Download as pptx, pdf, or txt
Download as pptx, pdf, or txt
You are on page 1of 61

การบริหารสถานศึกษาเชิงกลยุทธ์

สุพล บุญธรรม
ผู้อำนวยการศูนย์การศึกษาพิเศษ เขตการศึกษา 4 จังหวัด
ตรัง
ประกอบ การพัฒนาข้าราชการครูและบุคลากร
ทางการศึกษา
ก่อนแต่งตัง้ ให้ดำรงตำแหน่ง รองผู้อำนวยการ
สถานศึกษา
สังกัด สำนักบริหารงานการศึกษาพิเศษ สพฐ.
กระทรวงศึกษาธิการ
วัตถุประสงค์
• เพื่อให้ผู้เข้ารับการอบรมมี ความรู้ ความเข้าใจ
ทักษะในการบริหารสถานศึกษา เชิงกลยุทธ์
• เพื่อให้นำความรู้และประสบการณ์ไปประยุกต์
ใช้ในการปฏิบัติงานและการบริหารสถานศึกษา
เชิงกลยุทธ์
ทำไมต้องบริหารเชิงกลยุทธ์
• 1. เพื่อกำหนดทิศทางของสถานศึกษา (Set
Direction)
• 2. เพื่อสร้างความสอดคล้องในการปฏิบัติ
(Harmony)
• 3. เพื่อสร้างความพร้อมให้แก่สถานศึกษา (Provide
Readiness)
• 4. เพื่อสร้างประสิทธิภาพในการแข่งขัน (Improve
Competitive Efficiency)
การบริหารเชิงกลยุทธ์ (Strategic Management)

