Download as ppt, pdf, or txt
Download as ppt, pdf, or txt
You are on page 1of 102

บทที่ 2

หม้อแปลงเครื่องมือวัด
( Instrument Transformers )

07/04/23 1
2.1 บทนำ
- การปฏิบตั ิ งานของระบบไฟฟ้ าแรงดันสูง
ปริมาณทางไฟฟ้ า อยู่ทางด้านแรงดันสูง
- จำเป็ นต้องแปลงให้ อยู่ในด้านแรงดันต่ำ เพื่อการวัด
และการป้ องกัน
- อุปกรณ์ที่ใช้เรียกว่า หม้อแปลงเครื่องมือวัด
( Instrument Transformers )
- หม้อแปลงเครื่องมือวัด แบ่งเป็ น 2 ประเภท
1. หม้อแปลงกระแส ( Current Transformer )
2. หม้อแปลงแรงดัน ( Voltage Transformer )
07/04/23 2
2.2 หม้อแปลงกระแส
( Current Transformer ; CT. )

- แปลง กระแสค่าสูงที่แรงดันสูง
เป็ น กระแสค่าต่ำที่แรงดันต่ำ
- เพื่อ การวัดและการป้ องกัน

07/04/23 3
หม้อแปลงกระแสมีหน้ าที่

1. แปลงขนาดกระแสของระบบไฟฟ้ าค่าสูงให้เป็ น
ค่าต่ำเพื่อประโยชน์ ในการวัดและการป้ องกัน
2. แยกวงจร Secondary ออกจากวงจร Primary
เพื่อความปลอดภัยของผูป้ ฏิบตั ิ งาน
3. ทำให้สามารถใช้กระแสมาตรฐาน
ทางด้าน Secondary ( 1A , 5A ) ได้

07/04/23 4
- หม้อแปลงกระแสแบ่งเป็ น 2 กลุ่ม
1. หม้อแปลงกระแสสำหรับการวัด
( Measurement CT )
2. หม้อแปลงกระแสสำหรับการป้ องกัน
( Protection CT )

- ลักษณะโครงสร้าง
1. แบบ Bar Primary
2. แบบ Wound Primary
07/04/23 5
1. แบบ Bar Primary

รูปที่ 2.1 หม้อแปลงกระแสแบบ Bar Primary


07/04/23 6
2. แบบ Wound Primary

รูปที่ 2.2 หม้อแปลงกระแสแบบ Wound Primary


07/04/23 7
- ลักษณะโครงสร้างยังแบ่งเป็ น 3 แบบ

1. แบบ Hair-Pin Type


2. แบบ Eye-Bolt Type
3. แบบ Top-Core Type

07/04/23 8
CT พิกดั 525 kV , 2000A / 5A
07/04/23 9
2.3 ทฤษฎีหม้อแปลงกระแส ( Current Transformer Theory )
N p  I p  Ns  I s
- เฟสเซอร์ไดอะแกรม

Ip

Ie Ie
Im
I s

Ep Es
Ic 

Is
รูปที่ 2.4 เฟสเซอร์ไดอะแกรม ( Phasor Diagram )
07/04/23 10
ความคลาดเคลื่อนทางปริมาณและเฟสของกระแส
( Current Error and Phase Error )
- เกิดจากกระแสกระตุ้น Ie ( Exciting Current )
Error

Current error
Phase error
Rated Prim ary current
current
รูปที่ 2.5 ค่าความคลาดเคลื่อน ( Error ) ของ CT
สัมพันธ์กบั กระแส Primary
07/04/23 11
- การแก้ไขความคลาดเคลื่อนทำได้ 3 วิธี
1. โดยการปรับปรุงคุณภาพของวัสดุแม่เหล็ก
ที่นำมาทำเป็ นแกนเหล็ก ใช้แกนเหล็กที่
ทำจากโลหะผสมซิลิกอน
( Cold Rolled Grain-Oriented Silicon Steel : C.R.O.S.S )
มีค่า Knee Point ประมาณ 1.6 T
หรือใช้โลหะนิกเกิล ( Nickel Steel )
มีค่า Knee Point ประมาณ 0.7 T

07/04/23 12
- การแก้ไขความคลาดเคลื่อนทำได้ 3 วิธี

2. โดยการลดเส้นทางเดิน
ของฟลักซ์แม่เหล็กในแกนเหล็ก
3. โดยการลดความหนาแน่ นของ
ฟลักซ์แม่เหล็กในแกนเหล็ก

07/04/23 13
สูตรพืน้ ฐานของหม้อแปลงกระแส
( Current Transformer Basic Formula )
Ek = 4.44 x B x A x f x N

แทนค่า B = 1.6 T

Ek = 4.44 x 1.6 x A x f x N

07/04/23 14
โดยที่
Ek = Secondary Induced Voltage
( ค่า rms ของ Knee Point Voltage ) ( V )
N = จำนวนของขดลวดทางด้าน Secondary
F = ความถี่ของระบบ มีหน่ วยเป็ นเฮิรตซ์ ( Hz )
A = พืน้ ที่หน้ าตัดของแกนเหล็ก ( csa )
มีหน่ วยเป็ นตารางเมตร ( m2 )

