Transition Elements

You might also like

Download as pptx, pdf, or txt
Download as pptx, pdf, or txt
You are on page 1of 62

ธาตุแทรนซิชัน

Transition Elements

โดย นางสาว วันทนา ซื่อตรง


Table of Contents

ตำแหน่งของธาตุ สมบัติของธาตุ
01 แทรนซิชัน
ในตารางธาตุ
02 แทรนซิชัน

การจัดเรียง
03 อิเล็กตรอนของ
ธาตุแทรนซิชัน
04 ธาตุกัมมันตรังสี
1.ตำแหน่งของธาตุแทรนซิชัน
ในตารางธาตุ
ธาตุแทรนซิชันมีอยู่ทั้ง
ในธรรมชาติ ได้จากการ
สังเคราะห์ บางธาตุเป็ น
ธาตุกัมมันตรังสี
ธาตุแทรนซิชัน
2.สมบัติของธาตุแทรนซิชัน
ดของอะตอมใกล้เคียงกันทั้งกลุ่ม ขนาดอะตอมน้อยกว่าโลหะหมู่
จุดหลอมเหลว จุดเดือด และความหนาแน่นสูง
• ค่า IE และค่า EN ต่ำ
• เป็ นโลหะทุกชนิด
2.สมบัติของธาตุแทรนซิชัน
มีสถานะเป็ นของแข็ง ยกเว้น ปรอท(Hg) มีสถานะเป็ นของเหลว

มี velence e- เท่ากับ 2 ยกเว้น Cr และ Cu มี velence e- เท่ากั

ระดับพลังงานที่อยู่ข้างในถัดจาก velence e- มี e- เกิน 8 ตั้งแต่


3. การจัดเรียงอิเล็กตรอนของธาตุแทรนซิชัน

[Ar] แทนการจัดเรียงอิเล็กตรอนของธาตุอาร์กอน คือ 1s2 2s2 2p6 3s2 3p6


3. การจัดเรียงอิเล็กตรอนของธาตุแทรนซิชัน
ลงท้ายด้วย 2 ยกเว้น Cr กับ Cu ลงท้ายด้วย 1
Sc Ti V Cr Mn Fe Co Ni Cu Zn
วิธีการหาเลขออกซิเดชัน

เลขออกซิเดชัน สารประกอบ
ผลรวมของเลขออกซิเดชันของอะตอมทุกธาตุรวมกัน=0
ไอออน
ผลรวมของเลขออกซิเดชันของอะตอมทุกธาตุรวมกัน= ประจุ
ไอออนนั้น
หลักเกณฑ์ในการกําหนดเลขออกซิเดชัน

1. ธาตุอิสระทุกตัว ไม่ว่าในหนึ่งโมเลกุลจะมีกี่อะตอมก็ตาม จะมีเลขออกซิเดชั่น


เท่ากับ 0 เช่น Ca, H2, P4, S8 Na ทุกตัวมีเลขออกซิเดชันเป็ น 0

2. ธาตุไฮโดรเจนส่วนมากมีเลขออกซิเดชันเป็ น +1 ยกเว้นในสารประกอบกับโลหะจะมี
เลขออกซิเดชัน = -1 เช่น NaH หรือ CaH, ไฮโดรเจนมีเลขออกซิเดชัน -1

3. ธาตุออกซิเจนส่วนมากมีเลขออกซิเดชันเป็ น -2 ยกเว้นในสารประกอบเปอร์ออกไซด์ เช่น


H2O2, BaO, ออกซิเจนมีเลกออกซิเดชัน -1 สารประกอบ เช่น KO, ออกซิเจนมีเลข

ออกซิเดชัน -1/2 และสารประกอบ OF2, ออกซิเจนมีเลขออกซิเดชัน +2


เลขออกซิเดชัน
4. ธาตุหมู่ IA, IIA และหมู่ IIIA (บางตัว) จะมีเลขออกซิเดชัน
= +1, +2, +3 ตามลําดับ

5. เลขออกซิเดชันของไอออนใด ๆ ปกติจะมีค่าเท่ากับประจุของไอออนนั้น ๆ
เช่น Al3+ มีเลขออกซิเดชัน เป็ น +3