• คือการบริหารเชิงรุกที่สร้างความพร้อมให้กับสถานศึกษา
โดยสมาชิกเข้าใจตัวตนของสถานศึกษา จึงกำหนด
ทิศทางการดำเนินงาน สร้างความสอดคล้องของการ
ปฏิบัติงานให้มีความพร้อมต่อการเปลี่ยนแปลง มีการ
จัดสรรทรัพยากรที่เหมาะสม สามารถพัฒนาศักยภาพขีด
ความสามารถและเพิ่มประสิทธิภาพในการแข่งขัน นำไป
สู่การเพิ่มโอกาสความสำเร็จบรรลุวัตถุประสงค์ของ
สถานศึกษา
• การบริหารเชิงกลยุทธ์ (Strategic Management)
หมายถึงกระบวนการ ซึ่งรวมกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกัน
3 ประการ คือ
• 1) การวิเคราะห์เชิงกลยุทธ์ (Strategic analysis)
เป็ นงานที่จะต้องทำไว้ล่วงหน้าและต้องมีการพัฒนา
จึงจะเป็ นการพัฒนากลยุทธ์ที่เหมาะสม
• 2) การกำหนดกลยุทธ์ (Strategy formulation)
เป็ นกระบวนการเปลี่ยนแปลงที่ต้องทำไว้ล่วงหน้าให้
เป็ นแผน ซึ่งได้ผลลัพธ์ คือ กลยุทธ์ที่กำหนด
• 3) การปฏิบัติตามกลยุทธ์และการควบคุม
กระบวนการจัดการเชิงกลยุทธ์ (Strategic
Management Process)
• 1. การวิเคราะห์สภาพแวดล้อม (Environment Analysis) ผู้บริหาร
จะต้องศึกษาและวิเคราะห์ปัจจัยในด้านต่างๆ ที่มีผลกระทบต่อการ
ดำเนินงานของสถานศึกษา ซึ่งสามารถแบ่งออกเป็ น 2 ระดับ คือ
• สภาพแวดล้อมภายนอก (External Environment)
• สภาพแวดล้อมภายใน (Internal Environment)
• สถานศึกษา ทำการวิเคราะห์ จุดแข็ง (Strength) จุดอ่อน
(Weakness) โอกาส (Opportunity) และอุปสรรค (Threat) หรือที่
เรียกว่า การวิเคราะห์ SWOT (SWOT Analysis) ว่าแต่ละปั จจัยมีส่วน
เอื้ออำนวยหรือขัดขวางการดำเนินงานของสถานศึกษา อย่างไรบ้าง
• 2. การกำหนดทิศทางของสถานศึกษา (Set
OrganizationDirection)
• ผู้บริหารจะนำข้อมูลต่างๆ ที่ได้รับจากการวิเคราะห์ โอกาส
และข้อจำกัดมาทำการประมวลผล เพื่อใช้กำหนดทิศทาง
เชิงกลยุทธ์ของสถานศึกษา โดยที่การกำหนดทิศทางของ
สถานศึกษา สามารถกระทำได้ในลักษณะของการกำหนด
ภารกิจและการตัง้ เป้ าหมาย (Mission and Goal
Establishment) ของสถานศึกษา
• 3. การกำหนดกลยุทธ์ (Strategy
Formulation) หมายถึง การนำทิศทางของ
สถานศึกษา ที่กำหนดไว้อย่างกว้างๆ มา
พัฒนาเพื่อเป็ นแนวทางการดำเนินงานใน
อนาคตของสถานศึกษา โดยมักจะกำหนด
กลยุทธ์ตามระดับขัน้ ภายในสถานศึกษา
• 4. การนำกลยุทธ์ไปปฏิบัติ (Strategy
Implementation) หมายถึง การนำกลยุทธ์
ที่ถูกกำหนดขึน้ ไปประยุกต์ในการดำเนินงาน
อย่างเป็ นรูปธรรม ผ่านการจัดโครงสร้าง
บุคลากร และการประสานงานร่วมกันอย่าง
เป็ นระบบ
• 5. การควบคุมและการประเมินกลยุทธ์ (Strategy
Evaluation and Control) หมายถึง การติดตามและตรวจ
สอบ (Monitoring) วิเคราะห์ปัญหา กำหนดแนวทาง
ปรับปรุง และพัฒนาให้กลยุทธ์ที่กำลังดำเนินอยู่เกิดความ
สอดคล้องกับสถานการณ์จริง เพื่อสถานศึกษา จะได้คุณค่า
สูงสุดจากการดำเนินงานตลอดจนทำการประเมินผลจากการ
ดำเนินกลยุทธ์ว่าประสบผลสำเร็จดังที่ตงั ้ เป้ าหมายไว้หรือไม่
เพียงใด เพื่อนำไปพิจารณาในการพัฒนากลยุทธ์ต่อไป
สรุป กระบวนการบริหารเชิงกลยุทธ์
• 1. การวิเคราะห์สภาพแวดล้อม ( Environmental
Analysis )
• 2. การจัดวางทิศทางของสถานศึกษา(Establishing
Organizational Direction)
• 3. การกำหนดกลยุทธ์ของสถานศึกษา ( Strategy
Formulation )
• 4. การปฏิบัติงานตามกลยุทธ์ ( Strategy
Implementation )
• 5. การควบคุมเชิงกลยุทธ์ ( Strategy Control )
„µ¦ ª Á
·‡¦ µ³ ®r­ £ µ¡ ª — ¨ °o ¤
- „µ¦ ª Á ·‡¦ µ³ ®r­ £ µ¡ ª —¨ °o ¤
£ µ¥œ° „/£ µ¥Äœ
- „µ¦ ª Á ·‡¦ µ³ ®r­ £ µ¡ ª —¨ °o ¤
„µ¦ ‹—Š´ ª µ £šµ¥Ä
·« šœ µŠ…Š° ° Š‡„ r¦
Strategic Planning - £ µ¦ „·‹… ° Š° Š‡r„¦
- ª ´˜™ »ž ¦ ³ ­ Š‡…Šr ° ° Š‡„r¦

„µ¦ „ε®œ—„¨ ¥» š› r
- „¨ ¥»š › r¦ ³ —
 ´ ŸœŠµœ
- „¨ ¥»š › r¦ ³ — ´ Šµœ/Ǧ Š„µ¦
- „¨ ¥»š › r¦ ³ — ´ „·‹„¦ ¦ ¤