07/04/23 15
ตัวอย่างที่ 2.1 หม้อแปลงกระแส ( CT. ) มีอตั ราส่วนกระแส
เป็ น 2000/5 A และมีพืน้ ที่หน้ าตัด ( csa ) เท่ากับ 2000 mm2
ขดลวด Secondary มีความต้านทาน 0.31  ใช้แปลงกระแส
มีค่าสูงสุดไม่เกิน 40,000 A ให้ค ำนวณค่า Burden สูงสุดของ
หม้อแปลงที่จะไม่ทำให้แกนเหล็กเกิดการอิ่มตัวขึน้ ( กำหนดให้
Bmax = 1.6 T )
วิธีทำ จากข้อมูลที่ก ำหนด ; N = 2000/5 = 400 รอบ ,
f = 50 Hz
คำนวณหาค่ากระแส Secondary Is จากค่ากระแสทางด้าน
Primary สูงสุด 40,000 A
07/04/23 16
5
Is  400002000
 100 A
ดังนัน้ จากสมการที่ ( 2.3 ) จะได้ว่า
Ek  4.441.6200010650400
 284 V

07/04/23 17
- นัน่ คือ ค่า Burden สูงสุดที่หม้อแปลงสามารถรับได้
มีค่าเท่ากับ
284/100 = 2.84 

- ดังนัน้ ค่า Burden ที่นำมาต่อกับ CT. รวมทัง้ หมด


สามารถมีค่าสูงสุดได้ถึง
2.84 - 0.31 = 2.53 

โดยจะไม่ทำให้แกนเหล็กเกิดการอิ่มตัวขึน้

07/04/23 18
หม้อแปลงกระแสจะสามารถทำงานได้
อย่างถูกต้องก็ต่อเมื่อ
1. ค่ากระแสทางด้าน Primary มีค่าสูง
Burden ทางด้าน Secondary จะต้องมีค่าต่ำ
2. ค่ากระแสทางด้าน Primary มีค่าต่ำ
Burden ทางด้าน Secondary จะต้องมีค่าสูง

07/04/23 19
2.4 พิกดั ของ CT.
IEC ได้ก ำหนดพิกดั ที่ส ำคัญของ CT. คือ
- Burden
- Rated Current
- Short Time Current
- Rated Secondary Current
- Rated Dynamic Current
- Accuracy Limit Factor
07/04/23 20
Rated Burden
- ค่าพิกดั ของ CT. ซึ่งสามารถใช้ได้โดยมีความเที่ยง
ตรงที่ก ำหนดไว้
- มีค่าในหน่ วย VA
- ค่าที่นิยมใช้ คือ
2.5 , 5 , 7.5 , 10 , 15 , 30 VA

Continuous Rated Current


- คือค่ากระแสพิกดั ทางด้าน Primary ที่หม้อแปลง
กระแสได้รบั อย่างต่อเนื่ องในภาวะปกติ
07/04/23 21
Short Time Rated Current
- ค่ากระแสที่ CT. สามารถทนได้โดยไม่เสียหายเมื่อ
เกิดความผิดพร่อง ( Fault )
- เวลาที่ CT. สามารถทนกระแสได้เป็ นเวลา
0.5 , 1 , 2 หรือ 3 s
- คิดพิกดั เมื่อ Secondary ของ CT. ถูกลัดวงจร
Rated Secondary Current
- คือค่าพิกดั ของกระแส Secondary ของหม้อแปลง
กระแสโดยปกติเท่ากับ 1 A หรือ 5 A
07/04/23 22
Rated Dynamic Current

- เป็ นอัตราส่วนของ
IPEAK : IRATED

- IPEAK คือค่ากระแสสูงสุดที่ CT. สามารถทนได้


โดยไม่เสียหาย

07/04/23 23
Accuracy Limit Factor : ALF.
- คือ อัตราส่วนของ
IPrimary : IRated

ที่ CT. ยังสามารถรักษา


ค่า Rated Accuracy ไว้ได้

07/04/23 24
2.5 เส้นโค้งสมบัติแม่เหล็กของหม้อแปลงกระแส
( Current Transformer Magnetizing Curve )
Es  4.4450B AN

เมื่อ B มีหน่ วยเป็ น T ( Tesla ) และ A ( csa ) มีหน่ วยเป็ น m2


หรือ Es  222B AN10- 4
Es
กำหนดให้ K v 
B
Kv  AN
45
07/04/23 25
Exciting Current ( Ie ) สามารถหาได้จาก MMF
( Magneto Motive Force ) โดยใช้ความสัมพันธ์ดงั นี้
L
Ie  MMF
N
Ki  L
N
Ie  Ki MMF

โดยหน่ วยของ Ki จะขึน้ อยู่กบั หน่ วยของ MMF นัน่ คือ


07/04/23 26
- ถ้า MMF มีหน่ วยเป็ น Ampere-Turns Per Meter :
Ki = L/N เมื่อ L มีหน่ วยเป็ นเมตร
หมายเหตุ : L = Mean Magnetic Path
B(T)
Flux Density (Tesla)

K n ee Poin t

A n kle Poin t

M M F A m p ere-Tu rns P er M etre


 
H AT m

รูปที่ 2.6 B-H Curve ของ CT.


