Download as ppt, pdf, or txt
Download as ppt, pdf, or txt
You are on page 1of 53

• ความสนุกสนาน

• ความน่าเบื่อ ซ้ำซาก จำเจ


• ความเก่า คร่ำครึ
• ความสุนทรีย์
• การท่องบทอาขยาน
• ครูเข้มงวด
• ข้อสอบโหด
• ง่วงนอน เรียนไม่รู้เรื่อง
• กาพย์เห่ชมเครื่องคาวหวาน
• นิทานอีสป
• เพลงโคราช
• บทละครโทรทัศน์
• แบ่งตามพื้นที่(ประเทศ, จังหวัด)
• แบ่งตามสมัย(เก่า, ใหม่)
• แบ่งตามรูปแบบ(กลอน, เรื่องเล่า)
• แบ่งตามช่องสถานีโทรทัศน์
ทำไมต้องเรียนวรรณคดีญี่ปุ่ น
• เป็นรายวิชาที่กำหนดไว้ในหลักสูตร
• เป็นเครื่องปลอบประโลมใจ
• เพื่อเข้าถึงรากแก่นความคิดของคนญี่ปุ่ น
• เพื่อพัฒนาภาษาญี่ปุ่ นจากการอ่านต้นฉบับ
• อื่นๆ (ช่วยกันคิด☃)
รู้จักวรรณคดีญี่ปุ่นโบราณ
เรื่องใดบ้าง
ต้องเรียนไวยากรณ์ภาษาญี่ปุ่น
โบราณหรือไม่
ชื่อยุคและระยะเวลาของวรรณกรรมโบราณของญี่ปุ่ น
ชื่อยุค ตั้งแต่ ถึง
ยุคต้น เริ่มมีวรรณกรรมญี่ปุ่ น ค.ศ.794
ยุคกลางเก่า ค.ศ.794 ปลายศตว.12
ยุคกลาง ปลายศตว.12 ค.ศ.1603
ยุคหลัง ค.ศ.1603 ค.ศ.1867
ชื่อยุคกับชื่อสมัยการปกครองของญี่ปุ่ น
ชื่อยุค ชื่อสมัยการปกครอง
ยุคต้น สมัยยะโยะอิ
สมัยโคะฟุน
สมัยนะระ
ยุคกลางเก่า สมัยเฮอัน
ยุคกลาง สมัยคะมะกุระ
สมัยมุโระมะชิ
สมัยอะสุชิโมะโมะยะมะ
ยุคหลัง สมัยเอโดะ
เครื่องแต่งกายของชาวญี่ปุ่นสมัย
ยะมะโตะ-นารา
เครื่องแต่งกายของชาวญี่ปุ่นสมัยเฮ
อัน
เครื่องแต่งกายของชาวญี่ปุ่นสมัยคะ
มะกุระ-มุโระมะชิ
เครื่องแต่งกายของชาวญี่ปุ่นสมัยเอ
โดะ
• มีเกาะ,เทือกเขา,แม่น้ำสายสั้น ๆ มากทำให้ที่ราบลุ่ม
สำหรับการตั้งหลักแหล่งกระจัดกระจาย ส่งผลให้มีการ
ปกครองแบบกระจายอำนาจ หัวหน้าชุมชนมีอำนาจและ
ปกครองอย่างอิสระ
• จักรพรรดิพยายามรวบอำนาจตั้งแต่ศตว.7 แต่สำเร็จ
อย่างเต็มที่ในศตว.15-16
• มีธรรมชาติจำนวนมาก เช่น ป่ าไม้ ทะเลสาบ และมี
ธรรมชาติแปรปรวน เช่น ภูเขาไฟระเบิด แผ่นดินไหว พายุ
ทำให้คนญี่ปุ่ นโบราณเชื่อว่าเกิดจากอำนาจลึกลับที่มี
พลังเหนือมนุษย์ ( 神 )
• มีการเซ่นไหว้ บวงสรวงเพื่อให้
เทพเจ้าพอใจ
• คนญี่ปุ่ นชื่นชมธรรมชาติที่เปลี่ยนแปลงตามฤดูกาล
• ความงดงามตามธรรมชาติคือการไม่ปรุงแต่ง
• สุนทรีย์แห่งธรรมชาติคือความเรียบง่าย ความอ้างว้าง
ความสงบ ความลี้ลับ ฯลฯ
• ภัยพิบัติทางธรรมชาติ เช่น ภูเขาไฟระเบิด แผ่นดินไหว