„µ¦ ž ’ · ˜Š
´ · µœ˜ µ¤ „¨ ¥»š › r
Strategic
- Ǧ Š­ ¦ oµŠ° Š‡„

Implementation
- ª ´•œ› ¦ ¦ ¤° Š‡ „

„µ¦ ‡ª  ‡»¤ „¨ ¥»š › r


Strategic
- „µ¦ ˜—· ˜ µ¤ Ÿ¨ „µ¦ ž ’ · ˜Š
´ · µœ
Monotoring
- „µ¦ ž ¦ ³ Á¤ ·œŸ¨
ขัน
้ ตอนการบริหารเชิงกลยุทธ์
• การวางแผน
• การกำหนดจุดมุ่งหมายของสถานศึกษา(Organization
Purpose)การวิเคราะห์ SWOT เพื่อทราบ จุดแข็ง
จุดอ่อน ภายในของสถานศึกษา โอกาสที่ดีและภัย
คุกคามจากสภาพภายนอก กำหนดเป็ นกลยุทธ์ที่เหมาะ
สมในการขับเคลื่อนสถานศึกษา กำหนดวิสัย
ทัศน์(Vision) ซึ่งเป็ นการกำหนดเป้ าหมายในอนาคตที่
เป็ นไปได้ในระยะเวลาที่ชัดเจน
การวิเคราะห์สภาพแวดล้อม
การวิเคราะห์สภาพแวดล้อม
ขัน
้ ตอนสำคัญของการบริหารเชิงกลยุทธ์
1.1 การวิเคราะห์ SWOT (SWOT Analysis)
เพื่อทราบจุดแข็งจุดอ่อนภายในของสถานศึกษา
โอกาสที่ดีและภัยคุกคามจากสภาพภายนอก
S = Strength
W = Weakness
O = Opportunity
T = Threat
วิธีการวิเคราะห์สภาพแวดล้อม

1.1 วิเคราะห์สภาพแวดล้อมภายนอกสถาน
ศึกษา
1.2 วิเคราะห์สภาพแวดล้อมภายในสถาน
ศึกษา
1.3 ให้คะแนนถ่วงน้ำหนักเพื่อประเมิน
สถานภาพสถานศึกษา
แนวทางการวิเคราะห์สภาพ
แวดล้อมภายนอก
STEP
• S:Social ได้แก่ สังคม วัฒนธรรม ประเพณี
ความเชื่อ ค่านิยม
• T:Technology เทคโนโลยี นวัตกรรม
ภูมิปัญญา
• E:Economic เศรษฐกิจ ค่าเงิน นโยบายการ
เงิน การคลัง
C-PEST
• C : Customer- ความก้าวหน้าด้านเทคโนโลยีใน
ปั จจุบัน ทำให้ผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย
สามารถเข้าถึงการบริการ
• P : Politics มีกฎ ระเบียบ คำสั่ง นโยบาย ที่ชัดเจน
ถูกต้อง มีความต่อเนื่องของหน่วย/สถานศึกษา ทำให้
เกิดความเชื่อมั่นกับผู้รับบริการ
• E : Environment , Economic – การจัดสรรงบ
ประมาณของรัฐบาล ชุมชน
• S : Society , Culture , Value – พัฒนาองค์ความรู้
แนวทางการวิเคราะห์สภาพแวดล้อมภายใน
2s 4M
Structure : S1 โครงสร้างและนโยบายของสถานศึกษา
Service : S2 ระบบการให้บริการ
Man : ทรัพยากรบุคคล
Money : งบประมาณ
Material : เครื่องไม้เครื่องมือ วัสดุอุปกรณ์
Management/Method : การบริหารจัดการ
แนวทางการวิเคราะห์สภาพแวดล้อมภายใน (ต่อ)
7S
• Strategy : เป้ าหมาย กลยุทธ์สถานศึกษา
• Structure : โครงสร้างสถานศึกษา
• System : ระบบการบริหารจัดการสถานศึกษา
• Staff : บุคลากร
• Style : บุคลิกของสถานศึกษา วัฒนธรรมสถานศึกษา
• Skill : ทักษะของบุคลากร
• Share Value : ค่านิยมของคนในสถานศึกษา ความเป็ นหนึ่ง
เดียว ความสามัคคี
สรุป การวิเคราะห์สภาพแวดล้อม
• เมื่อได้ข้อมูลเกี่ยวกับ จุดแข็ง-จุดอ่อน โอกาส-
อุปสรรค จากการวิเคราะห์ปัจจัยภายในและปั จจัย
ภายนอกด้วยการประเมิน สภาพภายในและสภาพ
ภายนอกของสถานศึกษาแล้ว ให้นำ จุดแข็ง-จุดอ่อน
ภายใน เปรียบเทียบกับ โอกาส-อุปสรรค จากภายนอก
เพื่อดูว่าสถานศึกษา กำลังเผชิญสถานการณ์เช่นใด
และภายใต้สถานการณ์ สถานศึกษาควรจะทำ อย่างไร
โดยทั่วไป แล้วผลจากการดำเนินการวิเคราะห์ SWOT
ดังกล่าวนี ้ สถานศึกษา จะอยู่ในสถานการณ์4 รูปแบบ
• OStars Situation (SO) กลยุทธ์ สร้าง เปิ ด เพิ่ม บุก
รุก ขยาย
• OQuestion Marks Situation (WO) ปรับปรุง
พัฒนา แก้ไข ทบทวน ประสานความร่วมมือ ขอรับ
การสนับสนุน
• OCash Cows Situation (ST) ปรับปรุง พัฒนา ลด
ต้นทุน ลดระยะเวลา
• O Dogs Situation (WT) เลิก/ลดภารกิจบางด้านที่มี
จุดอ่อน และภัยคุกคาม หรือ คิดใหม่ ทำใหม่ ถ่ายโอน
การจัดวางทิศทางของสถานศึกษา
( Establishing Organizational
Direction )
ั ัศน์
วิสยท