07/04/23 27
ตัวอย่างที่ 2.2 หม้อแปลงกระแสมีอตั ราส่วนจำนวนรอบเป็ น 100/5 A
ต่ออยู่กบั Earth Relay ชนิดหนึ่ ง กำหนดให้ค่า Burden ต่ำสุดเท่ากับ
2 VA ที่ 10% ของค่ากระแสพิกดั และมีค่าเวลา Plug Setting เท่ากับ
10 เท่า ให้ค ำนวณหาค่า Kv และ Ki เมื่อ หม้อแปลงกระแสที่ใช้เป็ นแบบ

( 1 ) Bar Primary Type Current Transformer


( 2 ) Wound Primary ( 5 turns ) Current Transformer
สมมติว่าใช้แกนเหล็กชนิด C.R.O.S.S มีค่า
Vk = 1.6 T

07/04/23 28
วิธีทำ
( i ) Ring Type Current Transformer ( Bar Primary )

รีเลย์ มีค่า Setting Current = 0.5 A ( 10% ของ 5 A )


ทำงานที่แรงดัน = 2 VA / 0.5 A = 4 V
ที่ Plug Setting = 10 ; ดังนัน้ ค่าแรงดันที่ต้องการ
= 4 x 10 = 40 V เป็ นค่าแรงดันที่ขดลวด Secondary ( Es )
จำนวนรอบของขดลวด Secondary =100/5 = 20 รอบ
จากสมการ
Es  4.44fB AN
07/04/23 29
แทนค่า 40  4.44501.6 A20
ดังนัน้ พืน้ ที่หน้ าตัด
A  40  56.310- 4 m2
71102

สมมติใช้ Stacking Factor = 0.92


56.3 10- 4
 Gross CSA   61.210-4 m2
0.92

07/04/23 30
จากรูปที่ 2.7 ( a ) สมมติว่า I.D. = 0.18 m ,
O.D. = 0.3 m , Depth = 0.102 m นัน่ คือ
 ID  OD  
L   2  0.24 
ดังนัน้
AN 56.3 10 - 4 20
Kv    2510- 4 m - turn
45 45
Ki   L 0.24   3.7710-2 m/turn
N 20
07/04/23 31
( ii ) Wound Primary CT.
สมมติ CT. มีจ ำนวนรอบของขดลวดทางด้าน Primary 5 รอบ ดัง
นัน้ จำนวนรอบของขดลวดทางด้าน Secondary จะเท่ากับ
5100 5 = 100 รอบ แทนค่าลงในสมการจะได้ว่า
40  4.44501.6 A100
 A  40  11.2610- 4 m2
3.5510 4

นัน่ คือ Gross CSA  11.26 10-4  12.24104 m2


0.92
07/04/23 32
จากรูปที่ 2.7 ( b )
สมมติว่า I.D. = 0.18 m , O.D. = 0.3 m, Depth = 20.4 mm
ดังนัน้
L  0.24  จะได้ว่า

AN 11.26 10- 4 100


Kv    2510- 4 m - turn
45 45
L
Ki   0.24   0.75410-2 m/turn
N 100

07/04/23 33
300 m m

10 2 m m
18 0 m m

(a)
3 00 m m

2 0 .4 m m

180 m m

(b)

รูปที่ 2.7 รูปประกอบตัวอย่างที่ 2.2


07/04/23 34
Knee Point
- เป็ นจุดซึ่งค่าของ B เพิ่ม 10 %
เป็ นจุดซึ่งค่าของ H เพิ่ม 50 %
ตารางที่ 2.1 แสดงตัวอย่างของค่าต่างๆ ในเส้นโค้งสมบัติแม่เหล็ก
H -4 8 16 24 32 40 48 56 64 72 80 200 400 >1000
( AT/m )
B 0.05 0.15 0.5 1.0 1.3 1.42 1.5 1.56 1.60 1.64 1.67 1.71 1.75 1.8
(T)

07/04/23 35
A ssum ed

Flux Density
Prim ary Current M agnetization
Flux D ensity Curve
A nd Voltage
Flux Density

Tim e Am pere-Turns
M ean M agnetic Path Per Core Length

รูปที่ 2.8 คลื่นกระแสและความหนาแน่ นฟลักซ์ที่สภาวะอยู่ตวั ของหม้อแปลงกระแส


เมื่อเกิดการอิ่มตัว

07/04/23 36
การเกิดแรงดันเกินทางด้าน Secondary ของ CT.
เมื่อเปิดวงจร ( Open Circuited Secondary Winding )
แรงดันที่วงจร Secondary เปิดวงจร
Vk I
Voc  I
mag
โดยที่
Voc = แรงดันทางด้าน Secondary ขณะเปิดวงจร ( V )
Vk = แรงดันที่ Knee Point ( V )
I = กระแส Primary ที่ถ่ายทอดสู่ด้าน Secondary ( A )
Imag = กระแสหล่อเลี้ยงสนามแม่เหล็ก
( Magnetizing Current ) ( A )
07/04/23 37
ตัวอย่างที่ 2.3 CT. มีอตั ราส่วน 6,000/1 กระแสหล่อเลี้ยง
สนามแม่เหล็กที่ Knee Point เท่ากับ 30 mA และแรงดันที่ Knee
Point เท่ากับ 7,800 V ถ้าวงจร Secondary ถูกเปิดวงจรและมี
กระแส Primary ถ่ายทอดสู่ด้าน Secondary ปริมาณ 1 A ให้หา
แรงดันด้าน Secondary มีค่าเป็ นเท่าใด
วิธีทำ
Voc  7,8001
30103
 260,000 V