ทำให้คนญี่ปุ่ นต้องต่อสู้ เข้มแข็ง อดทนเพื่อความอยู่รอด
ในชีวิต
• การตั้งหลักแหล่งอย่างกระจัดกระจายตามที่ราบทำให้คน
ญี่ปุ่ นผูกพันกับคนในกลุ่มอย่างเหนียวแน่น
กำเนิดวรรณกรรมญี่ปุ่ น
สมัยยะโยะอิ มีความเชื่อว่าเทพเจ้าเป็น
ผู้ควบคุมธรรมชาติ และมีการขับร้อง
ร่ายรำเพื่อวิงวอนและขอบคุณเทพเจ้า
สมัยโคะฟุน มีการนำอักษรจีนและ
เทคโนโลยีจากจีนเข้ามาญี่ปุ่ น รวมทั้ง
การเผยแพร่พุทธศาสนา
สมัยนะระ มีการนำวรรณกรรมปาก
เปล่ามาบันทึกเป็นลายลักษณ์อักษร
ใช้อักษรมันโยงะนะ
สมัยเฮอัน มีการประดิษฐ์อักษรญี่ปุ่ น
และเกิดวรรณกรรมประเภทต่าง ๆ
จำนวนมาก
สาระน่ารู้สำหรับการศึกษา
วรรณกรรมโบราณของญี่ปุ่ น
1. มิโกะ
มิโกะ
ผู้ทำหน้าที่ปฏิบัติ
กิจกรรมทาง
ศาสนาและรับใช้
เทพเจ้า
ประเภทของมิโกะ
1. 神社巫女 (ประจำอยู่ที่ศาลเจ้า
และแสดงศิลปะ かぐら หรือ
ประกอบพิธี ゆだて )
2. 口寄せ巫女 (อยู่ในสังคมปกติ
และทำหน้าที่เป็ นร่างทรงเพื่อ
สื่อสารกับเทพเจ้า)
การแสดง かぐら
พิธี ゆだて
2. การคลอด
คลอดที่ うぶや
ผ้ารัดเอว อายุครรภ์ 3-5 เดือน
3. แม่นม
หน้าที่หลักของแม่นม (めのと)
1. ให้นมแก่บุตรของเจ้านาย
2. ให้ความรู้เรื่องเพศ
4. แต่งงาน
อายุที่เหมาะสมต่อการแต่งงาน
•ผู้ชาย 15 ปี ขึ้นไป
•ผู้หญิง 13 ปี ขึ้นไป
การจัดพิธีแต่งงาน
• จัดที่บ้านฝ่ ายหญิง หลังจากฝ่ ายชาย
แวะมาค้างคืนกับฝ่ ายหญิงครบ 3 คืน
รูปแบบความสัมพันธ์ฉันสามีภรรยา
• สมัยเฮอันเป็นแบบสามีเดียวแต่
ภรรยาหลายคน
• ผู้หญิงแต่งงานใหม่ได้หากหย่า หรือ
สามีเสียชีวิต หรือสามีไม่มาหา 3 ปี
รูปแบบการใช้ชีวิตหลังแต่งงาน
• สามีแวะมาหาภรรยาที่บ้าน หรือย้าย
มาอยู่ที่บ้านของภรรยา
5. การเดินทาง
ประเภทของการเดินทาง
• ขุนนางเดินทางไปปกครองดินแดนอื่น
• ขุนนางถูกเนรเทศไปดินแดนอื่น
• พระเดินทางไปเผยแพร่ศาสนา
• คนทั่วไปเดินทางท่องเที่ยวหรือขอพร
การปล่อยชายกิโมโนออกนอกรถ
6. การแต่งหน้า
และทรงผม
จุดประสงค์ของการแต่งหน้า
• เพื่อความงดงาม
• สื่อความหมายเรื่องเวทมนตร์
ทรงผมผู้ชาย
ทรงผมผู้หญิง
คำสำคัญในทฤษฎีวิเคราะห์
วรรณกรรมโบราณของญี่ปุ่ น
ทฤษฎีบทกวี
• มะโกะโตะ
• มะซุระโอะบุริ
• ทะโอะยะเมะบุริ
• ยูเง็น
• อุฌิน
ทฤษฎีเรื่องเล่า
• อะวะเระ
• โอะกะฌิ
ทฤษฎีกลอนไฮไก
• วะบิ
• ซะบิ
• ฌิโอะริ
ทฤษฎีศิลปะการแสดง
• ฮะนะ
• โมะโนะมะเนะ

You might also like