พ ันธกิจ

เป้าหมาย

ว ัตถุประสงค์

กลยุทธ์
สิ่งที่ต้องกำหนดในการจัดวางทิศทางของ สถานศึกษา

• วิสัยทัศน์ของ สถานศึกษา (Organizational Vision)


• ภารกิจของ สถานศึกษา (Organizational Mission)
• เป้ าหมายของ สถานศึกษา (Organizational Goals)
• วัตถุประสงค์ของ สถานศึกษา (Organizational Objective)
• กลยุทธ์ของ สถานศึกษา
การจัดวางทิศทาง ของ สถานศึกษาต้องสอดคล้องกับตำแหน่ง
ทางยุทธศาสตร์ที่ได้จากการ SWOT
วิสัยทัศน์ (Vision)
วิสัยทัศน์ (Vision)
ภาพ สิ่งดี ๆ ที่ผู้บริหารและบุคลากร ต้องการให้เกิด
ขึน
้ ในสถานศึกษา
ในอนาคตข้างหน้า เป็ นอุดมคติ (Ideology) ภาพอนาคต
ที่พึงประสงค์ของสถานศึกษา
วิสัยทัศน์จะเกิดขึน ้ ได้จากปั ญญาของผู้บริหารที่มี
สายตาที่กว้างไกล รวมทัง้ ยาวไกลด้วย
วิสัยทัศน์ของสถานศึกษา (Organizational
Vision)
• เพื่อให้ทราบถึงจุดหมายปลายทางในการ
ดำเนินกิจกรรม ว่าในที่สุดแล้วสถานศึกษา
ต้องการจะเป็ นอะไร ซึ่งเป็ นภาพความต้องการ
ในอนาคต
การกำหนดพันธกิจของสถานศึกษา
พันธกิจ (Mission)
เป็ นการกำหนดว่าสถานศึกษาต้องมีภาระผูกพันอะไร
บ้าง หรือต้องทำกิจกรรมหลักอะไรบ้างจึงจะสามารถ
บรรลุวิสัยทัศน์ที่ตงั ้ เอาไว้ได้ จากนัน
้ จึงนำกิจกรรมหลัก
ที่กำหนดขึน ้ มาระบุถึงผลลัพธ์ที่สถานศึกษาคาดหวัง
เป็ นข้อความที่จะบอกว่าสถานศึกษานัน ้ ๆ จะดำเนิน
งาน อย่างไร และเพื่อใคร เนื้อหาของพันธกิจมักจะ
ครอบคลุมขอบเขตของการดำเนินงาน ปรัชญาความ
เชื่อของกิจการ เป้ าหมายพื้นฐานและผลประโยชน์ต่าง
• ตัวอย่างการเขียน พันธกิจ
• 1. พัฒนา ผู้เรียน ให้ได้คุณภาพตาม
มาตรฐานการศึกษา และมาตรฐานสากล
• 2. ส่งเสริม ให้ผู้เรียน มีคุณธรรม อยู่อย่างพอ
เพียง
• 3. ส่งเสริมและพัฒนา สู่ความเป็ นครูมืออาชีพ
ในศตวรรษที่21
• 4. ส่งเสริมและพัฒนากระบวนการบริหาร
จัดการแบบมีส่วนร่วมอย่างมีประสิทธิภาพ
เป้ าหมายของสถานศึกษา
• เป้ าหมายคือวัตถุประสงค์ที่มีการระบุอย่าง
ชัดเจน สามารถวัดได้ หรืออาจะเขียนในรูป
แบบที่ระบุปริมาณชัดเจน เป้ าหมายที่ดีควรมี
ความท้าทาย สามารถทำได้ สอดคล้องกับ
วัตถุประสงค์และพันธกิจชัดเจน เข้าใจง่าย
และทุกคนในสถานศึกษาต้องเข้าใจตรงกัน
ตัวอย่าง การเขียน เป้ าประสงค์
• 1. ผู้เรียนมีผลสัมฤทธิท ์ างวิชาการ และคุณลักษณะที่พึงประสงค์
ตามเกณฑ์สถานศึกษากำหนด
• 2. ผู้เรียนสามารถสื่อสารได้อย่างน้อย 2 ภาษา
• 3. ผู้เรียนได้รับการปลูกฝั งระเบียบวินัย คุณธรรม จริยธรรม และ
ค่านิยมที่พึงประสงค์
• 4. ผู้เรียนปฏิบัติตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
• 5. ส่งเสริมให้ครูเป็ นครูยุคใหม่ ครูเป็ นผู้เรียนรู้ มีจิตวิญญาณความ
เป็ นครู มีความแม่นยำทางวิชาการ มีทักษะการจัดการเรียนรู้ที่
หลากหลาย
• 6. ครูจัดการเรียนรู้ที่มีสมรรถนะทางวิชาชีพในการจัดการเรียนรู้ที่
การกำหนดกลยุทธ์ของสถานศึกษา
( Strategy Formulation )
