เอกสารประกอบ ม 5

You might also like

Download as pptx, pdf, or txt
Download as pptx, pdf, or txt
You are on page 1of 5

ทฤษฎีความน่ าจะเป็ นเบือ้ งต้ น

ทบทวน
1. การทดลองทีท
่ ราบผลแน่นอนว่าจะเกิดอะไรขึน้ ในการ
ทดลอง 1 ครัง้ จัดเป็ นการทดลองสุม่ หรือไม่
ไม่ เช่น การโยนก้อนหินจากทีส่ งู เราทราบแน่นอนว่า ต้องตกสูพ่ น้ื
การทดลองลักษณะนี้ เราสามารถสร้างตัวแบบทางคณิตศาสตร์
เพือ่ ทำนายผลลัพธ์จากการทดลองแต่ละครัง้ ได้แน่นอน เช่น
สามารถสร้างสมการความสัมพันธ์ระหว่าง ความเร็ว ระยะทาง
และเวลา ถ้ากำหนดความเร็วและระยะทางก็สามารถระบุเวลา
ได้ เป็ นต้น
บทนิยาม
ถ้าแซมเปิลสเปซ S มีสมาชิก N ตัว โดยทีส่ มาชิกแต่ละตัวมีโอกาสเกิด
เท่าๆกัน และ E เป็ นเหตุการณ์ในแซมเปิลสเปซ S ซึง่ E มีสมาชิก k ตัว
แล้ว
ความน่าจะเป็ นของเหตุการณ์ E เท่ากับ k
เรานิยมใช้สญ N E
ั ลักษณ์ P(E) แทน ความน่าจะเป็ นของเหตุการณ์
ดังนัน้
n( E )
P( E ) 
n( S )
ิ ยาม S และ P เป็นฟงั ก์ชนั จากเพาเวอร์เซตของ S ไปเซตของ
บทนกำหนดเซต
จำนวนจริง ถ้า P มีสมบัตติ ่อไปนี้
1) 0  P(E)  1 สำหรับทุก E  S
2) P(S) = 1
3) ถ้า A  S และ B  S ซึง่ A  B =  แล้ว
P(A  B) = P(A) + P(B)
จะเรียก S ว่า แซมเปิลสเปซ
จะเรียก P ว่า ฟงั ก์ชนั ความน่าจะเป็ น
จะเรียก สับเซตของ S ว่า เหตุการณ์
ทฤษฎีบท 1
กำหนดเซต A และ B เป็ นเหตุการณ์ในแซมเปิลสเปซ
1) P() = 0
2) P( A)  P( A)  1
3) P(A - B) = P(A) - P(A  B)
ทฤษฎีบท 2
กำหนดเซต A และ B เป็ นเหตุการณ์ในแซมเปิลสเปซ S
1) P(AB) = P(A) +P(B) – P(A  B)
2) ถ้า A  B แล้ว P(A)  P(B)
ลองพิสจู น์ดนู ะครับ

You might also like