07/04/23 38
2.6 วงจรสมมูลของหม้อแปลงกระแส
( Equivalent Circuit of Current Transformer )
วงจรสมมูลของ CT. ดังรูปที่ 2.9
Is Z s  Rs  jX s
IP
IP Ie
N
Ze Vt Zb
N Es

รูปที่ 2.9 แสดงวงจรสมมูลของหม้อแปลงกระแส


07/04/23 39
โดยที่
Ip = กระแสในขดลวด Primary ( A )
N = อัตราส่วนของหม้อแปลง
Zb = Burden อิมพิแดนซ์ของรีเลย์ ( Ohm )
Zs = อิมพิแดนซ์ของขดลวด Secondary ( Ohm )
Ze = Secondary Excitation Impedance ( jX ) ( Ohm )
Ie = กระแสกระตุ้นทางด้าน Secondary ( A )
Is = กระแส Secondary ( A )
Es = Secondary Excitation Voltage ( V )
Vt =
07/04/23 แรงดันขัว้ ทางด้าน Secondary ( V ) 40
ความคลาดเคลื่อนหรือความผิดพลาดของ CT.
( CT. Error )
ความคลาดเคลื่อนของ CT. เกิดขึน้ เนื่ องจาก
1. การเปลี่ยนแปลงความถี่ ความคลาดเคลื่อนเพิ่ม เมื่อ
ความถี่ต่ำ ความต้านทานและความร้อนสูง เมื่อ
ความถี่เพิ่ม
2. การเปลี่ยนรูปลักษณะของคลื่นกระแส อันเนื่ องจาก
ฮาร์โมนิกที่สาม ( 3rd Harmonic ) การเปลี่ยนแปลง
ไม่ทำให้เกิดความคลาดเคลื่อนเพิ่มขึน้ มากนัก
07/04/23 41
3. ความคลาดเคลื่อนอันเนื่ องมาจาก CT. ตัง้ อยู่ใกล้กบั
สายไฟที่มีกระแสไฟฟ้ าไหลผ่านจำนวนมาก เช่น
ประมาณ 2,000 A หรือสูงกว่านัน้ เส้นแรงแม่เหล็ก
จะเข้าไปผ่านแกนเหล็กของ CT. มาก จะก่อให้เกิด
ความคลาดเคลื่อนสูงกว่าปกติได้
4. ความคลาดเคลื่อนเนื่ องจากการใช้งาน ในการใช้งาน
ไม่ควรใช้ CT. ให้เกินพิกดั หากเกินพิกดั แล้วความ
คลาดเคลื่อนจะมีมาก และหากจำเป็ นต้องใช้เกินพิกดั
ไม่ควรเกินกว่า 10%

07/04/23 42
IP Is Z s  Rs  jX s IP

Ie Iq
Ie
Ie
Es Ic
Ze Zb
I s

Ep Es

(a) IP (b)
Ie
Is

(c)
รูปที่ 2.10 ( a ) วงจรสมมูลของCT. ( b ) เฟสเซอร์ไดอะแกรม
( c ) ผลของการเกิดฮาร์โมนิก
07/04/23 43
- ความคลาดเคลื่อน
อัตราส่วนผิดพลาด ( Ratio Error )
มุมเฟสผิดพลาด ( Phase Angle Error )
ความผิดพลาดรวม ( Composite Error )
Ratio Error

NI s  Ip 100%


 
 

Ip
 

 tan - 1 Iq
Phase Angle Error β 
 Ia  Ic 

 
 

1 T 2
Composite Error 100
 I Ni s  i p dt
 


 

p T
 
 
 

0
07/04/23 44
โดยที่
Ip คือ ค่ากระแสฉับพลันของกระแส Primary ( A )

Is คือ ค่ากระแสฉับพลันของกระแส Secondary ( A )


T คือ เวลาในหนึ่ งคาบ ( S )

07/04/23 45
Measurement CT และ Protection CT Classes
ตารางที่ 2.2 Limits Of Error For
Accuracy Classes 0.1 To 1.0
 % Ratio Error  Phase Displacement At
At Percentage Percentage
Of Rated Of Rated Current Shown Below
Current Shown Minutes Centiradians
Below
Cla 10 20 100 10 20 100 10 20 100
ss UpT UpTo Up UpTo UpTo Up UpT UpTo Up
o But To But But To o But But To
But Not 120 Not Not 120 Not Not 120
Not Incl. Incl. Incl. Incl. Incl.
Incl. 100 20 100 20 100
20
0.1 0.25 0.2 0.1 10 8 5 0.3 0.24 0.1
0.2 0.5 0.35 0.2 20 15 10 0.6 0.45 5
0.5 1.0 0.75 0.5 60 45 30 1.8 1.35 0.3
1 2.0 1.5 1.0 120 90 60 3.6 2.7 0.9
1.8

