Coating Technique I

You might also like

Download as ppt, pdf, or txt
Download as ppt, pdf, or txt
You are on page 1of 65

เทคนิคการเคลือบผิว

Part I
การเคลือบโดยใช้แปรง
การเคลือบโดยใช้ลูกกลิ้ง
การเคลือบโดยใช้วิธีเสปรย์
การเคลือบโดยใช้วิธีทางเคมีไฟฟ้ า(electrodeposition)
Part II
การเคลือบโดยใช้สีผงโดยการพ่นด้วยเปลวความร้อน
(Thermal Spray deposition)
การเคลือบโดยวิธี (chemical vapor deposition, CVD)

การเคลือบโดยกระบวนการ Sputter
การเคลือบผิวโดยการใช้แปรง

แปรงทาสีในท้องตลาดมีหลากหลายชนิด:

หน้าแคบและหน้ากว้าง

ด้ามสั้นและด้ามยาว
ทำจากวัสดุ Nylon, polyester และ hog bristle
การเคลือบผิวโดยใช้ลูกกลิ้ง

การเคลือบผิวโดยการใช้ลูกกลิ้งเป็ นวิธีที่เร็วในการเคลือบผิวโดยใช้แรง
คน เหมาะสำหรับการเคลือบผิวสิ่งก่อสร้างและอาคาร เช่นผนัง หลังคา
การเคลือบผิวโดยวิธีเสปรย์

การเสปรย์เป็ นวิธีที่เร็วกว่าการใช้แปรงหรือลูกกลิ้ง

มีอุปกรณ์ที่หลากหลายชนิดในการทำเสปรย์

ขนาดของละอองของเหลวจะขึ้นอยู่กับชนิดของ spray gun


การเคลือบผิวโดยวิธีเสปรย์
ข้อเสียของการเคลือบผิวโดยวิธีเสปรย์คือมีประสิทธิภาพในการเคลือบ
ต่ำเนื่องจากมีละอองของเหลวเพียงบางส่วนเท่านั้นที่ตกลงบนพื้นผิวที่
ต้องการเคลือบ

มีละอองของเหลวบางส่วนที่เมื่อกระทบพื้นผิวแล้วกระดอนหลุดออก
ไปและมีบางส่วนที่ตกเลยพื้นผิวที่เคลือบ บางส่วนที่ตกก่อนที่จะถึงพื้น
ผิว ผลรวมที่เกิดจากการสูญเสียละอองของเหลวที่เคลือบจะถูกนำมาคิด
เป็ นเปอร์เซ็นต์ของสารเคลือบที่ออกจาก spray gun แล้วตกลงบนพื้น
ผิวที่ต้องการเคลือบ (transfer efficiency)
ประสิทธิภาพในการเคลือบผิว

Type of Spray Gun Transfer Efficiency (%)

Air 25

Airless 40

Air-assisted airless 50

High volume, low pressure air 65

Electrostatic air 60-85


Electrostatic rotary 65-94
Air Spray Gun

Air spray guns จะทำให้เกิดละอองของเหลวโดยใช้การอัดอากาศ


ละอองสารเคลือบจะออกจากหัวฉีดโดยใช้การอัดอากาศที่แรงดัน ~ 250-
400 kPa (35-70 psi)
Air Spray Gun

ขนาดของละอองของเหลวจะถูกควบคุมโดย:

1. ความหนืดของสารเคลือบ
2. แรงดันอากาศ
3. ขนาดของรูในหัวฉีด
4. ความดันที่บังคับให้ของเหลวออกมาทางหัวฉีด

5. แรงตึงผิว
Airless Spray Gun

ของเหลวถูกทำให้เป็ นละอองฝอยโดยไม่ใช้อากาศ แต่ใช้ ความดันไฮดรอ


ลิกแทน

ของเหลวจะพุ่งออกจากหัวฉีดในลักษณะเป็ นแผ่น ในขณะที่แผ่น


ของเหลวเคลื่อนที่ห่างออกจากหัวฉีดก็จะมีลักษณะคล้ายม่านแล้วก็แตก
ออกเป็ นหยดเล็กๆบริเวณตรงปลาย
Airless Spray Gun

ขนาดหยดของละอองของเหลวควบคุมโดย:

