อะเชทิลีน เบนชีน

กลับเนื้อหา กลับเมนู หน้า 1/3 Back Next


สารประกอบไฮโดรคาร์ บอน
สารประกอบไฮโดรคาร์บอนอิ่มตัว
สารประกอบไฮโดรคาร์บอนที่ได้จากการกลัน่ ปิ โตเลียม
และแก๊สธรรมชาติส่วนใหญ่เป็ นสารประกอบไฮโดรคาร์บอน
อิ่มตัว
โพรเพน

มีเทน อีเทน บิวเทน

แบบจำลองโมเลกุลของสารประกอบ
ไฮโดรคาร์บอนอิ่มตัว
กลับเนือ้ หา กลับเมนู หน้ า 2/3 Back Next
สารประกอบไฮโดรคาร์บอน
ปฏิ กิริยาเผาไหม้

ปฏิกิริยาระหว่างสารประกอบไฮโดรคาร์บอนกับออกซิเจน ให้แก๊สคาร์บอนไดรออกไซด์กบั
น้ำ การเผาไหม้จะเกิดขึ้นอย่างสมบูรณ์ต่อเมื่อมีปริ มาณแก๊สออกซิเจนเพียงพอแก่การเผาไหม้
และส่ วนใหญ่สารไฮโดรคาร์บอนที่เรานำมาใช้ประโยชน์ในชีวติ ประจำวัน ได้มาจากน้ำมันปิ โต
เลียมและแก๊สธรรมชาติ องค์ประกอบหลักของแก๊สธรรมชาติคือแก๊สมีเทน ถ้าการเผาไหม้เกิด
ขึ้นอย่างไม่สมบูรณ์จะก่อให้เกิดเถ้าถ่าน แก๊สพิษ และฝุ่ นละออง
แก๊สคาร์บอนมอนอกไซด์ (CO) เป็ นอันตรายต่อระบบหายใจ ถ้าได้รับปริ มาณมากอาจขั้นเสี ย
ชีวติ เพราะแก๊สคาร์บอนมอนอกไดรออกไซด์จะจับกับฮีโมโกบินอย่างเหนียวแน่น ซึ่งกำจัดออก
ได้ยาก มีผลทำให้เลือดลำเลียงแก๊สออกซิเจนไปสู่ เซลล์ในร่ างกายได้นอ้ ยลง ดังนั้นหากได้รับ
แก๊สคาร์บอนมอนอกไซด์จ ำนวนมากหรื อเป็ นเวลานานอาจเสี ยชีวติ ได้

กลับเนื้อหา กลับเมนู หน้า 3/3 Back Next


เชื้อเพลิงในชีวิตประจำวัน
แก๊สที่น ำมาใช้เป็ นเชื้อเพลิง
1.แก๊สธรรมชาติ (Natural gas) หรื อแก๊ส NGV (Natural gas for Vehicle) หมาย
ถึงแก๊สธรรมชาติสำหรับยานยนต์ แก๊ส NGV เป็ นแก๊สธรรมชาติที่ถูกอัดจนมี
ความดันสูงกว่า 3,000 ปอนด์ ต่อตารางนิ้ว ซึ่งในบางประเทศก็เรี ยกว่า
Compressed Natural gas (CNG) หรื อแก๊สธรรมชาติอดั ดังนั้นแก๊สNGV และ
แก๊ส CNG ก็คือแก๊สชนิดเดียวกันและชื่อของสารประกอบไฮโดรคาร์บอนคือ
มีเทน (metane)

มีเทน รถยนตร์ ใช้ แก๊ ส NGV

กลับเนื้อหา กลับเมนู หน้า 1/4 Back Next


เชื้อเพลิงในชีวิตประจำวัน
แก๊สที่น ำมาใช้เป็ นเชื้อเพลิง
2.แก๊สปิ โตรเลียมเหลว (Liquefied Petroleum Gasl)หรื อแก๊ส LPG
โดยทัว่ ไปนิยมเรี ยกว่าแก๊สหุงต้มเป็ นผลิตภัณฑ์ที่ได้จากการแยก
น้ำมันดิบในโรงกลัน่ น้ำมันหรื อการแยกแก๊สธรรมชาติ แก๊ส
ปิ โตรเลียมเหลวประกอบด้วยส่ วนผสมไฮโดรคาร์บอน 2ชนิดคือโพร
เพน(propane) และบิวเทน (butane)