07/04/23 46
ตารางที่ 2.3 Limits Of Error For
Accuracy Classes 3 And 5
Class  % Ratio Error At
Percentage Of Rated Current
Shown Below
50 120
3
3 3
5 5 5

Example CT 1000/5A Class 5


Actual current 1000A
CT current 950- 1050 A
07/04/23 47
ตารางที่ 2.4 Limits Of Error For
Accuracy Class 5P And Class 10
Accuracy Current Error At Phase Displacement At Rated Primary Composite Error At
Class Rated Primary Current Current Rated Accuracy Limit
(%) Primary
Minutes Centiradians Current (%)
5P 1  60  1.8 5
10P 3 10

Example CT 1000/5A , 5P10


Current 10 In , Error 5 %
Fault current 10,000 A
CT Secondary current = 50 x .95 = 47.5A
07/04/23 48
2.7 Burden ของ CT ( Current Transformer Burden )

- วงจรที่ต่อด้านขดลวด Secondary ของ CT.


เรียกว่า “ Burden ” เหมือนกับ “ โหลด ”
- Burden กำหนดเป็ น
อิมพิแดนซ์
Volt-Amp ( VA )
- CT เวลาใช้ต้องต่ออนุกรม
ห้ามเปิดวงจร ( Open Circuit )
เพราะแรงดันจะสูงมาก
07/04/23 49
ตัวอย่าง
CT. พิกดั Secondary 5 A
Burden 0.5 

Burden สามารถคิดเป็ น VA ได้ คือ I2R

= 52 x 0.5

= 12.5 VA

07/04/23 50
- อิมพีแดนซ์ของรีเลย์แปรผันเป็ น
สัดส่วนกระแส Pick Up ยกกำลังสอง

I 2
Z2  Z1 I1
 
 
 
 

2 




โดยที่
Z1 = Impedance Of Coil At Pick-Up Current I1 (  )
Z2 = Impedance Of Coil At Pick-Up Current I2 (  )
07/04/23 51
ตัวอย่างที่ 2.4 CT. มีค่า Z1 = 1  ที่กระแส Pick Up I1 = 5 A
ให้ค ำนวณหาค่า Z2 ใหม่ที่กระแส Pick Up , I2 = 1 A

วิธีทำจากสมการที่ ( 2.14 ) จะได้ว่า

Z2 = 1 x ( 5 / 1 )2 
= 25 

07/04/23 52
ตัวอย่างที่ 2.5 จงคำนวณค่า VA ขาออก ( VA Output ) ที่
ต้องการสำหรับ CT. ที่มีพิกดั กระแส Secondary 5 A Burden ของ
CT. ประกอบด้วยรีเลย์ที่ต้องการ 10 VA ที่กระแส 5 A และวงจรรอบ
ของสายมีความต้านทานรวม 0.1  จงเลือกขนาดของ CT. ที่
เหมาะสม

วิธีทำ
การคำนวณหาขนาดของ CT. ไม่จ ำเป็ นต้องคำนวณอย่าง
ละเอียดถูกต้องนัก อาจคำนวณอย่างคร่าวๆ ดังแสดงต่อไปนี้

07/04/23 53
VA ที่ต้องการจ่ายให้ความต้านทานของสาย = I2R
= 52 x 0.1 = 2.5 VA
 รีเลย์ต้องการ 10 VA

VA ขาออกที่ต้องการรวม = 10 + 2.5 = 12.5 VA

ค่ามาตรฐานของพิกดั ขาออกที่มีให้เลือกใช้ได้แก่
2.5 , 5 ,7.5 , 10 , 15 , 20 , 30 เป็ นต้น
ดังนัน้ เลือกใช้ CT. ที่มีพิกดั ขาออก 15 VA
และกระแส Secondary 5 A

07/04/23 54
ความต้านทานสาย

0.1  5A
รี เลย์
10 VA

รูปที่ 2.14 วงจร Secondary ของ CT. ในตัวอย่างที่ 2.5

07/04/23 55
ตัวอย่างที่ 2.6 กำหนดให้ CT. มีพิกดั กระแส Secondary 5 A
ถ้ารีเลย์กินไฟ 3 VA ที่ค่า Plug Setting 2.5 A จงคำนวณหา
VA ประสิทธิผลของ Burden ที่มีต่อ CT.

วิธีทำ
จากสมการ
2
Pc  Pr IIs
 
 
 


 r 

07/04/23 56
เมื่อ
Pr = VA , Burden ของรีเลย์ที่ Setting 3 VA
Pc = VA ประสิทธิผลของ Burden
Is = พิกดั กระแส Secondary ของ CT.
Ir = Setting Current ของรีเลย์ = 2.5 A
5 2
 Pc  3 2.5  12 VA








 

ดังนัน้ CT. ที่เลือกใช้ที่พิกดั ขาออก 15 VA


07/04/23 57
ตัวอย่างที่ 2.7 CT. หนึ่ งตัวมีอตั ราส่วนกระแส 300/5A
มี Burden 10 VA คล้องต่อในสายของระบบไฟฟ้ ากำลังที่มี
อิมพิแดนซ์สมมูล Z = 21.2  แรงดันของระบบเป็ น 11 kV
จงวาดวงจรสมมูลทางด้าน Secondary ของ CT. กำหนดให้ความ
ต้านทานของ CT. มีค่า 0.2  และวงจรกระตุ้นของ CT. มีค่า
ความต้านทาน 150  และมีรีแอกแตนซ์เป็ น 50  ต่อขนาน
กัน

