Download as pptx, pdf, or txt
Download as pptx, pdf, or txt
You are on page 1of 59

รายละเอียดขอบระวางและ

สัญลักษณ์
องค์ประกอบของแผนที่
ตามปกติรูปแบบของแผนที่ทั่วๆไปจะเป็ นรูป
“สี่เหลี่ยมผืนผ้าหรือสี่เหลี่ยม
จัตุรัส”
ห่างจากริมทั้งสี่ด้านของแผ่นแผนที่เข้าไปจะมี
เส้นกั้นขอบเขตบรรจบกันเป็ นรูปสี่เหลี่ยม
“เส้นขอบระวางแผนที่ ( Neat Line ) ”

11/27/2023 3
องค์ประกอบของแผนที่
เส้นขอบระวาง
เส้นตรง
แสดงค่าพิกัดกริด Northing ( N ) และ Easting ( E )
เส้นโค้ง
แสดงค่าพิกัดภูมิศาสตร์ ละติจูต และ ลองจิจูต

11/27/2023 4
รายละเอียดขอบระวางของแผนที่
ชื่อแผ่นระวาง ( Sheet Name )
จะปรากฏกึ่งกลางขอบระวางตอนบน และด้าน
ล่างซ้ายขอบระวางตอนล่างของแผนที่ การตั้งชื่อ
ระวาง ตั้งตามชื่อภูมิศาสตร์ที่เป็ นสถานที่สำคัญ
ตามที่แผนที่ระวางนั้นครอบคลุม หรือตั้งชื่อตาม
หมู่บ้าน ตำบล อำเภอ หรือชื่อเมืองใหญ่ ๆ

11/27/2023 5
ชื่อแผ่นระวาง
รายละเอียดขอบระวางของแผนที่
หมายเลขแผ่นระวาง ( Sheet Number )
ปรากฏที่มุมด้านบนขวาและมุมด้านล่างซ้ายขอบระวาง อำนวย
ความสะดวกในการจัดเก็บและแสดงในกรอบสี่เหลี่ยมกึ่งกลางของ
สารบัญระวางติดต่อตรงขอบด้านล่างขวา
ใช้ในการค้นหาระวางข้างเคียงเชื่อมต่อเพื่อการใช้วางแผน ที่มี
การปฎิบัติต่อเนื่องในพื้นที่กว้างขวางมากกว่าแผนที่ระวางนั้น
ครอบคลุมถึง
สำหรับแผนที่มาตราส่วน 1: 100,000 หรือใหญ่กว่าหมายเลข
ระวางนี้จัดเป็ นมูลฐานอ้างอิงใช้กำหนดปรับจำนวนระวางแผนที่
มาตราส่วน 1:100,000,1:50,000 และ 1:25,000
11/27/2023 7
หมายเลขแผ่นระวาง

4936 II
การกำหนดหมายเลข
แผ่นระวางแผนที่ 5234 5334 5434 5534 1:100,000
Sheet No. At:1/100,000
[5432]

5233 5333 5433 5533

Sheet No. At:1/50,000


IV I
[5432 II] 5432
5232 5332III5432II 5532
1:50,000

NW NE
Sheet No. At:1/25,000
[5432 II SE] 5432 II
SW SE 1:25,000
11/27/2023 9
รายละเอียดขอบระวางของแผนที่
ชื่อชุดและมาตราส่วน ( Sheet Name And Scale )
ปรากฏที่ขอบระวางด้านซ้ายตอนบน โดย
กำหนดขึ้นตามการปกครองหลักที่รู้จักเป็ นสากล
เช่น
“ ประเทศไทย มาตราส่วน 1:50,000”
มาตราส่วน เป็ นอัตราส่วนระหว่างระยะทาง
บนแผนที่กับระยะทางในภูมิประเทศหรือผิวโลก จะ
ปรากฏกึ่งกลางด้านล่างขอบระวางอีกตำแหน่งหนึ่ง
11/27/2023 10
ชื่อชุดและมาตราส่วน

