Download as pptx, pdf, or txt
Download as pptx, pdf, or txt
You are on page 1of 6

พระยาพิชย ั ดาบหัก (ทองดี)

Phraya Pichai.jpg
อนุสาวรียพ ์ ระยาพิชย ั ดาบหัก
หน ้าศาลากลางจังหวัดอุตรดิตถ์
เกิด พ.ศ. 2284
บ ้านห ้วยคา เมืองพิชย ั อาณาจักรกรุงศรีอยุธยา
เสย ี ชวี ติ 7 เมษายน พ.ศ. 2325 (41 ปี )
เมืองธนบุรี อาณาจักรธนบุรี
ั ชาติ สยาม
สญ
ชอ ื่ อืน ่ จ ้อย, นายทองดีฟันขาว
อาชพ ี ขุนนางฝ่ ายทหารในสมเด็จพระเจ ้ากรุงธนบุร,ี เจ ้าเมืองพิชย ั
Era พ.ศ. 2310 – 2325
ผลงานเด่น ขุนศก ึ สำคัญของสมเด็จพระเจ ้ากรุงธนบุรใี นการร่วมกอบกู ้
เอกราชหลังการเสย ี กรุงศรีอยุธยาครัง้ ทีส ่ อง (พ.ศ. 2310 - 2313), เจ ้าเมือง
พิชย ั (พ.ศ. 2313-2325), ออกสูรบกั ้ บกองทัพโปสุพลาจนดาบหักเป็ นสอง
ท่อน (พ.ศ. 2316), สละชวี ต ิ ตนเองเป็ นราชพลี (พ.ศ. 2325)
ตำแหน่ง ขุนนางชน ั ้ พระยาพานทองในสมัยธนบุรี
คูส
่ มรส พระนางสะวิสต ุ า (ลำยง)
ประวัต ิ
พระยาพิชย ั ดาบหัก เป็ นขุนนางในสมัยอยุธยาตอนปลายและธนบุร ี
ปรากฏชอ ื่ ในพระราชพงศาวดารเนือ ่ งจากเป็ นทหารเอกคูพ ่ ระทัยของ
สมเด็จพระเจ ้ากรุงธนบุรี และเป็ นผู ้มีสว่ นกอบกู ้เอกราชของชาติไทยหลัง
การเสยี กรุงศรีอยุธยาครัง้ ทีส่ อง มีชอื่ เสยี งอย่างยิง่ จากความกตัญญู
กตเวทีและความกล ้าหาญ หนึง่ ใน สท ี่ หารเสอื ของสมเด็จพระเจ ้า
กรุงธนบุรี ได ้แก่ หลวงราชเสน่หา (กรมพระราชวังบวรมหาสุรสงิ หนาท),
หลวงพิชย ั อาสา (พระยาพิชย ั ดาบหัก), พระยาเชย ี งเงิน (พระยาสุโขทัย),
หลวงพรหมเสนา (เจ ้าพระยานครสวรรค์)

เดิมท่านชอ ื่ จ ้อย เกิดทีบ ่ ้านห ้วยคา อำเภอพิชย ั จังหวัดอุตรดิตถ์ ในสมัย


ปลายกรุงศรีอยุธยา ศก ึ ษาอยูก ่ บ
ั ท่านพระครูวด ั มหาธาตุหรือวัดใหญ่
เมืองพิชย ั ภายหลัง จ ้อยได ้เปลีย ่ นชอื่ ใหม่เป็ นทองดี หรือ ทองดีฟันขาว
มีความสามารถและชอ ื่ เสย ี งอย่างยิง่ ทัง้ ทางเชงิ มวยและเชงิ ดาบ จนได ้
เข ้ารับราชการกับสมเด็จพระเจ ้ากรุงธนบุรี ตัง้ แต่ครัง้ ดำรงตำแหน่งเป็ น
พระยาตาก ต่อมานายทองดีได ้รับแต่งตัง้ เป็ นองครักษ์ มบ ี รรดาศก ั ดิเ์ ป็ น
"หลวงพิชย ั อาสา" เมือ ่ รับราชการมีความดีความชอบจึงได ้รับแต่งตัง้ เป็ น
เจ ้าหมืน
่ ไวยวรนาถ พระยาสห ี ราชเดโช และพระยาพิชย ั ผู ้สำเร็จราชการ
วัยเยาว์
พระยาพิชย ั ดาบหัก เดิมชอื่ จ ้อย เกิดในปี พ.ศ. 2284 ทีบ ่ ้านห ้วย
คา เมืองพิชยั จังหวัดอุตรดิตถ์ มีพน ี่ ้อง 4 คน แต่เสย ี ชวี ต ิ ไป 3 คน
เด็กชายจ ้อยมีนส ั ชอบชกมวยมาตัง้ แต่เยาว์วย
ิ ย ั บิดาได ้พร่ำสอน
เสมอ ถ ้าจะชกมวยให ้เก่งต ้องขยันเรียนหนังสอ ื ด ้วย เมือ่ อายุได ้ 14
ปี บิดานำไปฝากกับท่านพระครูวด ั มหาธาตุ เมืองพิชย ั จ ้อย
สามารถอ่านออกเขียนได ้จนแตกฉานและซอมมวยไปด ้ ้วย