1. ความเร็วของของเหลวเมื่อเคลื่อนผ่านหัวฉีดเทียบกับความเร็วอากาศ

2. ความหนืด

3. ความตึงผิว
Airless Spray Gun

การเคลือบแบบเสปรย์โดยที่ไม่ใช้อากาศจะเคลือบได้เร็วกว่าแบบใช้
อากาศ อย่างไรก็ตามการเคลือบแบบนี้จะให้ความหนาที่มากกว่าแบบใช้
อากาศ
การเคลือบแบบนี้จะไม่มีอากาศมาปะปนกับละอองของเหลวซึ่งทำให้
ขนาดหยดของเหลวมีขนาดใหญ่กว่า และมีการระเหยของตัวทำละลายออก
ไปน้อยกว่า
การเคลือบโดยไม่ใช้อากาศจะช่วยลดการสูญเสียของเหลวที่เมื่อใช้พ่นลง
บนวัตถุที่มีรูปร่างไม่สม่ำเสมอ แต่อย่างไรก็ตามการเคลือบแบบไม่ใช้อากาศ
สามารถก่อให้เกิดปัญหาเมื่อนำมาใช้กับสารเคลือบที่มีน้ำเป็ นตัวทำละลาย
เพราะที่ถูกอัดด้วยความดันสูงจะมีปริมาณอากาศละลายอยู่น้อยแต่เมื่อพ่น
ออกมาที่แรงดันต่ำจะทำให้อากาศที่ละลายในของเหลวออกมาเกิดฟองได้
ง่าย
Electrostatic Spraying
การเคลือบแบบนี้เป็ นการเสปรย์สารเคลือบลงไปบนชิ้นงานภายใต้สนามไฟฟ้ า
ที่เกิดระหว่างละอองของเหลวกับตัวชิ้นงาน โดยของเหลวที่มีประจุตรงข้ามกับ
ประจุบนชิ้นงานจะวิ่งเข้าหาชิ้นงาน สนามไฟฟ้ าที่ใส่เข้าไปไม่มีผลต่อขนาด
ละอองของเหลว การเคลือบแบบนี้จะให้การสูญเสียสารเคลือบน้อยกว่าวิธีเสปรย์
แบบอื่น
สายไฟจะถูกฝังอยู่ในหัวของ spray gun สนามไฟฟ้ า~ 50-125จะ
ถูกส่งผ่านไปยังสายไฟ สนามไฟฟ้ าจะทำให้อากาศตรงบริเวณปลายสายไฟ
แตกตัวเป็ นประจุ เมื่อละอองของเหลวผ่านเข้าสู่บริเวณนี้ก็จะรับe-เกิดเป็ น
ประจุลบ วัตถุที่ต้องการจะเคลือบต่อเข้ากับสายดิน เมื่อของเหลวเข้าใกล้วัตถุ
ที่มีขั้วแตกต่างกันก็จะดึงดูดกัน
Electrostatic Spraying

การเคลือบแบบนี้จะมีการสูญเสียสารเคลือบน้อยกว่าวิธีเสปรย์แบบอื่น
เนื่องจากเกิดการโอบล้อมสารเคลือบบริเวณรอบๆsubstrate ขึ้นอยู่กับ
ความเป็ นประจุของละอองของเหลวซึ่งขึ้นอยู่กับค่าการนำไฟฟ้ าของสาร
เคลือบ ถ้าค่าการนำไฟฟ้ าของสารเคลือบมีค่าต่ำก็จะไม่สามารถดึงประจุ
จากตัวทำละลายได้ดี โดยเฉพาะในกรณีของ aliphatic hydrocarbon

การเคลือบโดยวิธีนี้ substrate ต้องนำไฟฟ้ าด้วย มิเช่นนั้นจะไม่เกิด


ประจุที่ต่างขั้วที่ผิวของ substrate เมื่อต่อกับสายดิน
Hot Spray

เนื่องจากของเหลวที่จะถูกเสปรย์ได้นั้นต้องมีค่าความหนืดที่ต่ำอยู่ที่
ประมาณ0.05 - 0.15 Pa.s จึงจะให้ขนาดละอองของเหลวที่เหมาะสม
ซึ่งอาจเกิดปัญหาขึ้นได้ในกรณีที่สารเคลือบเป็ นสารละลายของพอลิเมอร์ที่
มีน้ำหนักโมเลกุลสูงจะทำให้ของเหลวหนืดมากจะเกิดละอองของเหลว
น้อย
วิธี hot spray จะมีการเพิ่มอุปกรณ์ให้ความร้อนต่อเข้ากับหัวฉีดซึ่งจะ
ทำให้ของเหลวมีอุณหภูมิเพิ่มขึ้น 38-65 C เมื่ออุณหภูมิเพิ่มของเหลวจะ
มีค่าความหนืดลดลงก็จะทำให้ได้ปริมาณละอองของเหลวเพิ่มขึ้นตาม
ต้องการ
Hot Spray

สารเคลือบจะถูกให้ความร้อนเพื่อให้ความหนืดลดลงแทนการเพิ่มปริมาณตัว
ทำละลาย

บางครั้งอาจไม่ใช้ตัวทำละลายเลยเช่นพอลิยูริเทน จะให้ความร้อน
เพื่อปรับให้มีความหนืดตามต้องการ.
Arc Spray

การเคลือบผิวโดยใช้สารเคลือบที่เป็นโลหะ จะใช้ electric arc

จะเร็วกว่าการทำ gas spray และให้การยึดติดที่ดีเนื่องจากใช้


อุณหภูมิสูงช่วยในขณะเสปรย์
Metal Spraying

การประยุกต์ใช้วิธีเสปรย์กับสารเคลือบที่เป็ นโลหะ เช่น Zn หรือ


Al บนพื้นผิวที่เตรียมแล้ว (ขัดผิว) โลหะจะถูกพ่นในลักษณะกึ่ง
เหลวโดยผ่านกระแสไฟ ถ้าสารเคลือบเป็ นผงก็ผ่านเปลวไฟหรือ
electric arc ซึ่งจะทำให้ตกลงสู่พื้นผิวโดย การพ่นอากาศแรง
ดันสูง
Dip Coating

การเคลือบผิวโดยวิธีจุ่มเป็ นวิธีที่ง่าย substrate จะถูกจุ่มลงใน


สารละลายของสารเคลือบจากนั้นก็จะถูกดึงออกจากของเหลว ของเหลว
ส่วนเกินก็จะตกกลับลงสู่ภาชนะบรรจุสารเคลือบ

ขณะที่ของเหลวส่วนเกินหยดกลับลงไปก็จะเกิดฟิ ล์มขึ้นที่ผิว
substrate ความหนาของสารเคลือบบน substrate บริเวณตอนต้นจะ
มีความหนามากกว่าตอนปลาย
Dip Coating Process
The Flow Coating