11/27/2023 11
รายละเอียดขอบระวางของแผนที่
หมายเลขลำดับชุด ( Series Number )
ปรากฏขอบบนด้านขวาและขอบล่างด้านซ้าย
เช่น “ L 7018 ” เพื่อการใช้ค้นหาแผนที่ชุดอื่นๆ ใน
กรณีต้องการใช้แผนที่มากกว่า 1 ชุด
หมายเลขลำดับชุด ประกอบด้วยอักษรหรือ
ตัวเลขอย่างใดอย่างหนึ่ง ตามตัวอย่าง อักษร “ L ”
และตามด้วยตัวเลข
จำนวน 4 ตำแหน่ง เช่น “7018”
11/27/2023 12
หมายเลขลำดับชุด

L 7018

11/27/2023 13
องค์ประกอบทั้งหมดที่เป็ นตัวอักษรและตัวเลขแทนความหมาย
ดังนี้.-
ตัวอักษร L แทน ภูมิภาคใหญ่
ตัวเลข 7 แทน มาตราส่วนในกลุ่มมาตราส่วน 1:50,000
ตัวเลข 0 แทน พื้นที่ส่วนย่อยของภูมิภาคใหญ่ที่ประเทศไทย
ตั้งอยู่
ตัวเลข 17 แทน ลำดับการผลิตแผนที่ โดยแผนที่ประเทศไทย
ชุดใหม่คือ “18”
L7018

11/27/2023 14
องค์ประกอบที่ 1
เป็ นได้ทั้งตัวอักษรหรือตัวเลข กรณีเป็ นตัวอักษร หมายถึง
การกำหนดหมายเลข
บริเวณภูมิภาคใดภูมิภาคหนึ่ง เช่น “L” และกรณีที่เป็ นตัวเลข
5234 5334 5434 5534 1:100,000
หมายถึงระวางแผนที่
เลขชุดประจำพิภพ
Sheet No. At:1/100,000
องค์ประกอบที่
[5432] 2
เป็ นตัวเลขเสมอ ได้แก่5233 “7”ใช้แทนมาตราส่วนแผนที่ตามกลุ่ม
5333 5433 5533
มาตราส่วนดังนี้.-
ก ) ตัวเลข 1[5432
Sheet หมายถึง
No. At:1/50,000
IV
มาตราส่วน I
1:5,000,000 และ
II] 5432 1:50,000
เล็กกว่า 5232 5332III5432II 5532

