Download as pptx, pdf, or txt
Download as pptx, pdf, or txt
You are on page 1of 5

ความหมายและความสําคัญของผลกระทบสิ่งแวดล้อม

ผลกระทบสิ่งแวดล้อม (Environmental Impact) หมายถึง การเปลี่ยนแปลงขนาดและ


ทิศทางของสิ่งแวดล้อมอันเนื่องมาจากกิจกรรมของมนุษย์ และ/หรือภัยธรรมชาติ จนทําให้
กระบวนการวิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อมไม่ยั่งยืนในระยะเวลาหนึ่งหรือตลอดไป
(เกษม จันทร์แก้ว,2554)
ซึ่งการเปลี่ยนแปลงของสิ่งแวดล้อมมีความสัมพันธ์กับโครงสร้างและบทบาทหน้าที่ของระบบ สิ่ง
แวดล้อม โดยการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างเป็ นการเปลี่ยนแปลงชนิดหรือจํานวนชนิดที่แสดงให้เห็น
ถึงการเพิ่มหรือลดขององค์ประกอบของสิ่งแวดล้อมโดยปริมาณของแต่ละชนิดที่มีอยู่ไม่มีการ
เปลี่ยนแปลง การเปลี่ยนแปลงของสัดส่วนระหว่างชนิด และการกระจายระหว่างชนิดเปลี่ยนแปลง
การเกิดผลกระทบสิ่งแวดล้อมต่อสิ่งแวดล้อมหนึ่งหรือมากกว่าจะส่งผลกระทบต่อความ
ต่อเนื่องของกระบวนการวิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อมที่มีเวลาเป็ นตัวกํากับ และส่งผลกระทบไปยัง องค์
ประกอบของกลุ่มและบทบาทหน้าที่ที่สิ่งแวดล้อมนั้นเป็ นองค์ประกอบ
ภาพที่ 2.1 การเกิดผลกระทบและความต่อเนื่องของกระบวนการ
ภาพที่ 2.2 ผลกระทบแบบลูกโซ่จากการเปลี่ยนแปลง
ที่มา: เกษม จันทร์แก้ว (2554) สิ่งแวดล้อมระดับท้องถิ่นสู่ระดับภูมิภาคของ ประเทศ
ปฏิสัมพันธ์ของผลกระทบสิ่งแวดล้อมในระดับท้องถิ่นระดับชาติ ระดับชาติ และระดับนานาชาติ
และนานาชาติ
ตัวอย่างของปฏิสัมพันธ์ของผลกระทบสิ่งแวดล้อม ดัง
โลกมนุษย์เป็นส่วนหนึ่งของระบบสุริยะจักรวาล ปรากฏการณ์
เช่น เมื่อมีการทําลายป่ าไม้หรือใช้เทคนิคการเผาพื้นที่
ธรรมชาติที่เกิดขึ้นทําให้ ความสัมพันธ์ระหว่างจุดหนึ่งหรือภูมิภาค
หนึ่งมีความสัมพันธ์กับพื้นที่อื่นๆ โดยไม่อาจแยกจากกันได้ ได้เกิดผลพวงในการสร้างพลังขับเคลื่อนตามมา ได้แก่
ภาวะน้าท่วมและดินโคลนถล่มที่สร้างความเสียหายใน
ถล่มที่
สร้างความเสี ยหายใน
ดังนั้น เมื่อพื้นที่ใดเกิดผลกระทบสิ่งแวดล้อมย่อมส่งปัญหาสิ่งแวดล้อมหรือผลกระทบ
ท้องถิ่น ส่งผลให้ไม่สามารถปลูกพืชอาหารได้จึงทํา
สิ่งแวดล้อมเป็ น ให้เกิดการขาดแคลน อาหารในท้องถิ่นและภูมิสังคม
ลูกโซ่ถึงกันอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ ยกเว้นกรณีที่ความรุนแรงไม่มากนักที่อาจไม่ส่งผลกระ อื่น หากท้องถิ่นนั้นเป็ นพื้นที่ที่เป็ นแหล่งผลิตอาหาร
ทบเป็ นลูกโซ่ได้
ของโลก จะส่งผล กระทบถึงระดับนานาชาติอย่างหลีก
ดังที่เห็นว่า เมื่อเกิดผลกระทบสิ่งแวดล้อมอันเนื่องมาจากกิจกรรมโครงการหนึ่งในท้อง
ที่หนึ่ง จะส่งผล กระทบทั้งทางบวกและทางลบไปสู่ภูมิสังคมโดยรอบ และผลกระทบ เลี่ยงไม่ได้นอกจากนี้ การเผายังเป็ นการเพิ่มก๊าซ
นั้นยังส่งไปถึงระดับชาติ ระดับ