ผลิตภัณฑ์ที่ต้องการเคลือบจะเคลื่อนผ่านสารเคลือบที่ติดบนแปรงลูก
กลิ้ง สารเคลือบที่ติดบนแปรงลูกกลิ้งก็จะถูกถ่ายให้กับ substrate จาก
นั้นจะถูกปล่อยให้แห้งในอากาศ.
Vacuum coating process

ภายในตู้เคลือบจะถูกทำให้เกือบเป็ นสุญญากาศด้วยการดูดเอาอากาศ
ออกสารเคลือบที่เป็ นของเหลวจะถูกปล่อยเข้าไปในตู้แล้วเกิดการระเหย
เป็ นไอของสารเคลือบ วัตถุที่ต้องการเคลือบถูกส่งผ่านเข้าไปในตู้เคลือบ
โดยสายพานแล้วเคลื่อนออกมาตามสายพานเพื่อไปยังตู้อบ
Electroplating

Electroplating คือกระบวนการ
เคลือบผิวด้วยโลหะโดยใช้กระแสไฟฟ้ า
ซึ่งโลหะที่เคลือบอาจจะนำมาใช้เคลือบบน
substrate ที่นำไฟฟ้ า (โลหะ)หรือไม่
นำไฟฟ้ าก็ได้ (พลาสติก,ไม้, หนัง) ซึ่ง
ชนิดหลังนั้นพื้นผิวจะต้องถูกทำให้นำ
ไฟฟ้ าก่อนด้วยการเคลือบด้วยกราไฟต์,
แลคเกอร์ที่นำไฟฟ้ า, การเคลือบด้วยไอ
ของสารที่นำไฟฟ้ า
WHAT IS ELECTROPLATING?

กระบวนการ Electroplating ได้ถูกใช้ครั้งแรกคือเมื่อ 200 ปี ก่อน ใน


กระบวนการนี้จะมีการผ่านกระแสไฟฟ้ าเข้าไปในสารละลายอิเลคโตรไลต์
โดยsubstrate ที่จะถูกเคลือบจะอยู่ที่ขั้วอิเล็กโตรดนั่นเอง ซึ่งกระบวนกา
รอิเล็คโตรเพลทติงจะเกิดขึ้นเพราะน้ำจะทำให้สารที่ละลายอยู่แตกตัวเป็ นอิออ
นบวกและอิออนลบ จากนั้นอิออนจะถูกดึงดูดไปยังขั้วอิเล็กโตรดที่มีประจุตรง
ข้ามแล้วกลายเป็ นกลางโดยการให้หรือรับอิเล็กตรอน โดยทั่วไป substrate
ทีต้องการจะเคลือบโลหะจะถูกนำมาใช้เป็ นขั้วลบหรือคาโทด โดยที่ ขั้วอาโนด
จะเกิดการกร่อนออกไปของโลหะ
WHY ELECTROPLATE?

กระบวนการelectroplating ถูกนำมาใช้เคลือบโลหะทั้งที่บริสุทธิ์และ
ที่ผสม เพื่อความสวยงามหรือเพื่อการใช้งาน
สารประกอบnickel/chromium ซึ่งเรารู้จักกันในนามของ chrome
plating นอกจากนี้ยังมี copper, brass (an alloy), bronze (an
alloy) และ zinc ที่ถูกนำมาใช้เคลือบเพื่อความสวยงาม
สำหรับการประยุกต์ใช้งานในด้านวิศวกรรมได้มีการนำเอา zinc, tin,
nickel, "hard" chromium, silver และ gold มาใช้ รวมทั้งโลหะ
ผสมอื่นๆ ได้แก่ การทำให้พื้นผิวทนต่อการสึกกร่อน, การเปลี่ยนคุณสมบัติ
ของพื้นผิวเช่นค่าการเหนี่ยวนำให้นำไฟฟ้ า ค่าการนำไฟฟ้ า และความทนต่อ
การกัดกร่อน สำหรับการนำมาทำเป็ นเครื่องประดับตกแต่งโลหะที่นำมาใช้ได้
แก่ทอง เงิน และโรเดียม
การทำ electroplating จะทำใน plating bath โดยมีโลหะที่
ต้องการเคลือบ (เช่น เงิน, ทอง) ละลายอยู่ในรูปของไอออนบวก
โดยสารละลายใน plating bath จะเป็ นสารละลายที่นำไฟฟ้ าได้และ
จะมีการต่อไฟฟ้ ากระแสตรงเข้าไป substrate ที่จะนำมา plate จะ
ถูกนำมาใช้ทำเป็ นขั้วคาโทดหรือขั้วลบซึ่งจุมอย่ใน plating bath โดย
จะมีอิเล็กโตรดที่ใช้เป็ นขั้วบวกหรือ อาโนดจะถูกจุ่มที่ปลายอีกข้างหนึ่ง
ของ plating bath แหล่งจ่ายไฟได้แก่หม้อแปลงซึ่งจะเปลี่ยน
ไฟฟ้ ากระแสสลับให้เป็ นไฟฟ้ ากระแสตรง e- ไหลจากขั้วบวกไปยัง
ขั้วลบ ไอออนของโลหะที่มีประจุบวก จะเคลื่อนที่ไปยังคาโทดขั้วลบที่มี
e- เกินอยู่ ซึ่งโลหะอิออนจะรับ e- แล้วกลายเป็ นโลหะเคลือบผิวคาโทด
ส่วนไออนลบจะวิ่งไปที่ขั้วบวกหรืออาโนด
Electrodeposition or Electroplating

Faraday’s Laws of electrolysis are basic to electrodeposition.