6. ธาตุทรานซิชันส่วนใหญ่มีเลขออกซิเดชันได้มากกว่า 1 ค่าเช่น
FeO: Fe มีเลขออกซิเดชัน เท่ากับ +2
Fe203 : Fe มีเลขออกซิเดชัน เท่ากับ +3
เลขออกซิเดชันของ
ธาตุแทรนซิชัน

“ ต่างจากธาตุหมู่ A คือ เมื่ออยู่ในรูป


สารประกอบสามารถมีเลขออกซิเดชันได้
หลายค่า และถ้ามีค่าเลขออกซิเดชันต่างกัน
จะให้สีต่างกัน”
เลขออกซิเดชันและสีของธาตุแทรนซิชัน

Cr2+ Cr3+ CrO42-


โครเมียม(II) ไอออน โครเมียม(III) ไอออน โครเมตไอออน

Cr2O72- Mn2+ MnO2


ไดโครเมตไอออน แมงกานีส(II)ไอออน แมงกานีส(IV)ออกไซด์

Mn(OH)3 MnO42-
แมงกานีส(III)ไฮดรอกไซด์ แมงกาเนตไอออน

MnO4-
เปอร์แมงกาเนตไอออน
สีของสารประกอบ

สีของสารประกอบแทรนซิชันขึ้นอยู่กับ เลขออกซิเดชันของธาตุแทรนซิชันนั้นๆ
ขึ้นอยู่กับชนิด จำนวนโมเลกุล หรือไอออนที่ล้อมรอบธาตุแทรนซิชัน
4. ธาตุ
กัมมันตรังสี(Radioactoive
Elements)
าตุอีกกลุ่มหนึ่งในตารางธาตุที่มีสมบัติแตกต่างจากธาตุที่เราเคยศึก

ที่แตกต่างคือ ธาตุกลุ่มนี้สามารถแผ่รังสีแล้วกลายเป็ นอะตอมของ


4. ธาตุกัมมันตรังสี(Radioactive
Element)
กัมมันตภาพรังสี(Radioactivity) คือปรากฏการณ์ที่
ธาตุแผ่รังสีได้เองอย่างต่อเนื่อง รังสีที่ธาตุแผ่ออกมา
ได้แก่ แอลฟา บีตา แกมมา
ธาตุกัมมันตรังสี(Radioactive Element)
-ธาตุที่แผ่รังสีโดยการเกิดการเปลี่ยนแปลงภายใน
นิวเคลียสของไอโซโทปที่ไม่เสถียร
และมีพลังงานสูงมาก
-ธาตุที่มีเลขอะตอมสูงกว่า 83 และมีบางไอโซโทปที่มีเลข
อะตอมน้อยกว่า 83 เช่น
C-14, I-131
-สังเคราะห์ขึ้นโดยนักวิทยาศาสตร์
4. ธาตุ
อองตวน อองรี กัมมันตรังสี
เบ็กเคอเรล
• ผู้ค้นพบ กัมมันตภาพรังสี ซึ่งจุดประกายวงการวิทยาศาสตร์ศึ
เกี่ยวกับรังสี
• โดยค้นพบว่า เมื่อเก็บแผ่นฟิ ล์มถ่ายรูปที่
หุ้มด้วยกระดาษสีดำไว้กับสารประกอบ
ยูเรเนียมแผ่นฟิ ล์มจะมีลักษณะเหมือนถูก
แสง และเมื่อทำการทดลองกับ
สารประกอบยูเรเนียมชนิดอื่นๆได้ผลเช่น
เดียวกัน จึงสรุปว่า น่าจะมีรังสีแผ่ออกมา
จากธาตุยูเรเนียม
4. ธาตุ
มารี คูรี (Marie Curie) และปี แอร์ คูรี กัมมันตรังสี
(Pierre Curie)
• ได้ค้นพบว่าธาตุทอเรียม (Thorium), เรเดียม
(Radium) และพอโลเนียม (Polonium) ก็
สามารถแผ่รังสีได้เช่นเดียวกัน
• จึงส่งผลให้เกิดข้อสรุปร่วมกันที่
ว่า ธาตุบางชนิดโดยเฉพาะอย่างยิ่ง
ธาตุที่มีมวลอะตอมสูง มีความ
สามารถในการแผ่รังสีออกมาได้เอง
อย่างต่อเนื่อง โดยปรากฏการณ์
การแผ่รังสีที่เกิดขึ้นนี้เรียก
ว่า“กัมมันตภาพรังสี” ขณะที่ธาตุดัง
4. ธาตุ
จำได้ไหม? กัมมันตรังสี