ข ) ตัวเลข 2 หมายถึง มาตราส่วน


ระหว่าง1:5,000,000-1:2,000,000
NW NE
ค ) ตัวเลขSheet
3 หมายถึง มาตราส่วนระหว่าง
No. At:1/25,000
[5432 II SE] 5432 II 1:25,000
1:2,000,000-1:510,000 SW SE
11/27/2023 15
ง ) ตัวเลข 4 หมายถึง มาตราส่วนระหว่าง
1:510,000-255,000
การกำหนดหมายเลข
5234 5334 5434 5534 1:100,000
จระวางแผนที่
) ตัวเลข 5 หมายถึง มาตราส่วนระหว่าง
1:255,000-1:150,000
Sheet No. At:1/100,000
[5432]
ฉ ) ตัวเลข 6 หมายถึง 5233 มาตราส่วนระหว่าง
5333 5433 5533
1:150,000-1:70,000
IV I
ช ) ตัวเลข 7[5432 หมายถึง
Sheet No. At:1/50,000
II] มาตราส่วนระหว่าง
5432 1:50,000
5232 5332III5432II 5532
1:70,000-1:35,000
ซ ) ตัวเลข 8 หมายถึง มาตราส่วนใหญ่กว่า
1:35,000 โดยไม่รวมแผนที่ตัวเมืองNW NE
Sheet No. At:1/25,000
ฌ )ตัวเลข 9 แสดงเป็ 5432 II เช่น 1:25,000
นแผนที่ผังเมือง
[5432 II SE] L 9013
SW SE
11/27/2023 16
องค์ประกอบที่ 3 เป็ นตัวเลข ได้แก่ “0” แสดงพื้นที่ส่วน
ย่อยเกิดจากการแบ่งพื้นที่ภูมิภาคใหญ่
การกำหนดหมายเลข (องค์ประกอบที่ 1 : L) ออก
5234 5334 5434 5534 1:100,000
เป็ นส่วนย่อย
ระวางแผนที่
องค์ประกอบที่
Sheet No. At:1/100,000
[5432]
4 เป็ นตัวเลขแสดงลำดับการผลิตแผนที่
ชุดแผนที่ครอบคลุมพื้นที่ในภูมิภาคใหญ่พื้นที่เดียวกัน
5233 5333 5433 5533 มาตราส่วน
เดียวกันมีลำดับเลขเพิ่มขึ้นทุกครั้งที่มีการเปลี่ยนแปลงเป็ นแผนที่
ชุดใหม่ เช่น “17” (ชุดเดิม)
Sheet
IV
“18” (ชุดใหม่)
No. At:1/50,000
I
[5432 II] 5432 1:50,000
5232 5332III5432II 5532

เก่า Sheet No. At:1/25,000 NW NE


ใหม่
[5432 II SE] 5432 II 1:25,000
SW SE
11/27/2023 17
องค์ประกอบที่ 5 ในกรณีที่มีการเพิ่มเติมการทำแผนที่
เป็ นแผนที่ภาพถ่าย และเป็ นแผนที่ที่จัดทำขึ้นใช้ในความมุ่งหมาย
พิเศษ แสดงด้วยตัวอักษร “S” สีดำ

11/27/2023 18
รายละเอียดขอบระวางของแผนที่
หมายเลขครั้งที่การพิมพ์( Edition Number )
ปรากฏด้านบนขวา และด้านล่างซ้ายขอบระวาง แสดง
ความทันสมัยของแผนที่ เช่น “1–RTSD”

19
หมายเลขการจัดพิมพ์

11/27/2023 20
สารบัญแสดงแนวแบ่งเขต ( Index To Boundary )
ปรากฏภายในกรอบแผนที่ขนาดย่อ ด้านล่างขวาขอบ
ระวางแสดงลักษณะเส้นของการปกครองท้องที่ เขตอำเภอ
เขตจังหวัด และ/หรือ เขตประเทศ เป็ นเขตความรับผิดชอบ
ในการปกครองพื้นที่ โดยสังเขปตรงกับบนแผนที่

11/27/2023 21
สารบัญระวางติดต่อ ( Adjoining Sheets Diagram )
ปรากฏในกรอบแผนที่ แผนภาพ ขนาดย่อด้านล่าง
ขวา แสดงหมายเลขระวางมาตราส่วนเดียวกัน เป็ นรูป
สี่เหลี่ยมแทนระวางแผนที่ต่อเนื่อง ด้านล่างกรอบแผนภาพ
แสดงข้อความมาตราส่วนแผนที่ระวางที่ใช้งาน ซึ่งปรากฏ
ในแผนที่มาตราส่วน 1:250,000 ไว้ด้วย

11/27/2023 22
คำแนะนำเกี่ยวกับระดับสูง ( Elevation Guide )
ปรากฏด้านล่างขวาแสดงลักษณะความสูงของ
ภูมิประเทศเป็ นภาพย่อ ลักษณะพื้นที่ภูมิประเทศแสดง
ด้วยแถบสีเทา-ดำ ระดับสูง จุดความสูง และทางน้ำหลัก
อำนวยความสะดวกแก่ผู้ใช้แผนที่ในการพิจารณาพื้นที่สูง
ข่มอย่างรวดเร็วแทนการค้นหาแผนที่รวมทั้งทิศทางการ
ไหลของน้ำ