W = I. t Eq
F
W = weight of deposit in grams
I = current flow in amperes
t = time in seconds
Eq = Eqivalent weight of deposited element
F = Faraday constant (96500 coulombs)

% Electrode Efficiency = 100 x actual weight of deposit


Theoretical weight of deposit
ความหนาของชั้นโลหะที่ขั้วอิเล็กโทรดสามารถหาจากเวลาในการทำ
plating และปริมาณไอออนของโลหะใน bath เทียบกับ current
density ยิ่งทำ plating นานก็จะยิ่งได้ชั้นความหนามาก โดยทั่วไป
ความหนาที่ได้จาก electroplating ของ Au จะอยู่ที่ประมาณ 10-20
ไมครอน ลักษณะของวัตถุที่ถูกเคลือบจะมีผลต่อชั้นความหนา ถ้าวัตถุมี
ลักษณะเป็ นเหลี่ยมบริเวณขอบจะมีความหนามากกว่าตรงบริเวณด้าน
เนื่องจากกระแสไฟที่ผ่านไปยังขอบจะมีความหนาแน่นมากกว่าบริเวณ
ด้าน
Cathode Current Efficiencies of Various Plating Solution

Deposit Electrolyte Range, % Deposit Electrolyte Range, %

Ag CN 100 In Acid or CN 30-50

Au Acid Zn Acid ~95


Neutral 50-100 CN 50-80
CN
Cd CN 85-95 Pb Acid 95-100

Cr CrO3/H2SO4 10-15 Rh Acid 10-50

Cu acid SO4 97-100 Sn Acid 90-95


CN (high eff) 90-95 Alkaline 70-95
P2O7 ~100

Fe Acid 90-98 Ni Acid 93-98


E = E + RT ln ax(products)
nF ay (reactants)

E =observed EMF, potential diff (V)


E= std. EMF
R = gas constant, 8.314 (j.K-1mol-1)
T = absolute temperature, K
n = valence change (e- transfer)
F = Faraday, 96,500 Coulombs
a = activity

E = E + (0.059/n) log a (or log c approx.)


การเคลือบด้วย electroplating จะไม่สามารถกลบเกลื่อนร่องรอยของ รอย
ขีดข่วนหรือพวกรูที่เกิดบนพื้นผิวของ substrate ได้ ทั้งยังทำให้ร่องรอยเหล่า
นี้เห็นเด่นชัดขึ้น ดังนั้นควรกำจัดรอย defect บน substrate ก่อนทำการ
plating

เนื่องจากการเคลือบแบบนี้มีความบางมากดังนั้นการทำ surface
treatment เช่น chemical etching, glass bead blasting ที่ก่อให้
เกิดความขรุขระ จะไม่ทำให้ความขรุขระของพื้นผิวเปลี่ยน
สำหรับโลหะที่นิยมใช้เคลือบเพื่อความสวยงามได้แก่ ทอง, เงิน, นิกเกิล,
พาลาเดียม, แพลททินัม, รูทิเดียม และ โรเดียม
สำหรับสารเคลือบที่ใช้ในงานวิศวกรรมได้แก่ ทองเหลือง แคดเมียม แสตน
เลส ทองแดง ทองคำ นิกเกิล เงิน ดีบุก และ สังกะสี
Concentration Polarization

การเพิ่มของความเข้มข้นของไอออนบวกที่ขั้ว อาโนด เป็ นผลจากการ การ


ละลาย และการลดของความเข้มข้นไอออนบวกที่ขั้วคาโทด เป็ นผลจากการ
เกิดผลึก ผลที่เกิดจากความเข้มข้นที่เปลี่ยนแปลงเรียกว่า concentration
polarization ซึ่งถูกควบคุมโดยการถ่ายเทมวล
+ Current
-
Source

e- e-
Ca>>Cs>>Cc
+++ ++
+++ +
+++ ++
+
+++ ++
+++
+++ ++
+++ +
+++ ++
++
Anodic concentration polarization โดยมากเป็ นผลจาก
การเกิดออกซิเจนซึ่งจะไปทำปฏิกิริยากับ electrode เกิดเป็ น oxide
film ซึ่งจะไปเพิ่มค่าความต้านทานของโลหะที่ขั้วอิเล็กโทรด.

Cathodic concentration polarization เป็ นผลมาจากการ


เกิด H2 ซึ่งเป็ นปฏิกิริยาข้างเคียงทำให้ค่า pH เพิ่มที่ขั้วคาโทดทำให้เกิด
การตกตะกอนของสารประกอบออกไซด์หรือไฮดรอกไซด์และบางทีก็อาจ
เกิด deposit ร่วม
2H+ + 2e- 2Hadsorbed H2(gas molecule)
Basic Electrolyte Controlled
Additives Plating variables
composition
Brightening pH
Leveling Impurities C.D.
Anti-pitting Temperature
Grain refining Agitation Time
Composition and
Stress relieving structure of
Current
deposit Characteristics
Impurities DC-% ripple
PR
Physical Mechanical IC
Properties Properties Asymetrical AC
Density Hardness pulse
Coefficient of Ductility
thermal expansion Tensile Strength
Electrical Stress
Resistance Modulus of
elasticity