กัมมันตภาพรังสี , ธาตุกัมมันตรังสี

ปรากฏการณ์
ธาตุที่แผ่รังสีได้เอง
ที่ธาตุแผ่รังสีอย่างต่อเนื่อง
4. ธาตุ
การเกิด กัมมันตรังสี
กัมมันตภาพรังสี
 กัมมันตภาพรังสีเป็ นปรากฏการณ์ที่เกิดกับไอโซโทปกัมมันตรังสี

• เพราะการมีสัดส่วนหรือจำนวนโปรตอนต่อจำนวน
นิวตรอนภายในอะตอมไม่เหมาะสม ทำให้
นิวเคลียสมีพลังงานสูงมาก ขาดเสถียรภาพและ
เกิดการปล่อยรังสีออกมา
• การแผ่รังสีของธาตุนั้นเป็ นกระบวนการปรับ
สมดุลภายในตัวเองของธาตุตามธรรมชาติ ซึ่ง
สามารถก่อกำเนิดธาตุชนิดใหม่หรืออาจสร้าง
การเปลี่ยนแปลงภายในองค์ประกอบอะตอม
4. ธาตุ
กัมมันตรังสี
การแผ่รังสีของไอโซโทปกัมมันตรังสี
ผ่านสนามไฟฟ้ า

รังสี
ธาตุกัมมันตรังสี
บีตา (Beta:
รังสี β)
แกมมา (Gamma:
แผ่นตะกั่ว γ)
รังสีแอลฟา
(Alpha: α)
4. ธาตุ
สมบัติของรังสีบางชนิด กัมมันตรังสี

อำนาจการทะลุทะลวง

กระดาษ แผ่นตะกั่วหนา

แผ่นอลูมิเนียม
4. ธาตุ
การเบียงเบนในสนามไฟฟ้ า กัมมันตรังสี

รังสี
ธาตุกัมมันตรังสี
บีตา (Beta:
รังสี β)
แกมมา (Gamma:
แผ่นตะกั่ว γ)
รังสีแอลฟา
(Alpha: α)
4. ธาตุ
การทำให้อากาศแตกตัว กัมมันตรังสี

α
β

γ
รังสี
อื่นๆ
• โพซิตรอน
• โปรตอน
• ดิวเทอรอน
• ทริทอน
• นิวตรอน
4. ธาตุ
การสลายตัวของธาตุกัมมันตรังสีกัมมันตรังสี
• เกิดจากอัตราส่วนระหว่างจำนวนนิวตรอนต่อ
จำนวนโปรตอนไม่เหมาะสมคือ จำนวน
นิวตรอน มากกว่า จำนวนโปรตอนมากๆ ทำให้
อะตอมไม่เสถียร
รังสีที่แผ่ออกมา ได้แก่จึงเกิดการแผ่รังสีออกมาเพื่อ
ให้อะตอมเสถียร
รังสีแอลฟา รังสีบีตา รังสีแกมมา
1.การสลายให้รังสีแอลฟา

การสลายให้รังสีแอลฟา โดย เกิดกับธาตุที่มีเลขอะตอมสูงกว่า 83


หรือธาตุที่มีจำนวน n: p+ ไม่เหมาะสม

235 231
92U 90Th
+

ธาตุเดิม ธาตุใหม่(ที่มีเลขอะตอมลดลง2,เลขมวลลดลง4) +
วิธีการหาเลขอะตอมและมวลอะตอมจากปฏิกิริยานิวเคลียร์
หลักการ
1. ผลรวมของมวอะตอมด้านสารตั้งต้น = ผลรวมของมวลอะตอมด้านสารผลิตภัณฑ์
2. ผลรวมเลขอะตอมด้านสารตั้งต้น= ผลรวมเลขอะตอมของสารผลิตภัณฑ์
3. นำเลขอะตอมที่ได้มาเปรียบเทียบในตารางธาตุว่าธาตุนั้นคือธาตุใด
ตัวอย่างที่ 1 จงหาธาตุ Y และเขียนสัญลักษณ์นิวเคลียร์
210 Y 4He
84Po 2
1. 210 =
+ 4
2. 84 =
4. ธาตุ
2.การสลายให้รังสีบีตา (Beta) : β กัมมันตรังสี