07/04/23 58
วิธีทำ
ค่าอิมพีแดนซ์ของรีเลย์ = ( 10 VA ) / 52 = 0.4 
เราอาจวาดวงจรสมมูล ดังแสดงในรูปที่ 2.14 ( a ) ,
( b ) และ ( c ) ตามลำดับ
ถ้าพิจารณาในวงจรรูปที่ 2.14 ( c ) และสังเกตค่า
อิมพีแดนซ์ในส่วนต่างๆ แล้วเราอาจจะสรุปคุณสมบัติ
( Properties ) ของ CT. ทัวๆ
่ ไปได้ดงั นี้
1. อิมพีแดนซ์ของ Burden เปลี่ยนแปลงไม่มากนัก กระแส
Secondary ก็เปลี่ยนแปลงไม่มากนักเช่นเดียวกัน เช่นถ้า
Burden มีค่าเพิ่มขึน้ เท่าตัวหรือลดลงเท่าตัว กระแส
Secondary ก็จะยังคงมีขนาดใกล้เคียงค่าเดิม
07/04/23 59
2. ในขณะที่มีกระแสทางด้าน Primary วงจรทางด้าน
Secondary จะต้องไม่ถกู ตัดตอน ถ้าวงจรด้าน Secondary
เกิดเปิดวงจรแรงดันระหว่างขัว้ ของ CT. อาจมีค่าสูง
เนื่ องจากกระแส Primary ที่ถ่ายทอดไปทางด้าน
Secondary จะไหลได้เฉพาะในวงจรแม่เหล็กเท่านัน้
3. เราอาจคำนวณอัตราค่าผิดพลาดและมุมเฟสผิดพลาด
ได้ง่ายดาย ถ้าเราทราบค่า Burden และลักษณะทางแม่
เหล็กของ CT.

07/04/23 60
( a ) วงจรจริงของ CT. ที่ต่อคล้องเข้ากับระบบไฟฟ้ ากำลัง

07/04/23 61
Z = 21.2 R = 0.2 

X L=
E = 6350 V N = 300/5 R = 150  Z = 0.4 
j50 

( b ) CT. ในรูป ( a ) แทนด้วยวงจร CT. อุดมคติต่อกับอิมพิแดนซ์


กระตุ้น ความต้านทานของ CT. และ Burden 0.4 

07/04/23 62
Z N 2 = 2 1 .2  R = 0 .2 

X L = j5 0 
EN = 6 3 5 0 = 38 1 ,0 0 0 V R= 150  Z = 0 .4 

( c ) แสดงวงจรสมมูลทางด้าน Secondary ของ CT.

รูปที่ 2.15

07/04/23 63
การคำนวณความแม่นยำของ CT. โดยใช้เส้นโค้งสมบัติแม่เหล็ก
สามารถคำนวณหาอัตราส่วนผิดพลาดได้ ดังนี้
1. โดยการสมมติค่ากระแส Secondary Is ทีละค่าแล้ว
คำนวณแรงดัน Secondary Es จาก Is ( Zs+Zb )
2. จากค่า Es ที่ได้อ่านค่า Ic จากกราฟเส้นโค้งสมบัติ
แม่เหล็ก ผลรวมของ Ic กับ Is คือ Ip/N
3. คำนวณค่าอัตราส่วนผิดพลาดโดยประมาณจาก
( NIc / Ip ) x 100
4. นำเอาค่า Es , Ip และค่าอัตราส่วนผิดพลาดหลายๆ ค่า ที่ค่า
Is ต่างๆ กันมาลงไว้ในตารางเรียงตามลำดับ เมื่อทราบค่า Ip
ก็สามารถเทียบค่าจากตารางหาค่า Es , Is และอัตราส่วนผิด
07/04/23 64
2.8 การแบ่งชัน้ ของความแม่นยำสำหรับ
CT. เพื่อการป้ องกัน
( Classification of Protection Current Transformer )

มี 2 Class คือ

1. CT Class “ P ”
2. CT Class “ X ”

07/04/23 65
CT Class “ P ”

ระบุคณุ สมบัติดงั นี้


( i ) Burden ( VA )
( ii ) Class 5P , 10P
( iii ) Accuracy Limit Factor ( ALF )

07/04/23 66
ALF คือ จำนวนเท่า ( 10 หรือ 20 ) ของกระแสที่ไหลผ่าน

ทางด้าน Primary ของ CT โดย CT


ง รักษาค่ าความผิ
ตารางที่ 2.5 แสดงถึงขีดดจำกั
ยั พลาดไว้ ได้
ดของความผิ ดพลาดสำหรับ CT.
Accuracy Current Error at Rated Phase Composite Error at
Class Primary Current Displacement Rated Accuracy Limit
(Percent) Rated Current Primary Current
(minutes) (Percent)
5P 1  60 5
10 P 3 - 10

07/04/23 67
Knee Point Voltage ของ CT คำนวณได้
Vk  VA
In ALF

เมื่อมีความต้านทานของ CT. จะได้สมการ



VA 

Vk  ALF InRCT  I
 
   
 

n
 
   
 