Corrosion Resistance
Magnetic Properties
ขั้นตอนในการทำ electroplating
1. ทำความสะอาดพื้นผิวคือการกำจัดสิ่งปนเปื้ อนออกจากพื้นผิว(น้ำมัน, สิ่ง
สกปรก)
2. การจุ่มลงในกรด หรือ การเตรียมพื้นผิว เพื่อทำให้เป็ นกลางและละลายเอา
ฟิ ล์มที่เป็ นเบส (metal oxide) หรือสนิมที่ติดอยู่บนพื้นผิวออก
3. การกัดพื้นผิว หรือ กระตุ้นพื้นผิว เพื่อกำจัดเอาโลหะที่ปนเปื้ อนออก หรือ เพื่อ
แลกเปลี่ยนธาตุบางชนิดกับโลหะ Si ใน Al alloy หรือ Ni, Cr ในสแตนเลส หรือ
เพื่อกำจัดชั้นออกไซด์ที่เคลือบผิวออก
4. การทำให้พื้นผิวเสถียร วัสดุบางชนิดจะมีความว่องไวต่อการออกซิไดซ์โดย O2
ในอากาศเช่น Al alloy, Mg,Ti ดังนั้นจึงต้องมีการป้ องกันพื้นผิวด้วยการเคลือบ
ชั้นบางๆของสารบางชนิดโดยจะเคลือบโลหะทับบนชั้นนี้อีกที
วัตถุที่จะทำการ plate จะถูกห้อยหรือแขวนไว้บนราวโลหะ จากนั้นก็จะ
จุ่มตัวราวแขวนพร้อมวัตถุลงไปในสารละลายอิเล็กโตรไลต์ ใส่ไฟฟ้ า
กระแสตรงมายังวัตถุโดยให้เป็ นขั้วลบ สารละลายอิเล็กโตรไลต์ รวมทั้ง
อุณหภูมิ และกระแสไฟฟ้ าจะต้องถูกควบคุมเพื่อให้การเคลือบมีความ
สม่ำเสมอ เมื่อใส่กระแสเข้าไปจะมีโลหะจากสารละลายไปเคลือบบนผิววัตถุ
และมีการละลายของโลหะอาโนดสู่สารละลาย ถ้าใช้ขั้วอาโนดที่ไม่ละลายเช่น
Cr หรือ Au สารละลายอิเล็กโตรไลต์ที่หมดไปจะต้องถูกชดเชยโดยการเติม
เพิ่มไปในรูปสารละลาย เมื่อ plate เสร็จแล้วก็จะทำการล้าง ทำให้แห้ง ตรวจ
สอบและบรรจุ เมื่อเราทำการ plate สังกะสี ผิวของสังกะสีจะทำปฏิกิริยากับ
อากาศแล้วจะถูกกัดกร่อนอย่างรวดเร็ว เพื่อป้ องกันสังกะสีจะถูกจุ่มใน
สารละลาย chromate เป็ นเวลา 2-3 นาที ก่อนจะทำการ plate
การเลือกชนิดสารเคลือบ
Primary Function Most Widely Representative Application
of Coating Used Coating
Corrosion Zn, Cd Sacrificial coatings, fasteners,
Resistance hardware fittings
Sn Food Container
Ni, Cr Food processing equipment
Decorative Cu/Ni/Cr Househole appliances,
composite automotive trim

Dielectrics Brass (Cu-Zn)


Jewelry
Ag, Au, Rh
Condesers
Anodized oxide
coatings of Al & Capaciors
Ti, Ta Coatings

Electroforms Ni, Cu, Fe (Cr), Radar “plumbing” screens,


Co composites bellows, containers, molds
Primary Function Most Widely Representative Application
of Coating Used Coating
High temp, oxidation Cr, Rh, Pd, Pt, Air and spacecraft
resistance Au, Ni Electronic Device
Diffusion Barrier
Maskant Cr, Rh, Pd, Pt, Selective carburizing, nitriding
Au, Ni Etch Resists
Reflectors Ag, Rh, Cr, Visible light reflectors
Au Infra-red reflectors

Salvage Cu, Ni, Cr, Mismachined, worn parts


Fe
Soldering, Pb, Sn, Sn-Pb, Containers, printed circuit
Bonding And other electronic assemblies
Cu, Ag, Au, Sn-
and chassis
Ni, Cd, Ni
Air and space craft, hydraulics
Wear Resistance Ni, Cr, E-Ni, Electronic contacts
Hard Anodizing
การเคลือบผิวโลหะผสม

Deposited either electrolytically or (more prevalently)


Ni-P
electrolessly for its hardness, wearability and corrosion
resistance and as non-magnetic undercoat on computer
hard disks

Co-Ni For decorative plating, magnetic applications


electroforming (molds for plastics)

Co-P For hard magnetics, sometimes ans ternary alloys


containing Ni, Fe, Zn, W, Mo, etc.
การเคลือบผิวโลหะผสม
Cu-Zn Brasses ranging from red brass to white brass,
primarily decorative and for rubber bonding

Cu-Sn Bronzes, decorative, antiquing and as corrosion


resistant undercoats substituting for a copper strike
Sn-Pb Compositions ranging from 5% Sn to 65% Sn.
Applications include bearings, corrosion resistant
coatings, solderable coatings and etch-resists in
electronic assemblies
Au-Co, Hardened gold alloy deposits used for elctronic
Au-Ni contacts and wearing surfaces
Sn-Ni For corrosion resistance and solderability