• การกำหนดกลยุทธ์สถานศึกษา เป็ นการกำหนดวิธี
การปฏิบัติงานของสถานศึกษา ซึ่งต้องเหมาะสม
สอดคล้องกับสภาพแวดล้อมและสถานภาพของ
สถานศึกษา ที่ได้ศึกษาไว้ โดยยึดทิศทางของ
สถานศึกษา กลุ่มเป้ าหมาย ที่ได้รับผลประโยชน์
ลักษณะงานที่ทำ และทางเลือกที่เหมาะสม
ตัวอย่างการเขียน กลยุทธ์
• กลยุทธ์ 1 พัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาทุกระดับตามหลักสูตร และส่งเสริมความ
สามารถด้านเทคโนโลยีเพื่อเป็ นเครื่องมือในการเรียนรู้
• กลยุทธ์ 2 ปลูกฝั งคุณธรรม จริยธรรม ความสำนึกในความเป็ นชาติไทย และวิถีชีวิตตามหลัก
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง มีความรับผิดขอบต่อสังคมและสิ่งแวดล้อม และห่างไกลยาเสพติด
• กลยุทธ์ 3 ขยายโอกาสทางการศึกษาให้ทั่วถึงครอบคลุมผู้เรียนให้ได้รับโอกาสในการพัฒนา
เต็มตามศักยภาพ และลดความเสี่ยงจากการออกกลางคันโดยระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนที่
เข้มแข็ง
• กลยุทธ์ 4 พัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษาทัง้ ระบบให้สามารถจัดการเรียนการสอนได้
อย่างมีคุณภาพ
• กลยุทธ์ 5 พัฒนาประสิทธิภาพการบริหารจัดการศึกษาตามแนวทางการกระจายอำนาจ
ทางการศึกษา หลักธรรมาภิบาล เน้นการมีส่วนร่วมจากทุกภาคส่วนและความร่วมมือกับ
สถานศึกษาส่วนท้องถิ่น เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนการจัดการศึกษา
การปฏิบัติงานตามกลยุทธ์
( Strategy Implementation )
• การนำแผนไปปฏิบัติ คือการจัดเตรียมบุคคลผู้ปฏิบัติตาม
แผนและการกำหนดมอบหมายความรับผิดชอบ ตามตัวชี ้
วัดผลการดำเนินงาน (KPIs) ตัวชีใ้ นระดับผลผลิต
(Output) และผลลัพธ์ (Outcome)
• การควบคุมและประเมินผล ได้แก่การติดตามโครงการ
(Project monitoring) การตรวจสอบและติดตามความ
ก้าวหน้า การเปรียบเทียบผลลัพธ์ที่ว่าเป็ นไปตามที่เป้ า
หมายที่ตงั ้ ไว้หรือไม่ การวิเคราะห์ผลกระทบ และการ
ปรับปรุง
การนำแผนกลยุทธ์ไปใช้
• ก่อนการนำแผนกลยุทธ์ไปใช้ในระดับองศ์การและระดับแผนงาน ผู้บริหาร
ทัง้ ต้องนำแผนกลยุทธ์ของแต่ละระดับจัดทำพันธะสัญญา(MOU:
Memorandum of Understanding) ระหว่างผู้บังคับบัญชาและผู้รับผิด
ชอบ ก่อนนำไปสู่การปฏิบัติ
• จัดทำคู่มือการดำเนินการ
• คู่มือขัน
้ ตอนการปฏิบัติงาน (Procedure Manual/Work Manual) เป็ น
คู่มือขัน้ ตอนการปฏิบัติงานสำหรับผู้รับผิดชอบระดับแผนงานหรืองาน
ภารกิจ ที่จะนำแนวทางในคู่มือนโยบายมาสู่แนวทางการปฏิบัติให้แก่
บุคลากรในกลุ่มงานภารกิจได้รับรู้และปฏิบัติไปในแนวเดียวกัน ฉะนัน ้ เป้ า
หมายของกลุ่มจึงยึด พันธะกิจที่กลุ่มรับผิดชอบมากระจายเป็ นเป้ าหมาย ตัว
ชีว้ ัดสำคัญ ที่แสดง วัตถุประสงค์ ตามตัวชีว้ ัด วิธีดำเนินการ ทีจะนำไปสู่
เป้ าหมายของสถานศึกษา
• คู่มือการทำงาน (Work Instruction) บุคลากรในแต่ละกลุ่มภารกิจที่รับผิด
การประเมินและควบคุมกลยุทธ์ (Strategic Evaluation and Control)