 

07/04/23 68
ตัวอย่างที่ 2.8 CT Ratio 400/1 , 15 VA ,10 P 20
RCT = 1.5 
ให้หาค่า Knee Point Voltage ( Vk )
วิธีทำ
เมื่อมีกระแสทางด้าน Primary
ไหลผ่าน 20 เท่าของกระแสพิกดั
จะทำให้เกิดความผิดพลาดไม่เกิน 10 %

ดังนัน้ จะได้ ALF = 20


07/04/23 69
ตัวอย่างที่ 2.8 (ต่อ)
VA  
Vk  ALF I  RCT IN 


N 
 

Vk  20 15
1 1.5




1 



 

= 330 V

07/04/23 70
CT Class “ X ”
- ใช้กบั งานป้ องกันที่ไม่ต้องการให้ CT เกิดการอิ่มตัว
( Saturate )
- ดูได้จาก Knee Point Voltage
- ใช้กบั Differential Relays
- ระบุคณ ุ สมบัติ
( i ) Rated Burden
( ii ) Turns Ratio
( iii ) Knee Point Voltage
( iv ) Max. Current ( At Specified Voltage )
( v ) Secondary Resistance
07/04/23 71
2.9 การเลือก CT. Rating
- เลือกให้สงู กว่ากระแสพิกดั ของวงจร
Ip  In
โดยที่
Ip = กระแสพิกดั ทาง Primary ของหม้อแปลงกระแส ( A )

In = กระแสพิกดั ของวงจรที่ป้องกัน ( A )

07/04/23 72
Example Load current 800 A
เลือกพิกดั CT ให้สงู กว่า กระแส Load
Select CT 1000 / 5A หรือ
1000 / 1A

07/04/23 73
- CT. Secondary Rating
1 A หรือ 5 A
- Secondary ยาวเกิน 30 m
CT. 1 A จะดีกว่า CT. 5 A
- อัตราสูงสุดประมาณ 3000/1 เนื่ องจาก
1. ข้อจำกัดของขนาด CT.
2. ถ้า CT. ขนาดพิกดั สูงมาก แรงดันเปิดวงจร
( Open Circuit Voltage ) จะสูงมาก
07/04/23 74
2.10 หม้อแปลงแรงดัน ( Voltage Transformer )
- แปลงค่าแรงดันสูง เป็ นค่าแรงดันต่ำ
- ใช้งานกับมิเตอร์เพื่อการวัด รีเลย์ และอุปกรณ์อื่นๆ
- ทำงานที่สภาวะโหลดต่ำๆ คล้ายไม่มีโหลด
- แบ่งออกได้เป็ น 2 ประเภท

1. Electromagnetic VT.

2. Coupling Capacitor VT.


07/04/23 75
Electromagnetic VT.
- หลักการทำงานอาศัยการเหนี่ ยวนำ
- เหมือนหม้อแปลงทัวไป

- ออกแบบให้แปลงแรงดันให้ถกู ต้อง
- ออกแบบให้ใช้งานที่ No Load
- มี Burden ต่ำ

07/04/23 76
- B-H Curve
Flux D ensity
'B'
Saturation

1.6 Cross C.T's & Pow er Transform er

Tesla
1.0 V .T's

0.5

Protecton C.T. (A t Full Load)


'H '
1000 2000 3000
M agnetizing Force (A T/m )

รูปที่ 2.16 แสดงจุดทำงานของหม้อแปลงเครื่องมือวัด


บนกราฟคุณลักษณะสมบัติแม่เหล็ก
07/04/23 77
- วงจรสมมูล
N p N s  Kn Rp Lp Rs Ls

Ip Ie Is

Vp Lm Rc Vs Zs
(Burden)
Im Ic
E p  Es

รูปที่ 2.17 วงจรสมมูลของหม้อแปลงแรงดัน


แบบ Electromagnetic

07/04/23 78
- เวกเตอร์ไดอะแกรม
X pw I p
Vp

R pw I p
Ip
Np
 Ep    Es
Ns I p

Ie
Iw

Im


Rb I s
Vs
Xb Is

Is Rsw I s

X sw I s Es

รูปที่ 2.18 เวกเตอร์ไดอะแกรมหม้อแปลงแรงดัน แบบ Electromagnetic


07/04/23 79
ค่าความคลาดเคลื่อนของมุมเฟส
( Phase Difference Of Phase Error )
Vp
X pw Ie
Rpw Ie
X pw I p
Rpw I p
  Ep Kt2 X sw I p

 KV
t s
Kt2 Rsw I p


I p (also  I s )


Ie

Flux 
รูปที่ 2.19 เวกเตอร์ไดอะแกรมวงจรสมมูล
ทางด้าน Primary ของหม้อแปลงแรงดัน
07/04/23 80
ความคลาดเคลื่อนของ VT. ขึน้ อยู่กบั
1. การเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของขดลวด
เนื่ องจากความต้านทานของขดลวดเปลี่ยนแปลง
อุณหภูมิเปลี่ยนประมาณ 45 oC
ความคลาดเคลื่อนจะมี ประมาณ 0.1%