Ni-Fe As substitute for nickel plating (decorativ), soft magnetics


on computer heads (Permalloy)
Electroless Deposition

กระบวนการ Electroless plating ต่างจากกระบวนการ


electroplating ปกติ ตรงที่จะไม่มีการใส่กระแสไฟฟ้ า โลหะที่เคลือบจะ
เกิดปฏิกิริยา รีดักชั่น โดยรับ e- จากตัวรีดิวซ์ในสารละลาย

catalytic
M n+ + ne- (supplied by RA) M + reaction product
surface
Electroless plating

ให้ผิวเคลือบที่ค่อนข้างสม่ำเสมอโดยไม่หนาตรงบริเวณมุมหรือส่วนที่
นูน และไม่บางเกินตรงส่วนที่เว้าลงไป
ผิวเคลือบจะมีลักษณะรูพรุนน้อยจึงทนต่อการกัดกร่อนดีกว่าวิธี
electroplate

ตัว substrate อาจเป็ นโลหะ หรือ อโลหะก็ได้ อาจนำไฟฟ้ าหรือไม่นำ


ไฟฟ้ าก็ได้ รวมทั้งพอลิเมอร์ (พลาสติก) เซรามิกส์ แก้ว ก็สามารถนำมา
เคลือบได้ด้วยวิธีนี้
ไม่ต้องใช้กระแสไฟฟ้ า
ผิวเคลือบที่ได้จะมีคุสมบัติเฉพาะตัว นทางเคมี ทางกล ทางกายภาพ และ
คุณสมบัติแม่เหล็ก
ข้อเสียของวิธี electroless plating:

1. สารละลายไม่ค่อยเสถียร

2. มีราคาแพง

3. ใช้เวลาเคลือบนาน

4. ต้องเปลี่ยนสารละลายในอ่างเคลือบบ่อย

5. จะต้องดูแลอย่างใกล้ชิดถ้าต้องการให้ทำซ้ำแล้วได้ผลเหมือน
เดิม
ในอุตสาหกรรมการเคลือบนิกเกิล โดยวิธี electroless plating จะนิยม
มากกว่าelectroplating เนื่องจากจะให้สมบัติทางกายภาพของผิวเคลือบที่ดี
กว่า (ความสม่ำเสมอ, การทนต่อการกัดกร่อน,ความลื่น) นอกจากนี้
electroless plating ยังใช้เคลือบผิวโลหะในกรณีที่ electroplating ไม่
สามารถทำได้เช่นวัตถุที่ไม่นำไฟฟ้ าเช่นพลาสติก การทำ electroless
plating จะทำการจุ่มพื้นผิวลงในสารเคมี โดย e- จะได้รับจากตัวรีดิวซ์ไม่ใช่
จากกระแสไฟฟ้ า ตัวอย่างเช่น

NiSO4 +2NaH2PO3 + 2H2O  Ni + 2NaH2PO3 + H2+H2SO4


ตัวรีดิวซ์ที่ใช้ในกระบวนการ electroless plating นอกจากจะให้
e- ในกระบวนการรีดักชั่นแล้วก็ยังสามารถเกิดการเคลือบร่วมกับนิกเกิล
ทำให้คุณสมบัติของนิกเกิลดีขึ้น เช่น sodium hypophosphite ถูก
ใช้เป็ น reducing agent จะได้สารเคลือบเป็ นโลหะผสมของ นิกเกิล
ฟอสฟอรัส นอกจากเกลือของนิเกิล ( โดยทั่วไป nickel sulphate)
และสารรีดิวซ์อื่นก็ยังมี สารประกอบเชิงซ้อนหลายชนิด สารบัฟเฟอร์ ตัว
stabilizer/inhibitor ในอ่างเคลือบ ทั้งนี้เพื่อควบคุม นิกเกิลไอออน
และกระบวนการเคลือบ
เนื่องจากปฏิกิริยาข้างเคียงของนิกเกิลในการทำ electroless plating
เช่นการเกิดแก๊สไฮโดรเจนและจะเกิด sodiumorthophosphite หลังจากที่
เคลือบชั้นนิกเกิลไปประมาณ 6-8 ชั้นปริมาณ orthophosphite ในอ่าง
เคลือบอาจสูงถึง 20% และอาจทำให้สารละลายในอ่างเคลือบขุ่นเนื่องจากการ
ตกตะกอนของ orthophosphite ซึ่งทำให้ผิวเคลือบมีความขรุขระ การทน
ต่อการกัดกร่อนไม่ดี และนำไปสู่การเสื่อมสภาพ
ในขณะที่เกิดกระบวนการ plating สารละลายของ nickel sulphate
และ sodium hypophosphite จะค่อยๆลดลงเรื่อยๆ ดังนั้นจึงต้องมีการ
เติมเพิ่มไปเพื่อรักษาความสมดุลของสารเคมีในอ่างเคลือบ และต้องมีการเติม
ammonia หรือ sodium hydroxide เพื่อรักษา pH ของสารละลาย ซึ่ง
จะทำให้เกิดการสะสมของ sodium และ sulphate ไอออนขึ้น รวมทั้ง
orthophosphite เมื่อเวลาผ่นไป อัตราในการ plate จะลดลงจาก 18
mm/hr เหลือเพียง 10 mm/hr ถ้าไม่มีวิธีกำจัดสารประกอบเหล่านี้ก็จะ
ทำให้การเกิดปฏิกิริยา electrolysis สิ้นสุดลงและต้องทิ้งสารละลายในที่สุด
ซึ่งจุดนี้เป็ นข้อด้อยของการทำ electroless platingปัจจุบันมีความ
พยายามที่จะยืดอายุสารละลายในอ่างเคลือบ และการทำให้สารละลายในอ่าง
เคลือบกลับมาใช้ได้อีกครั้ง
Schematic of a single membrane pair electrodialysis cell
for the regeneration of a spent electroless nickel bath
กระบวนการทำความสะอาดในการทำ electroless plating