คาร์บอนไดออกไซด์ซึ่งเป็ นก๊าซเรือนกระจกที่เป็ นตัว
ภูมิภาค และระดับนานาชาติได้
การสําคัญที่ก่อให้เกิดภาวะโลกร้อน จะเห็นได้ว่า
ผลกระทบสิ่งแวดล้อมในระดับโครงการ โดยเฉพาะ
ลูกโซ่ของผลกระทบสิ่งแวดล้อม
จากการที่สิ่งแวดล้อมมีลักษณะที่อยู่ร่วมกันเป็ นระบบนิเวศหรือระบบสิ่งแวดล้อม และมีการ ทําให้ผลกระทบของสิ่งแวดล้อมหนึ่งจะส่งผลกระทบเป็ นลูกโซ่ตามมาอย่างต่อเนื่องเปลี่ยนแปลงเสมอ
โดย เกษม จันทร์แก้ว (2554) ได้สรุปการแบ่งลําดับของผลกระทบสิ่งแวดล้อมที่นักวิชาการ สิ่งแวดล้อมได้กล่าวถึง สรุปได้ดังนี้
ผลกระทบลําดับหนึ่ง (Primary Impact) ผลกระทบนี้เป็ นผลกระทบโดยตรงจาการกระทํา ของกิจกรรมโครงการ ได้แก่ พลังงาน เทคโนโลยี วิธีการ เวลา และสถานที่ ซึ่งเป็ นตัวกระทําโดยตรง ต่อสิ่งแวดล้อม ส่งผลให้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ของสิ่งแวดล้อมที่เกิดผลกระทบไม่เป็ นไป ตามปกติ
ผลกระทบลําดับสอง (Secondary Impact) เป็ นผลกระทบที่เป็ นผลพวงต่อเนื่องมาจากการ กระทําของลําาดับหนึ่ง ซึ่งเป็ นแรงขับเคลื่อนให้เกิดการเปลี่ยนแปลงระหว่างผลของผลกระทบลําดับหนึ่ง และผลผลิตของผลกระทบลําดับสองที่เกิดจากกิจกรรมที่ทําให้เกิดสถานภาพสิ่งแวดล้อมใหม่ที่มี ศักยภาพในการสร้างการเปลี่ยนแปลงหรือสร้างผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมอื่นที่อยู่โดยรอบ และเกี่ยวข้องโดยตรง ในทางตรงกันข้าม หากไม่เกิดผลกระทบในลําดับหนึ่งย่อมไม่
สร้างผลกระทบ สิ่งแวดล้อมในลําดับสองหรืออาจไม่เกิดเป็ นผลกระทบที่รุนแรงผลกระทบลําดับสาม (Tertiary Impact) เป็ นผลกระทบที่เกิดจากการกระทําของผลกระทบ ลําดับสองทําให้เกิดการเปลี่ยนแปลงผลกระทบลําดับสี่ ห้า ถึงสุดท้าย เป็ นผลกระทบที่มีกระบวนการทําให้เกิดผลผลิตสุดท้ายของ แต่ละสิ่งแวดล้อมและเป็ นผลกระทบที่เกิดจากโครงการพัฒนา ซึ่งเป็ นการชี้ให้เห็นสภาพสุดท้าย หลังจากที่ดําเนินทุกกิจกรรมและแสดงให้เห็นเป็ นแบบลูกโซ่
ดังนี้
การเรียนรู้ถึงลําดับของผลกระทบก่อให้เกิดประโยชน์ต่อผู้วิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อมมี
1. สร้างวิสัยทัศน์เกี่ยวกับลําดับของผลกระทบเพื่อให้การสร้างกรอบงานการวิเคราะห์ ผลกระทบเป็ นไปอย่างถูกต้อง และสามารถหาตัวคุกคาม (Threats) ต่อการเกิดผลกระทบทางสังคม ผลกระทบต่อสุขภาพ และผลกระทบทางชีวภาพได้
2. การทําความเข้าใจลําดับผลกระทบสามารถนําไปประยุกต์ในการสร้างมาตรการแก้ไข ผลกระทบได้อย่างถูกต้อง นําไปสู่การสร้างแผนแก้ไขผลกระทบและโปรแกรมในการตรวจติดตาม 3. ผู้ศึกษาได้เห็นภาพชัดเจนในการศึกษาผลกระทบสิ่งแวดล้อมเบื้องต้น ส่งผลให้สามารถใช้
ในการคัดเลือกโครงการและพื้นที่ได้อย่างแม่นยําและเชื่อถือได้
การวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม
ดังนั้น การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อมจะมีความสมบูรณ์ได้ต้อง
การวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม (Environmental Impact Assessment: EIA) หมายถึง การวิเคราะห์ผลก
แสดงให้เห็นถึง การมีส่วน
ระทบจากโครงการหรือกิจการประเภทต่างๆ ที่อาจเกิดขึ้นต่อสภาพแวดล้อม หรือสภาพแวดล้อมที่อาจมีผลกระ
ทบต่อโครงการหรือกิจการนั้นทั้งทางบวกและทางลบ ร่วมของประชาชน โดยการที่ประชาชนมีโอกาสเข้ามามีส่วนร่วมใน
เพื่อเป็ นการเตรียมการ ควบคุม ป้ องกัน และแก้ไขก่อนการตัดสินใจดําเนินโครงการหรือกิจการนั้น ไม่ว่าจะเป็ น การยอมรับโครงการหรือกิจการนั้น
โครงการของภาครัฐหรือเอกชน โดยขั้นตอนที่ถูกต้องและมีประสิทธิภาพจะได้รับการเตรียมการอย่าง เป็ น เนื่องจากประชาชนในท้องถิ่นเป็ นผู้ที่ได้รับผลกระทบทั้งทางบวกและ
ระบบในระดับการวางแผนเพื่อให้ทราบถึงข้อเท็จจริงทุกด้าน กล่าวคือ หากจะมีโครงการหรือ กิจการใดเกิดขึ้น ทางลบจากโครงการหรือกิจการ นั้นๆ ที่จะเกิดขึ้น หรือเรียกว่า ผู้มีส่วน
จะก่อให้เกิดผลกระทบต่อคุณภาพสิ่งแวดล้อมอย่างไร ความรุนแรงมากน้อยเพียงใด ผลกระทบที่เกิดขึ้นเป็ น ได้เสีย (Stakeholders) ทั้งนี้ องค์กรเอกชน นักวิชาการ และ สื่อมวลชน
แบบระยะสั้นหรือระยะยาว โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ระบบการวิเคราะห์ผลกระทบ สิ่งแวดล้อมจําเป็ นต้องเปิ ดโอกาส เป็ นกลไกสําคัญในการหนุนเสริมด้านข้อมูลข่าวสารและความรู้ทาง
ให้หน่วยงานทั้งภาครัฐ เอกชน และภาคประชาชนได้มีโอกาสในการ แสดงความคิดเห็นอย่างอิสระ ไม่ว่าความ วิชาการให้กับประชาชน
คิดเห็นนั้นจะเป็ นการสนับสนุนหรือคัดค้านต่อโครงการหรือ กิจการนั้น (ทวีวงศ์ ศรีบุรี, 2541) โดยเฉพาะประชาชนที่ยังไม่มีความเข้าใจ หรือไม่ทราบสิทธิของตนเอง
การวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อมเป็ นเครื่องมือหนึ่งที่ชี้ให้เห็นถึงผลกระทบที่เกิดจากการ ในการเข้ามามีส่วนร่วมในระบบ การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม
ดาเนินโครงการหรือกิจการทั้งทางบวกและทางลบ สะท้อนให้เห็นความสําคัญต่อการพัฒนาประเทศ เป็ นอย่าง ซึ่งโดยแท้จริงแล้วประชาชนในท้องถิ่นจําเป็ นต้องมีความเข้าใจใน
ยิ่ง โดยเฉพาะการควบคุม ป้ องกัน และแก้ไขปัญหาสิ่งแวดล้อม เพื่อสร้างความเป็ นอยู่ที่ดีขึ้น ของประชาชน ส่ง
ผลให้ประชาชนของประเทศได้อยู่ในสภาพแวดล้อมที่ดี มีคุณภาพชีวิตที่ดี ไม่มี ปัญหามลพิษ ดังนั้น จึงเป็ น ระบบการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อมอย่างชัดเจน และต้องทราบถึง
ความจําเป็ นที่ภาครัฐต้องออกมาตรการคุ้มครอง และรักษาคุณภาพ สิ่งแวดล้อมที่เข้มงวดและมีประสิทธิภาพ สิทธิในการมีส่วนร่วมในการ ตัดสินใจในระดับของตนเอง ในขณะที่
กล่าวคือ โครงการหรือกิจการใดที่จะเข้ามาดําเนินการ จําเป็ นต้องมีการวิเคราะห์และประเมินผลกระทบสิ่ง เจ้าของโครงการหรือกิจการทั้งที่เป็ นภาครัฐและเอกชน