11/27/2023 23
แผนผังมุมเยื้อง ( Declination Diagram )
ปรากฏด้านล่างขอบระวางของแผนที่ แสดงแนวทิศ
เหนือซึ่งเป็ นทิศหลัก ได้แก่ ทิศเหนือกริด ทิศเหนือแม่เหล็ก
และทิศเหนือภูมิศาสตร์(ทิศเหนือจริง) แสดงความสัมพันธ์
ซึ่งกันและกัน

11/27/2023 24
มาตราส่วนเส้นบรรทัด ( Bar Scale )
ปรากฏกึ่งกลางด้านล่าง ลักษณะดังไม้บรรทัดใช้วัด
ระยะ หรือเปรียบเทียบระยะโดยเปลี่ยนระยะบนแผนที่เป็ น
ระยะในภูมิประเทศ จัดสร้างขึ้นให้สัมพันธ์กับมาตราส่วน
แสดงหน่วยวัดระยะ 3 แบบ หรือมากกว่า

11/27/2023 25
ช่วงต่างเส้นชั้นความสูง ( Contour Interval )
เป็ นข้อความปรากฏกึ่งกลางด้านล่างขอบระวางใต้
มาตราส่วนเส้นบรรทัด เป็ นระยะตามแนวเส้นดิ่งระหว่างเส้น
ชั้นความสูงรองสองเส้นหน่วยเป็ นเมตร หากปรากฎมีเส้น
ชั้นความสูงแทรกจะแสดงตัวเลขประกอบไว้ด้วย

26
ช่วงต่างเส้นชั้นความสูง ( Contour Interval )
เป็ นข้อความปรากฏกึ่งกลางด้านล่างขอบระวางใต้
มาตราส่วนเส้นบรรทัด เป็ นระยะตามแนวเส้นดิ่งระหว่างเส้น
ชั้นความสูงรองสองเส้นหน่วยเป็ นเมตร หากปรากฎมีเส้น
ชั้นความสูงแทรกจะแสดงตัวเลขประกอบไว้ด้วย

5136-1

General

27
5138-4
เครื่องหมายหน่วย (หมายเหตุความน่าเชื่อถือ)
( Unit Imprint and Symbol )
ปรากฏด้านล่างซ้ายเป็ นรูปเครื่องหมายหน่วยจัดพิมพ์ ผู้
ผลิตแผนที่ เป็ นข้อมูลในการประเมินค่าความน่าเชื่อถือ
แผนที่ที่ผลิต

11/27/2023 28
เครื่องหมายหน่วย (หมายเหตุความน่าเชื่อถือ)
( Unit Imprint and Symbol )
บันทึกหมายเหตุอื่นๆ
ปรากฏกึ่งกลางขอบระวาง

หมายเหตุ รูปสัณฐาน ( Spheroid Note )


แสดงชนิดของรูปสัณฐานของโลกที่ใช้ในการจัดทำ
แผนที่ฉบับนั้นๆ

หมายเหตุ เกี่ยวกับเส้นกริด ( Grid Note )


แสดงข้อมูลเกี่ยวกับการใช้ระบบกริด และระยะห่าง
ระหว่างเส้นกริด พร้อมกับแจ้งหมายเลขเขตกริด
30
หมายเหตุเกี่ยวกับเส้นกริด
บันทึกหมายเหตุอื่นๆ

กรอบอ้างอิงค่ากริด ( Grid Reference Box )


ปรากฏกึ่งกลางด้านล่างขอบระวางบรรจุคำแนะนำการอ่าน
พิกัดกริด และคำแนะนำสำหรับการอ้างอิงใช้เส้นกริด

32
บันทึกหมายเหตุอื่นๆ

หมายเหตุ การฉายแบบ.... ( Projection Note )