วัตถุประสงค์ของการประเมินและควบคุมกลยุทธ์
• เพื่อติดตามว่ามีการดำเนินงานตามแผนกลยุทธ์ที่กำหนดไว้หรือไม่
• เพื่อประเมินความเหมาะสมของแผนที่วางไว้และประเมินความ
สอดคล้องกับโครงสร้างสถานศึกษา
• เพื่อประเมินสภาพแวดล้อมที่เปลี่ยนแปลงและสัมพันธ์กับกิจกรรม
• เพื่อทราบผลการดำเนินงานว่าบรรลุผลตามที่กำหนดไว้หรือไม่
• เพื่อให้รางวัลหรือผลตอบแทนที่เหมาะสมต่อผู้ปฏิบัติงานที่ประสพ
ผลสำเร็จ
การควบคุมกลยุทธ์ประกอบด้วย
• กำหนดวัตถุประสงค์และสิ่งที่ต้องควบคุม
• กำหนดเกณฑ์และมาตรฐานการปฏิบัติงาน
• วัดผลการปฏิบัติงานตามช่วงเวลาที่กำหนด
• เปรียบเทียบผลการปฏิบัติงานกับมาตรฐานและ
เกณฑ์ที่กำหนด
• ปรับปรุงแก้ไข
กระบวนการประเมินและควบคุมกลยุทธ์