แวดล้อมเพื่อการตรวจสอบและเตรียมหามาตรการป้ องกันอย่างเข้มงวดต่อไปในกรณีที่โครงการหรือกิจการนั้น จําเป็ นต้องเปิ ดโอกาสให้ประชาชนได้เข้ามามีส่วนร่วม โดยการเปิ ดรับ
ผ่านการเห็นชอบของหน่วยงานผู้รับผิดชอบในการพิจารณา รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม หน่วย ฟังความคิดเห็นถึงผลกระทบ
งานที่เกี่ยวข้องและประชาชนแล้ว หลังจากการ ก่อสร้างเสร็จสมบูรณ์แล้ว จําเป็ นต้องเตรียมมาตรการในการ ความทุกข์ยาก ความเดือดร้อนที่อาจเกิดขึ้นหลังจากที่เริ่มดําเนิน
ติดตาม ตรวจสอบ และประเมินคุณภาพ สิ่งแวดล้อมหลังจากที่โครงการได้เปิ ดดําเนินการ เพื่อให้ทราบว่า โครงการหรือกิจการ โดยโครงการ หรือกิจการจําเป็ นต้องเปิ ดเผยถึง
โครงการหรือกิจการนั้นก่อให้เกิด ผลกระทบต่อคุณภาพสิ่งแวดล้อมมากน้อยเพียงใด และปฏิบัติตามมาตรการ ผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นและชี้แจงมาตรการป้ องกันและแก้ไขเพื่อให้
ลดผลกระทบสิ่งแวดล้อม
ประชาชนได้เข้าใจและยอมรับในการโครงการหรือกิจการนั้น
ที่ได้เสนอไว้ในรายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อมอย่างเคร่งครัดหรือไม่ ในกรณีที่เกิดความ
ผิดพลาดหรืออุบัติเหตุจําเป็ นต้องปรับปรุงมาตรการป้ องกันและแก้ไขให้มีความเหมาะสมมากยิ่งขึ้น สอดรับ
กับสถานการณ์ที่เปลี่ยนแปลง ทั้งนี้ การติดตาม ตรวจสอบ และประเมินคุณภาพสิ่งแวดล้อม จะดําเนินการโดย
เจ้าหน้าที่ (ตามกฎหมายควบคุม) เป็ นผู้เข้าไปตรวจสอบการดําเนินงานของโครงการ หรือกิจการนั้นอยู่ตลอด
เวลา
วัตถุประสงค์ของการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อมการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อมของประเทศไทยตามพระราชบัญญัติสิ่งแวดล้อม พ.ศ.2518
(กฎหมายสิ่งแวดล้อมฉบับแรกของประเทศไทย) มีวัตถุประสงค์สําคัญสรุปได้ดังนี้
1. เพื่อจําแนกและอธิบายเกี่ยวกับทรัพยากรสิ่งแวดล้อมและคุณค่าต่างๆ
ของมนุษย์ที่จะ ได้รับผลกระทบอันเนื่องจากโครงการพัฒนานั้นๆ ในเชิงปริมาณเท่าที่สามารถจะทําได้ โดยพิจารณา เปรียบเทียบระหว่างสภาวะที่มีโครงการกับไม่มีโครงการดังกล่าว
2. เพื่ออธิบายขนาดของผลกระทบสิ่งแวดล้อมทั้งทางบวกและทางลบในเชิงปริมาณเท่าที่
จะสามารถทําได้ในแง่การส่งเสริมทรัพยากรสิ่งแวดล้อมและคุณค่าต่างๆ ของมนุษย์ กับทางลบในการ ทําลายสิ่งแวดล้อมเหล่านั้น โดยพิจารณารวมทั้งผลกระทบที่เกิดขึ้นในระยะสั้นและระยะยาว เพื่อใช้ประกอบในการพิจารณาในรายละเอียดเกี่ยวกับวิธีการต่างๆ ในการออกแบบหรือวางแผนโครงการให้ เกิดผลเสียหายน้อยที่สุดและได้ผลดีมากที่สุด