ระบบการฉายแบบครอบของแผนที่หรือเส้นโครง
แผนที่ เป็ นชนิดรักษามุม ( Conformal Type ) ทำให้พื้นที่
ขนาดเล็กจะมีรูปร่างถูกต้อง ค่ามุมที่รังวัดใกล้เคียงค่าที่ถูก
ต้อง และตัวประกอบมาตราส่วน ( Scale Factor )มีค่าทิศทาง
ของจุดเท่ากัน

33
บันทึกหมายเหตุอื่นๆ

หมายเหตุหลักฐานทางดิ่ง( Vertical Datum Note )


แสดงพื้นฐานทางดิ่งหรือพื้นหลักฐานควบคุมทางดิ่งอ้างอิง
กับผิวระดับทะเลปานกลาง : รทก. ( Mean Sea Level :
MSL )ค่าระดับสูงของจุดต่างๆ สถานที่ต่างๆ อ้างอิงจากพื้น
ฐานนี้

34
บันทึกหมายเหตุอื่น ๆ

หมายเหตุหลักฐานทางราบ( Horizontal Datum Note )


แสดงพื้นหลักฐานทางราบหรือพื้นหลักฐานควบคุม
ทางราบในการกำหนดจุดยีออเดติคอ้างอิง ที่เป็ นหมุดหลัก
เริ่มแรกสำหรับการสำรวจจุดบังคับทางราบ ผู้ใช้แผนที่ควร
ตรวจสอบหมายเหตุพื้นหลักฐานทางราบ โดยเฉพาะแผนที่
ระวางข้างเคียงต้องเป็ นพื้นหลักฐานแบบเดียวกัน ทั้งนี้หาก
เกิดความแตกต่างของพื้นหลักฐานจะทำให้ค่าพิกัดยูทีเอ็ม
ของจุดเดียวกันเกิดความแตกต่างของระยะทางประมาณ
300-500 เมตร 35
หมายเหตุหลักฐานทางดิ่งทางราบ
บันทึกหมายเหตุอื่นๆ

หมายเหตุ การพิมพ์ แสดงสถานที่พิมพ์แผนที่และวัน


ที่ทำการพิมพ์
จัดพิมพ์โดย......................กรมแผนที่ทหาร
2545

37
สัญลักษณ์ ( Legend )
ปรากฏด้านล่างซ้ายขอบระวางเป็ นข้อความอธิบาย
การใช้ ลักษณะเครื่องหมายและสี แทนรายละเอียดที่เกิดขึ้น
ตามธรรมชาติ และที่มนุษย์สร้างขึ้น นำไปใช้แสดงบน
แผนที่เพื่อให้ผู้ใช้แผนที่ทราบว่า เครื่องหมายที่ปรากฏบน
แผนที่นั้นใช้รูปแทนรายละเอียดด้วยรูปอะไร มีความหมาย
อย่างไร ซึ่งสัญลักษณ์เหล่านี้เป็ นสากล โดยแผนที่แต่ละ
แบบจะใช้สัญลักษณ์แตกต่างกัน

38
สัญลักษณ์ [ LEGEND ]

39
สัญลักษณ์
แผนผังมุมเยื้อง
ศัพทานุกรม ( Glossary )
ปรากฏด้านล่างขอบระวางแผนที่ แสดงความหมาย
นามศัพท์จากภาษาพื้นเมืองเป็ นภาษาอังกฤษ

42
หมายเลขสิ่งอุปกรณ์
คำแนะนำเกี่ยวกับลาด ( Slope Guide )

11/27/2023 44
A-C=Horizontal Dist.Between Index Contour X = VERTEX
A-D
I-E
J-F Horizontal Dist.Between Intermediate Contour
K-G
L-H
O 300
L H
280
K G
260
J F
240
I E
220
D
200
A 11/27/2023B C 45
บันทึก ( Notes )

11/27/2023 46
การแปลงค่าพิกัด ( WGS 84 เป็ น INDIAN 1975 )

47
คำ
แนะนำ/ชี้
แจงอื่นๆ

1 ฟิ ลิปดาของเส้นแวงเท่ากับ 29.02 ม.