เพื่อการใช้งานระยะยาว และเป็ นการ ลดค่าใช้จ่ายจะต้องทำให้


electroless unit ใช้งานได้นานที่สุด การทำ electodialysis เป็ นการ
ช่วยยืดอายุของ plating bath เพื่อไม่ให้เกิด waste เลยจะต้องทำการ
รีดิวซ์ orthophosphite ที่เป็ นผลพวงจาก electroless ให้กลับมาเป็ น
hypophosphite เหมือนเดิม
Electroless treatments consist of plating the metal by
immersion of items in a salt solution of the metal to be deposited.
These give hard deposits on steel or aluminum and can also be
used as an electrolytic metallizing undercoat on plastic
s (electroless nickel - electroless copper).
Electrolytic treatments make it possible to lay thin layers of
metal with special properties (such as corrosion protection or
decorative appearance) onto other metals or plastics, or to
impart hardness, or conductibility. These deposits are generally
executed on fully automated production lines.
การทำ electrocoating

พื้นฐานของการทำ electrocoat ก็คือวัสดุที่มีประจุไฟฟ้ าต่างกันจะ


ดึงดูดกัน วัสดุที่จะทำการเคลือบจะถูกทำให้มีประจุตรงข้ามกับอนุภาคสาร
เคลือบที่แขวนลอยที่อยู่ในอ่างเคลือบ อนุภาคของสารเคลือบจะถูกดึงดูดเข้าหา
วัสดุที่ทำการเคลือบด้วยแรงทางไฟฟ้ าแล้วเกิดเป็ นฟิ ล์มขึ้นที่ผิวจนกระทั่งได้
ความหนาตามต้องการ
Anodic
ในการทำanodic electrocoating ชิ้นส่วนที่จะทำการเคลือบจะถูก
ทำให้เป็ นขั้วอาโนด (ขั้วบวก) ซึ่งจะดึงดูดอนุภาคของสารเคลือบที่เป็ นประจุ
ลบในอ่างเคลือบ

Cathodic
ในการทำcathodic electrocoating, ชิ้นงานจะถูกทำให้เป็ นขั้วคา
โทด (ขั้วลบ) และดึงดูดอนุภาคสารเคลือบที่เป็ นประจุบวกในอ่างเคลือบ
Anodizing

การทำ Anodizing คือกระบวนการทางไฟฟ้ าเคมีซึ่งชิ้นส่วนที่ทำการ


เคลือบจะถูกทำให้เป็ นขั้วอาโนด (ขั้วบวก) และถูกจุ่มอยู่ในสารละลายอิเล็ก
โตรไลต์ที่เหมาะสม จะมีการให้กระแสไฟฟ้ าที่มากพอที่จะทำให้เกิดการแตก
ตัวของ O2 ที่เกาะที่ผิว โดยโลหะจะทำปฏิกิริยากับ O2- แล้วเกิดเป็ น
สารประกอบออกไซด์
การประยุกต์ใช้การเคลือบผิวแบบอาโนดิก
1. เพื่อปกป้ องพื้นผิว- ป้ องกันการกัดกร่อน, ป้ องกันการสึกหรอและทน
ต่อแรงเสียดทาน
2. เพื่อความสวยงาม- จะใช้สารเคลือบที่ใสบนพื้นผิวที่ขัดเพื่อทำให้ผิวนั้น
มีลักษณะเป็ นเงามัน, หรือใช้สารเคลือบที่เป็ นสีเช่นสีย้อมต่างๆ.
3. ใช้เป็ นสีรองพื้นสำหรับสี หรือ สารเคลือบที่เป็ นอินทรีย์
4. ใช้เป็ นชั้นรองพื้นสำหรับเคลือบ

5.ใช้ในงานพิเศษ- โดยทำให้มีสมบัติเฉพาะอย่างเช่นใช้เคลือบเพื่อให้ทน
ความร้อน, เคลือบเพื่อให้เกิดการหักเหแสง, เคลือบเพื่อใช้เป็ นตัวเก็บประจุ
ชนิดของฟิ ล์มอาโนดิก
ชนิดของฟิ ล์มอาโนดิกจะถูกจัดแบ่งตามชนิดของตัวทำละลายในสารละลา
ยอิเล็กโตรไลต์ ถ้าฟิ ล์มที่เตรียมในกรดซัลฟุริกหรือกรด chromic ถ้าใช้กรด
phosphoric จะให้ออกไซด์ที่มีรูพรุนมากขึ้นเนื่องจากเป็ น
ตัวelectrolyte ที่แรง มักนิยมใช้เตรียมพื้นผิวเพื่อให้มีการยึดติดที่ดี รวม
ทั้งเคลือบผิวก่อนทำการ plate อะลูมิเนียม เนื่องจากจะทำให้อะลูมิเนียมติด
ดีเนื่องจากมี mechanical locking ในขณะที่ถ้าใช้อิเล็กโตรไลต์ที่อ่อน
เช่น tartaric acid, ammonium tartrate, boric acid, borate
compounds, citric acid เป็ นต้น จะไม่มีฤทธิ์กัดกร่อนตัวออกไซด์ที่อา
โนด ดังนั้นฟิ ล์มจึงไม่มีรูพรุนจะใช้เคลือบเพื่อป้ องกันพื้นผิว เช่นใช้เคลือบ
ทำตัวเก็บประจุ
การทำ Anodizing มี 3 แบบ