3. เพื่ออธิบายทางเลือกของโครงการหรือกิจการที่มีผลกระทบสิ่งแวดล้อมที่แตกต่างกัน แต่สามารถบรรลุเป้ าหมายของการพัฒนาได้เหมือนกัน โดยให้เกล่าวถึงผลกระทบต่อคุณภาพสิ่งแวดล้อม อันเนื่องมาจากการเลือกโครงการแต่ละทางด้วยส่วนวัตถุประสงค์ของการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อมตามพระราชบัญญัติสิ่งแวดล้อม
พ.ศ.2535 โดยกองวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม สํานักงาน นโยบายและแผนสิ่งแวดล้อม ในเอกสาร ชี้แจงประกอบแนวทางการจัดทํารายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม พ.ศ. 2537 สรุปดังนี้

1. เพื่อจําาแนก ทํานาย และประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อมจากโครงการ โดยเปรียบเทียบกับสภาวะที่ไม่มีโครงการ เพื่อเตรียมการป้ องกันผลกระทบสิ่งแวดล้อมตั้งแต่ขั้นวางแผนโครงการ ซึ่ง


จะช่วยลดค่าใช้จ่ายในการแก้ปัญหาที่อาจเกิดขึ้นจากการก่อสร้างและดําเนินโครงการและเพื่อสนับสนุนหลักการพัฒนาทรัพยากรสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน
2. เพื่อให้มีการนําปัจจัยทางด้านสิ่งแวดล้อมมาช่วยในการวางแผนโครงการและตัดสินใจดำเนินโครงการการใช้ประโยชน์จากการวิเคราะห์และประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อมในการควบคุมหรือป้ องกันการเกิดผลกระทบสิ่งแวดล้อม
สรุปได้ ดังนี้
1. การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อมเป็ นส่วนสําคัญส่วนหนึ่งของการวางแผนพัฒนาที่จะ ช่วยให้มองเห็นปัญหาต่างๆ ได้กว้างและชัดเจนยิ่งขึ้น โดยมีการพิจารณาด้านสิ่งแวดล้อมเพิ่มขึ้นจาก การพิจารณา
เฉพาะผลประโยชน์ด้านเศรษฐกิจในระยะสั้นเช่นที่เคยปฏิบัติมา
2. การมีผู้ชํานาญการเฉพาะด้านในการศึกษาและวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม เช่น วิศวกร นักวิทยาศาสตร์ นักธรณีวิทยา นักเศรษฐศาสตร์ นักสังคมศาสตร์ และนักผังเมือง เป็ นต้น สร้างความมั่นใจใน
การพิจารณาปัญหาต่างๆ ได้อย่างครบถ้วนรอบด้าน
3. การวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อมถูกนํามาใช้เพื่อการพัฒนาในระยะยาว โดยคํานึงถึง การบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติที่เหมาะสม และมีทรัพยากรใช้อย่างยั่งยืน โดยเฉพาะการใช้
การวิเคราะห์และประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อมเป็ นเครื่องมือที่ช่วยให้จัดการและบรรลุปัญหาการใช้ประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติร่วมกัน โดยเฉพาะในพื้นที่ชายแดนที่เป็ นรอยต่อระหว่างประเทศ
4. การสร้างความเป็ นธรรมให้กับสังคม โดยเฉพาะอย่างยิ่งผู้มีรายได้น้อยที่อาจได้รับ ผลกระทบจากโครงการหรือกิจการนั้นโดยตรง จะได้รับการพิจารณาการชดเชยหรือลดผลของความ
เสียงหายที่จะเกิดขึ้น
5. การติดตามตรวจสอบผลกระทบที่เกิดขึ้นภายหลังที่มีการก่อสร้างและดําเนินการใช้งาน โครงการเสร็จสิ้นแล้ว ส่งผลในภาพรวมในการประเมินความสําเร็จของประเทศได้อีกทางหนึ่ง

You might also like