11/27/2023 48
ชนิดของแผนที่
ปรากฏกึ่งกลางขอบระวางด้านล่าง พร้อมมาตราส่วน
แจ้งให้ผู้ใช้ทราบว่าเป็ นแผนที่ชนิดที่ใช้ในภารกิจ
การยุทธร่วมทางอากาศ-ภาคพื้นดิน เนื่องจากแผนที่ชุดนี้
มี 2 ชนิด คือ ภาคพื้นดิน [ JOG-G : GROUND ] และ
ทางอากาศ
[ JOG-A : AIR ]

JOG-G JOG-A

11/27/2023 49
ชนิดของแผนที่
ปรากฏกึ่งกลางขอบระวางด้านล่าง พร้อมมาตราส่วน
แจ้งให้ผู้ใช้ทราบว่าเป็ นแผนที่ชนิดที่ใช้ในภารกิจ
การยุทธร่วมทางอากาศ-ภาคพื้นดิน เนื่องจากแผนที่ชุดนี้
มี 2 ชนิด คือ ภาคพื้นดิน [ JOG-G : GROUND ] และ
ทางอากาศ
[ JOG-A : AIR ]

JOG-G JOG-A

11/27/2023 50
รายละเอียดขอบระวางแผนที่ JOG-[G,A] Series 1501 ครั้งที่๒(๗/๒๕)

11/27/2023 51
JOG-AIR 1:250,000 WGS 84

11/27/2023 52
JOG-GROUND 1:250,000 WGS 84

11/27/2023 53
รายละเอียดขอบระวางแผนที่ทางทหาร
แผนที่ยุทธการร่วม (JOIN OPERATION GRAPHIC)
มาตราส่วน 1: 250,000 ชุด 1501
ลำดับชุด/ระวาง/ครั้งที่การพิมพ์ [Series/Sheet/Edition]
ปรากฏมุมขอบระวางตอนบนและล่างด้านซ้ายของแผนที่ ได้แก่
1501/ ND 47-11/พิมพ์ครั้งที่ 6-RTSD การตั้งชื่อระวาง ตั้งตาม
ชื่อภูมิศาสตร์ที่เป็ นสถานที่ตามที่แผนที่ระวางนั้นครอบคลุม หรือตั้ง
ชื่อตามรายละเอียดทางวัฒนธรรมขนาดใหญ่ อาทิเช่น ชุมชนหรือชื่อ
เมืองขนาดใหญ่

11/27/2023 54
เครื่องหมายแผนที่ภูมิประเทศ
สัญลักษณ์แผนที่
วัตถุประสงค์หลักการใช้แผนที่ ต้องการช่วยให้ผู้ใช้
แผนที่มองเห็นแผนที่ที่มีรายละเอียดตรงกับความเป็ นจริงกับ
บนผิวโลก โดยแนวทางอุดมคติรายละเอียดในพื้นที่ตามที่
แผนที่นั้นครอบคลุม ต้องจัดแสดงรายละเอียดไว้บนแผนที่
ทั้งหมด แต่ความเป็ นจริงแล้วแผนที่ไม่สามารถแสดงได้ตรง
ตามความจริงที่ปรากฎบนผิวโลก

55
บางสิ่งอาจไม่มีความสำคัญ บางอย่างอาจมีขนาด
เล็ก หากนำมาย่อขนาดตามมาตราส่วนจะมีขนาดเล็กจนไม่
สามารถจำรูปลักษณ์ได้ ทำให้ต้องใช้เครื่องหมาย หรือ
สัญลักษณ์แทนรูปลักษณ์สิ่งต่างๆโดยการกำหนดให้มี
ความเป็ นสากล คล้ายคลึงหรือมีเอกลักษณ์บางอย่าง
ประกอบเท่าที่จะเป็ นได้ และสามารถมองภาพจากที่สูง
เข้าใจได้