• ติดตามผลการดำเนินงานตามตัวชีว้ ัดสำคัญที่
กำหนด (Track Status)
• การรายงานความก้าวหน้าเป็ นระยะ
(Communicate Process)
• วัดและประเมินผลเมื่อครบกำหนดตามแผน
(Measurement and Evaluation)
แนวคิดการบริหารเชิงกลยุทธ์แบบครบวงจร ที่นิยมใช้กัน
นิยมใช้วงจรการบริหารแบบเดมิ่ง (Deming Cycle) คือ
การจัดระบบการบริหารให้ครบทัง้ 4 ขัน
้ ตอน ได้แก่
• การวางแผน (Plan)
• การนำแผนไปปฏิบัติ (Do)
• การติดตามประเมินผล (Check)
• การปรับมาตรฐาน(Act)
• PDCA คือ วงจรที่พัฒนามาจากวงจรที่คิดค้น
โดย วอล์ทเตอร์ ซิวฮาร์ท(Walter
Shewhart )ผู้บุกเบิกการใช้สถิติสำหรับวงการ
อุตสาหกรรมและต่อมาวงจรนี ้ เริ่มเป็ นที่ร้จ
ู ัก
กันมากขึน
้ เมื่อ เอดวาร์ด เดมมิ่ง (W.Edwards
Deming) ปรมาจารย์ด้านการบริหารคุณภาพ
เผยแพร่ให้เป็ นเครื่องมือสำหรับการปรับปรุง
กระบวนการทำงานของพนักงานภายใน
โรงงานให้ดียิ่ง
Scenario Analysis
การวิเคราะห์ พยากรณ์แนวโน้ม(Scenario
Analysis) คือ อะไร
• วิเคราะห์จากแนวโน้ม (trends) ที่เห็นอยู่ใน
ปั จจุบัน
• ความไม่แน่นอน (uncertainties) ที่อาจเกิด
ขึน้ ได้ในอนาคต
• สร้างผลลัพธ์ทางเลือกที่เป็ นไปได้
S T E P a n a l y s i s ภายนอกองค์กร
• S = Social
• T = Technology
• E = Economic
• P = Politics
S O A R a n a l y s i s ภายในองค์กร

• S = Strengths (จุดแข็ง)
• O = Opportunities (โอกาส)
• A = Aspiration (ความมุ่งมาด
ปรารถนา)
• R = Results (ผลลัพธ์)
Scenario building
• คาดคะเน (projection) อนาคตที่เป็ นไปได้
ภายใต้สมมติฐานเพื่อกำหนดเป้ าหมายและตัวชี ้
วัด
Scenario planning
• เพื่อกำหนดยุทธศาสตร์/กลยุทธ์ และ
โครงการ/กิจกรรม
ปั จจัย สู่ความสำเร็จ
• ปั จจัย ที่มีผลต่อการวางแผนในอนาคตให้มี
ความแม่นยำมากยิ่งขึน ้ ให้คือ “ข้อมูล”
• สถานการณ์ในอนาคตจะต้องถูกสร้างขึน ้ จาก
ข้อมูลที่น่าเชื่อถือมากกว่าการคาดคะเน
สรุป
การนำหลักบริหารเชิงกลยุทธ์ไปใช้ในสถานศึกษา
(Strategic management to the school.)
ในการบริหารสถานศึกษา หากผู้บริหารนำหลักการบริหาร
เชิงกลยุทธ์ไปประยุกต์ใช้ในการจัดทำแผนพัฒนาคุณภาพการ
ศึกษาของสถานศึกษา จะช่วยให้ทิศทางการจัดการศึกษา เป้ า
หมายของสถานศึกษา (School Goals) การระดมทรัพยากร
และการประสานความร่วมมือกับหน่วยงานเครือข่ายประสบ
ความสำเร็จได้มากยิ่งขึน

ใบงาน
• แบงกลุ่ม จัดทำ วิสัยทัศน์ พันธกิจ
เป้ าประสงค์ และกลยุทธ์ สถานศึกษา ศูนย์การ
ศึกษาพิเศษจังหวัด.....................

You might also like