ต่อมาเจ ้าเมืองพิชย ั ได ้นำบุตร (ชอ ื่ เฉิด) มาฝากทีว่ ด ั เพือ่ ร่ำเรียน


วิชา เฉิดกับพวกมักหาทางทะเลาะวิวาทกับจ ้อยเสมอ เขาจึง
ตัดสน ิ ใจหนีออกจากวัดขึน ้ ไปทางเหนือโดยมิได ้บอกพ่อแม่และ
อาจารย์ เดินตามลำน้ำน่านไปเรือ ่ ยๆ เมือ ่ เหนือ
่ ยก็หยุดพักตามวัด
ทีว่ ดั บ ้านแก่ง จ ้อย ได ้พบกับครูฝึกมวยคนหนึง่ ชอ ื่ เทีย่ ง จึงฝากตัว
เป็ นศษ ิ ย์แล ้วเปลีย่ นชอื่ ใหม่เป็ นทองดี ครูเทีย ่ งรักนายทองดีมาก
และมักเรียกนายทองดีวา่ นายทองดี ฟั นขาว (เนือ ่ งจากท่านไม่
เคีย ้ วหมากพลูดงั คนสมัยนัน ้ ) ด ้วยความสุภาพเรียบร ้อย และขยัน
ขันแข็งเอาใจใสก ่ ารฝึ กมวยชว่ ยการงานบ ้านครูเทีย ่ งด ้วยดีเสมอ
ื่ เสย
ชอ ี ง
เมือ่ เดินถึงบางโพได ้เข ้าพักทีว่ ด ั วังเตาหม ้อ (ปั จจุบน ั คือวัดท่า
ถนน) พอดีกบ ั มีการแสดงงิว้ จึงอยูด ่ อ
ู ยูเ่ จ็ดวันเจ็ดคืน นายทองดี
ฟั นขาว สนใจงิว้ แสดง ท่าทางหกคะเมน จึงจดจำไปฝึ กหัดจน
จดจำท่างิว้ ได ้ทัง้ หมดสามารถกระโดดข ้ามศรี ษะคนยืนได ้อย่าง
สบาย จากนัน ้ ก็ลาพระสงฆ์วด ั วังเตาหม ้อขึน ้ ไปท่าเสา ขอสมัคร
เป็ นลูกศษ ิ ย์ครูเมฆซงึ่ มีชอ
ื่ เสยี งในการสอนมวย ครูเมฆรักนิสย ั
ใจคอจึงถ่ายทอดวิชาการชกมวยให ้จนหมดสน ิ้

ขณะนัน ้ นายทองดี ฟั นขาว อายุได ้ 18 ปี ต่อมาได ้มีโอกาส


ชกมวยในงานไหว ้พระแท่นศล ิ าอาสน์ กับนายถึก ศษิ ย์เอกของ
ครูนล ิ นายถึกไม่สามารถป้ องกันได ้ ถก ู เตะสลบไปนานประมาณ
10 นาที ครูนล ิ อับอายมากจึงท ้าครูเมฆชกกัน นายทองดี ฟั นขาว
ได ้กราบอ ้อนวอนขอร ้อง ขอชกแทนครูเมฆและได ้ตะลุยเตะต่อย
จนครูนล ิ ฟั นหลุดถึง 4 ซ ี่ เลือดเต็มปากสลบอยูเ่ ป็ นเวลานาน ชอ ื่
เสย ี งนายทองดี ฟั นขาว กระฉ่อนไปทั่วเมืองทุง่ ยัง้ ลับแล พิชย ั
และเมืองฝาง นายทองดีอยูก ่ บั ครูเมฆประมาณ 2 ปี ก็ขอลาไป
ศกึ ษาการฟั นดาบทีเ่ มืองสวรรคโลก ด ้วยความฉลาดมีไหวพริบ
รับราชการ
เมือ
่ ท่านเดินทางถึงเมืองตาก ขณะนัน ้ ได ้มีพธิ ถ
ี อ ั ยาทีว่ ด
ื น้ำพิพัฒน์สต ั
ใหญ่เจ ้าเมืองตาก สมเด็จพระเจ ้ากรุงธนบุรจ ี ัดให ้มีมวยฉลองด ้วย นาย
ทองดี ฟั นขาว ดีใจมากเข ้าไปเปรียบมวยกับครูห ้าวซงึ่ เป็ นครูมวยมือดี
ของเจ ้าเมืองตากและมีอท ิ ธิพลมาก นายทองดี ฟั นขาว ใชความว่ ้ องไวใช ้
หมัดศอกและเตะขากรรไกรจนครูห ้าวสลบไป เจ ้าเมืองตากจึงถามว่า
สามารถชกนักมวยอืน ่ อีกได ้หรือไม่ นายทองดี ฟั นขาว บอกว่าสามารถชก
ได ้อีก เจ ้าเมืองตากจึงให ้ชกกับครูหมึกครูมวยร่างสูงใหญ่ ผิวดำ นายทอง