Type I From chromic acid solutions

Type II From sulfuric acid solutions

Type III From cold sulfuric acid processes


(plus additives) producing thicker
deposits.(for wear and abrasion
resistance)
Rack Brightening
Clean Mechanical
Etch Chemical
Alkaline/Acid Cold Rinse
Electrochemical
Type II Anodize Type II
CrO3- 3-10 w/o
H2SO4- 10-20 w/o
0.15-0.5 A/dm2
1-2 A/dm2
1.5-5 A/ft2
10-20 A/ft2
40(-50) V
10-20 V
32-50 C (90-120 F)
21-30 C (70-85 F)
Cold Rinse
Dye
Special Sealing
Cold Rinse Hot Rinse Seal Dichromate or Silicate
or Other (98-100 C)
Dye Sealing
Ni or Co acetate

Hot Rinse Dry/Unrack Hot Rinse


Limiting
Film Corrosion Adhesion/
Condition Thickness Hardness Resistance Porosity Dye Adsorption
Temperature
increased
Current
Density
increased
Anodizing
Time
increased
Acid
Concentration
increased
Use of less
aggressive
electrolyte
Alloy
homogeneity
increased
การเคลือบผิวแบบ anodic นิยมเคลือบผิวทั้งด้านในด้านนอก
จะให้ผิวเคลือบที่มีสีสวยงามและมัน การเคลือบอิพอกซีโดยวิธี anodic
coating จะให้ผิวที่ทนต่อการกัดกร่อนดี ที่นิยมใช้เคลือบผิวภายนอกใน
งานเคลือบผิวรถยนต์ เหล็กก่อสร้างเป็ นต้น ส่วนการเคลือบอะคริลิกจะใช้
ในงานเคลือบภายใน ส่วนใหญ่ใช้เคลือบเฟอร์นิเจอร์ในสำนักงานที่ทำด้วย
เหล็ก ชั้นเหล็ก มุ้งลวด และไม้แขวนเสื้อ การเคลือบผิวด้วยวิธี cathodic
จะให้ผิวเคลือบที่มีสมบัติที่ดี ทนการกัดกร่อนและทนทานต่อสภาวะ
แวดล้อมนอกอาคารได้ดี การเคลือบอิพอกซี โดยวิธีคาโทดิกจะให้ผิวที่ทน
การกัดกร่อนและทนสารเคมีได้ดีมักนิยมใช้ในอุตสาหกรรมรถยนต์ เครื่อง
ใช้ไฟฟ้ า การเคลือบอะคริลิกโดยวิธี cathodic จะให้การทนแสง UV
และทนทานต่อสภาวะแวดล้อมภายนอกดี รวมทั้งทนต่อการกัดกร่อน มัก
นิยมใช้เคลือบอุปกรณ์และเฟอร์นิเจอร์ที่ใช้ในสวน เครื่องใช้ทางการเกษตร
ล้อรถ เป็ นต้น
ข้อดีของการทำ electrocoating

การเคลือบแบบนี้ที่ดีกว่าวิธีเคลือบผิวแบบอื่นก็คือจะมีประสิทธิภาพการ
เคลือบที่ดี มีความหนาสม่ำเสมอถึงแม้ว่าตัว substrate จะมีรูปทรงที่ซับ
ซ้อน โดยไม่มีฟองอากาศ ความหนาของสารเคลือบสามารถปรับได้จากการ
ปรับค่าความต่างศักย์ระบบการเคลือบแบบ electrocoating สามารถ
ทำให้เป็ นระบบอัตโนมัติได้ ทำให้ได้ผลผลิตมากและรวดเร็วในราคาที่ต่ำ
รวมทั้งให้ค่า transfer efficiency สูง รวมทั้งไม่มีสารระเหยง่าย ใช้
อุณหภูมิและเวลาในการ cure ต่ำ
โดยทั่วไปการเคลือบแบบ electrocoat จะให้ผิวเคลือบที่มี
ลักษณะมัน, ทนต่อสภาวะแวดล้อม, ทนต่อการกัดกร่อน, ทนต่อสารเคมี
และรอยเปื้ อน, ทนต่อการแตกหัก, มีการเคลือบบริเวณขอบได้ดี, มีความ
แข็งดี
การเคลือบอะคริลิกโดยวิธี cathodic electrocoats จะได้ผิว
เคลือบที่ทนต่อการกัดกร่อนและการทนทานต่อสภาะแวดล้อมภายนอก
อาคารดี (ทนแสง UV) ซึ่งการทำ electrocoat จะเข้าไปทดแทนระบบ
การเคลือบผิวแบบเดิมที่ใช้ primer กับ top coat ทำให้ประหยัด การ
เคลือบแบบ wet coating และ powder coating มีแนวโน้มที่สาร
เคลือบบริเวณขอบจะหลุดออกเมื่อโดนน้ำจึงทำให้ป้ องกันการกัดกร่อนได้
ไม่ดี ข้อดีของวิธี electrocoat ก็คือสามารถควบคุมความหนาของฟิ ล์ม
ตรงขอบได้ดีจึงทำให้ทนต่อการกัดกร่อน

You might also like