2. การเปลี่ยนรูปลักษณะคลื่นแรงดันอันเนื่ องมาจาก

การเกิดฮาร์โมนิกที่สาม ( 3rd Harmonic )


3. ความคลาดเคลื่อนเนื่ องจากการเปลี่ยนแปลงแรงดัน
4. ความคลาดเคลื่อนเนื่ องจากการเปลี่ยนแปลงความถี่ปกติ
07/04/23 81
ตารางที่ 2.6 แสดงถึงขีดจำกัดของความผิดพลาดสำหรับ VT
Accuracy Percentage Voltage (ratio) Phase Displacement
Class Error
Minutes Centiradian
s
3P  3.0  120  3.5
6P  6.0  240  7.0

07/04/23 82
การป้ องกันหม้อแปลงแรงดัน ( Protection of VT. )
- ป้ องกันด้วย HRC Fuse ทางด้าน Primary
- ทางด้าน Secondary ของ VT. ต้องป้ องกันด้วย
Fuse หรือ MCCB
- VT ใช้งานที่ No Load
ห้าม ลัดวงจร

07/04/23 83
2.11 Coupling Capacitor VT. ( CCVT )

- ใช้กบั แรงดันสูง ตัง้ แต่ 69 kV ขึน้ ไป


- ใช้เทคนิคการลดทอนแรงดัน ( Voltage Divider )
โดยใช้ Capacitors
- เพื่อความสะดวกและประหยัดค่าใช้จ่าย

07/04/23 84
C1
L
T
Vp
C2 VC 2 Vi Vs ZB

รูปที่ 2.20 วงจรพืน้ ฐานของ CCVT.


Ii C L Ri I s Rs

EC EL Ie

Vi VC2 Ei Ze Vs Z B
Ic Im

รูปที่ 2.21 วงจรสมมูลของ CCVT.


07/04/23 85
I i Ri
EC

Vi
EL
Ei
I sRs
VC 2
Vs

Ii
I s

Ie

รูปที่ 2.22 เวกเตอร์ไดอะแกรมวงจรรูปที่ 2.21


07/04/23 86
การป้ องกันหม้อแปลงแรงดันแบบ Coupling Capacitor VT

- เมื่อเกิด Short Circuit


ทำให้เกิดแรงดันในขดลวดเพิ่มขึน้
ต้องมีการจำกัดแรงดันเกิน

- ใช้ Spark Gap เป็ นตัวจำกัดแรงดัน

07/04/23 87
Transient Behavior ของหม้อแปลงแรงดัน
แบบ Coupling Capacitor VT

- CCVT มีลกั ษณะวงจรเป็ น Series Resonance Circuit


- เมื่อมี Surge Voltage
ทำให้เกิด Oscillation ของแรงดัน
- ในงาน High Speed Protection
ต้องให้ Transient Oscillation เกิดขึน้ น้ อยที่สดุ

07/04/23 88
2.12 Voltage Ratio
- อัตราส่วนแรงดัน พิจารณาจากค่า Rated Voltage
ด้าน Primary หรือ ( หารด้วย 3)
เทียบกับแรงดันด้าน Secondary
- ค่ามาตราฐานทาง Secondary คือ
100 , 110 หรือ 120 V
หรือ ( หารด้วย  3 )

07/04/23 89
การต่อใช้งานหม้อแปลงแรงดัน
ต่อแบบ Y-Y

รูปที่ 2.23 การต่อ VT แบบ Y-Y


07/04/23 90
ต่อแบบ V-Connected

รูปที่ 2.24 การต่อ VT แบบ V Connected


07/04/23 91
ต่อแบบ Y- ( Wye - Open Delta )
สำหรับตรวจสอบ Ground Fault

3E 0
to G ro u n d R ela y

( ก ) ต่อแบบ Y-  ( Wye - Open Delta ) โดยตรง


07/04/23 92
M a in V T

A u x ilia ry V T

3E0
to G ro u n d R ela y

( ข ) ต่อแบบ Y-  ( Wye - Open Delta ) ผ่าน Auxiliary VT


รูปที่ 2.25 ต่อ VT แบบ Y-Open Delta
07/04/23 93
การต่อแบบ Y- ( Wye - Open Delta ) ใช้ส ำหรับ
ตรวจสอบความผิดพร่องลงดิน ( Ground Fault )
- ขณะทำงานปกติ ( ไม่มี Ground Fault )
แรงดันขาออกของ VT ( 3E0 ) = 0
- เมื่อเกิด Ground Fault แรงดันขาออกของ
VT = 3E0 เป็ น Voltage Polarization สำหรับ
Directional Ground Relay ( 67 N )

07/04/23 94
Terminal Designations for Current Transformers

07/04/23 95
07/04/23 96
Secondary Earthing of Voltage Transformers

VT’s connected between phases

A set of VT’s with one Y-connected and one broken delta secondary circuit
07/04/23 97
Location of CT’s and VT’s in Substations

CT’s and VT’s in Simple Substation

07/04/23 98
Location of CT’s and VT’s in Substations

Double busbar Station

07/04/23 99
Location of CT’s and VT’s in Substations

Double Busbar Station

07/04/23 100
Transfer Busbar Station
07/04/23 101
Double breaker arrangement สวัสดี
07/04/23 102

You might also like