ดี เตะซายเตะขวา บริเวณขากรรไกร จนครูหมึกล ้มลงสลบไป

เจ ้าเมืองตากพอใจมากให ้เงิน 3 ตำลึง และชก ั ชวนให ้อยูด


่ ้วย นายทองดี
ฟั นขาว จึงได ้ถวายตัวเป็ นทหารของเจ ้าเมืองตาก (สมเด็จพระเจ ้า
กรุงธนบุร)ี ตัง้ แต่บด ั นัน
้ เป็ นทีโ่ ปรดปรานมากและได ้รับยศเป็ น "หลวง
พิชย ั อาสา" เมือ ่ เจ ้าเมืองตากได ้รับพระราชทานโปรดเกล ้าฯ ให ้เป็ น
พระยาวชริ ปราการ ครองเมืองกำแพงเพชร หลวงพิชย ั อาสาได ้ติดตามไป
รับใชอย่้ างใกล ้ชด ิ และเป็ นเวลาเดียวทีพ ่ ม่ายกทัพล ้อม กรุงศรีอยุธยา

พระยาวชริ ปราการพร ้อมด ้วยหลวงพิชย


ั อาสา และทหารเข ้าสูรบกั
้ บทัพ
ถวายชวี ต
ิ เป็ นราชพลี
เมือ่ ปี พ.ศ. 2325 หลังจากสมเด็จพระเจ ้าตากสน ิ มหาราชถูกสำเร็จโทษ
สมเด็จเจ ้าพระยามหากษั ตริยศ ์ กึ เล็งเห็นว่าพระยาพิชย ั เป็ นขุนนางคู่
พระทัยสมเด็จพระเจ ้ากรุงธนบุรท ี ม
ี่ ฝี ี มือและซอ ื่ สต ั ย์ จึงชวนพระยาพิชย ั
เข ้ารับราชการในแผ่นดินใหม่ แต่พระยาพิชย ั ไม่ขอรับตำแหน่งด ้วยท่าน
เป็ นคนจงรักภักดีและซอ ื่ สต
ั ย์ตอ่ องค์สมเด็จพระเจ ้าตากสน ิ มหาราช และ
ถือคติทวี่ า่ "ข ้าสองเจ ้าบ่าวสองนายมิด"ี จึงขอให ้สมเด็จเจ ้าพระยามหา
กษั ตริยศ ึ สำเร็จโทษตนเป็ นการถวายชวี ต
์ ก ิ ตายตามสมเด็จพระเจ ้าตากสน ิ
มหาราช ซงึ่ ทายาทของพระยาพิชย ั ดาบหัก ก็ได ้รับราชการสบ ื มา โดย
ท่านเป็ นต ้นตระกูลของนามสกุล วิชย ั ขัทคะ วิชย ั ลักขณา ศรีศรากร พิชย ั
กุล ศริ ปิ าละ ดิฐานนท์ เชาวนปรีชา

หลังจากท่านได ้ถูกสำเร็จโทษ สมเด็จเจ ้าพระยามหากษั ตริยศ ึ ได ้


์ ก
ปราบดาภิเษกเป็ นปฐมกษั ตริยแ ์ ห่งราชวงศจ ์ ักรีเฉลิมพระนามว่าพระบาท
สมเด็จพระพุทธยอดฟ้ าจุฬาโลกมหาราช พระองค์จงึ ได ้มีรับสงั่ ให ้สร ้าง
พระปรางค์นำอัฐข ิ องท่านไปบรรจุไว ้ ณ วัดราชคฤห์วรวิหาร ซงึ่ พระปรางค์
นีก ื มาจนปั จจุบน
้ ็ยังปรากฏสบ ั

You might also like