ใชกั้ บ ใช้กบั ครัวเรื อน


รถยนต์

กลับเนื้อหา กลับเมนู หน้า 2/4 Back Next


เชื้อเพลิงในชีวิตประจำวัน
น้ำมันที่น ำมาใช้เป็ นเชื้อเพลิง
1.น้ำมันเบนซิน เป็ นสารผสมระหว่างสารประกอบไฮโดรคาร์บอน2ชนิดคือ เฮปเทนและไอ
โชออกเทน น้ำมันเบนซินเป็ นเชื้ อเพลิงที่ใช้กบั พาหะนะที่ใช้เครื่ องยนต์แก๊สโชลีน เพราะมีส่วน
ผสมของไอโชออกเทนสูง
เลขออกเทน (octane number)
เลขออกเทนเป็ นตัวเลขบอกคุณภาพของน้ำมันเบนซิน โดยกำหนดให้ประสิ ทธิภาพการเผาไหม้
ของสารประกอบไอโชออกเทน บริ สุทธิ์ มีเลขออกเทนเป็ น 100 และให้ประสิ ทธิภาพของสาร
ประกอบนอร์มอนเฮปเทนบริ สุทธิ์ มีเลขเป็ น 0
ตัวอย่าง เช่น น้ำมันเบนซินมีเลขออกเทน 91หมายถึงน้ำมันเบนซินที่ประกอบไปด้วย ไอโช
ออกเทน 91 ส่ วน และประกอบด้วยเฮปเทน 9 ส่ วน
2.น้ำมันดีเซลหมุนเร็ ว เป็ นเชื้ อเพลิงสำหรับเครื่ องยนต์ดีเซลที่ใช้กบั รถบรรทุก รถโดยสาร เรื อ
บางประเภท การบอกคุณภาพน้ำมันดีเซลได้จากเลข
กลับเนื้อหา กลับเมนู หน้า 3/4 Back Next
เชื้อเพลิงในชีวิตประจำวัน
พลังงานทดแทน
เชื้อเพลิงฟอสซิลได้แก่ ถ่านหิ น ปิ โตรเลียม และแก๊สธรรมชาติ ที่เรานำมาใช้ประโยชน์ทุกวันนี้
กว่าจะได้มาต้องใช้เวลานานเป็ นล้านปี และในปั จจุบนั อยูใ่ นขั้นวิกฤต จึงต้องมีการหาพลังงา
นอื่นๆ มาทดแทน พลังงานฟอสซิลควรคำนึงถึงหลัก2ประการคือ
1.ควรเป็ นพลังงานที่สะอาด ไม่ท ำลายสิ่ งแวดล้อม หรื อถ้ามีกค็ วรน้อยที่สุด
2.ควรเป็ นพลังงานที่ใช้อย่างยัง่ ยืนหรื อสามารถนำกลับมาใช้ใหม่
ตัวอย่ างพลังงานทดแทน
พลังงานจากลม พลังงานแสงอาทิตย์ และในประเทศไทยได้ด ำเนินเกี่ยวกับการผลิตเอทานอล
จากพืชผลการเกษตรเพื่อนำมาใช้ผสมกับน้ำมันเบนซินในอัตราส่ วน เอทานอลต่อน้ำมันเบนซิน
1:9 เรี ยกว่าแก๊สโซฮอล์ ซึ่งมีประสิ ทธิภาพใกล้เคียงกับน้ำมันเบนซิน 95 และมีการวิจยั ทดลองนำ
ผลิตผลจากเมล็ดสบู่ด ำมาสกัดเอาน้ำมันมาใช้แทนน้ำมันดีเซล

กลับเนื้อหา กลับเมนู หน้า 4/4 Back Next

You might also like