56
เครื่องหมายทางทหาร
โดยนัยเดียวกันกับสัญลักษณ์แผนที่ ความ
ต้องการของบุคลากรทางทหาร มีความประสงค์ ใช้
เครื่องหมายแสดง ขนาด ชนิด ที่ตั้ง นามหน่วย การเคลื่อน
ย้ายตลอดถึงกิจกรรมทางทหารอื่นๆ เครื่องหมายราย
ละเอียดเหล่านี้ เรียกว่า “เครื่องหมายทางทหาร”ปกติไม่
แสดงไว้เป็ นการถาวรบนแผนที่ เนื่องจากเป็ นการแสดงให้
เห็นถึง การเคลื่อนย้าย และการ รปภ. หน่วยทหาร จึงนิยม
นำไปแสดงไว้บนแผนที่พิเศษ หรือแผ่นบริวาร ผู้ใช้แผนที่
จะเป็ นผู้เขียนเครื่องหมายทางทหารเหล่านั้นด้วยตนเอง
เพื่อการ รปภ.
57
สีกับสัญลักษณ์
รายละเอียดภายในขอบระวางแผนที่ใช้สัญลักษณ์
ช่วยในการอ่านลักษณะรายละเอียดภูมิประเทศ และเพื่อ
สะดวกในการอ่านแผนที่ ผู้ที่ทำแผนที่พยายามใช้สีประกอบ
เครื่องหมายให้กับความแตกต่างกันให้เห็นอย่างชัดเจน และ
ใช้สีกับสิ่งที่เป็ นรายละเอียดตามสีในธรรมชาติ การให้ความ
หมายของสัญลักษณ์อาจแตกต่างกันไปตามประเภทของ
แผนที่ มาตราส่วน และแหล่งกำเนิด สัญลักษณ์ที่ใช้บนแผนที่
แต่ละประเภทเมื่อนำมาเปรียบเทียบกันจะเห็นความแตกต่าง
ที่เกิดขึ้นอย่างชัดเจน
58
สีแผนที่ภูมิประเทศมาตราส่วนใหญ่ ใช้สีของ
สัญลักษณ์ดังต่อไปนี้
สีดำ - แสดง/แทน รายละเอียดสิ่งที่มนุษย์สร้างขึ้น
รวมทั้งรายละเอียดที่มีความสำคัญทางวัฒนธรรม
สีแดง - แสดง/แทน รายละเอียดถนนสายหลัก และ
แหล่งชุมชนหนาแน่น
สีน้ำเงิน - แสดง/แทน รายละเอียดแหล่งน้ำ อาทิ แม่น้ำ
ทะเล ทะเลสาบ อ่างเก็บน้ำ ลำธาร และบึง
สีเขียว - แสดง/แทน รายละเอียดพืชพันธ์ไม้ อาทิ ป่ า
นาสวน ไร่ ความแตกต่างของเขต ใช้ความแตกต่างของ
ระดับสีแทนความหนาแน่นของพืชพันธ์
59
สีแผนที่ภูมิประเทศมาตราส่วนใหญ่ ใช้สีของ
สัญลักษณ์ดังต่อไปนี้
สีน้ำตาล - แสดง/แทน รายละเอียดทรวดทรงภูมิประเทศ
ที่มีระดับความสูง ( ความสูง-ต่ำ ) อาทิ ภูเขา
ดินตัด ดินถม
สีอื่น ๆ - บางโอกาสมีรายละเอียดอื่นๆ อาจใช้สีนอก
เหนือจากที่กล่าว แต่ได้กำหนดเป็ นกฎแน่นอนโดยต้องแจ้งให้
ผู้ใช้แผนที่ทราบไว้ที่ขอบระวางแผนที่

60

You might also like