การสลายให้รังสีบีตา โดย เกิดกับอะตอมที่มีจำนวน


นิวตรอนมากกว่าโปรตอนมากจะอยู่ในรูปของรังสีบีตา

210 210
82Pb Bi83 +

ธาตุเดิม ธาตุใหม่(เลขอะตอมเพิ่ม1เลขมวลเท่าเดิม) +
การสลายตัวของธาตุกัมมันตรังสี

2.รังสีบีตา (Beta) : β
• การสลายให้อนุภาคบีตาถูกปลดปล่อยออกมา ในกรณีที่
ปลดปล่อยอิเล็กตรอนจะเป็ น บีตาลบ ขณะที่กรณีปลด
ปล่อยโพซิตรอนจะเป็ นบีตาบวก
1.บีตาลบปลดปล่อยอิเล็กตรอน
2.บีตาบวกปลดปล่อยโพซิตรอน
การสลายให้รังสีแกมมา
เกิดกับไอโซโทปกัมมันตรังสีที่มีพลังงานสูงมาก หรือไอโซโทป
กัมมันตรังสีที่สลายตัวให้รังสีแอลฟา หรือบีตาแล้วแต่ยังมีพลังงาน
สูงอยู่ นิวเคลียสที่เกิดใหม่ยังไม่เสถียรเพราะมีพลังงานสูงจึงเกิด
การเปลี่ยนแปลงในนิวเคลียสเพื่อให้มีพลังงานต่ำลง โดยปลด
ปล่อยพลังงานส่วนเกินออกมาเป็ นรังสีแกมมา
129Te 129Te
52 52

***ในการเขียนสมการนิวเคลียร์ ผลรวมของเลขมวล
และ เลขอะตอมของผลิตภัณฑ์จะมีค่าเท่ากับผลรวม
ของเลขมวลและเลขอะตอมของสารตั้งต้น
การสลายตัวของธาตุกัมมันตรังสี

เพราะเหตุใดธาตุกัมมันตรังสีจึงต้องมีการแผ่รังสีออกมา?

เนื่องจากมีอัตราส่วนของ นิวตรอน:โปรตอน ไม่เหมาะสม

มีการเปลี่ยนแปลงในนิวเคลียส ไปเป็ นนิวเคลียสของธาตุใหม่ที่เสถียรขึ้น


+ คายรังสีออกมา
ครึ่งชีวิตของธาตุกัมมันตรังสี
ครึ่งชีวิตของธาตุกัมมันตรังสี (Half life) หมายถึงระยะเวลาที่ทำให้
ธาตุกัมมันตรังสีสลายตัวแล้วปริมาณของธาตุกัมมันตรังสีนั้นลดลง
จากปริมาณเดิมครึ่งหนึ่ง โดยธาตุกัมมันตรังสีจะมีค่าครึ่งชีวิตคงเดิมไม่
ว่าจะอยู่ในรูปธาตุหรือสารประกอบ
ตัวอย่างเช่น Co-60 เริ่มต้นมีปริมาณ 10 กรัม สลายตัวให้
กัมมันตรังสีจนกระทั่งเวลาผ่านไป 5.27 ปี จะทำให้ Co-60
เหลือ 5กรัมและเมื่อเวลาผ่านไปอีก 5.27 ปี จะมี Co-60 เหลือ
อยู่ 2.5 กรัม 10 5.27 ปี
5 5.27 ปี
g 2.
1ครึ่งชีวิต g 2ครึ่งชีวิต 5g

จะเห็นได้ว่า ทุกๆ 5.27 ปี Co-60 จะสลายตัวไป ทำให้


ปริมาณลดลงครึ่งหนึ่งจากปริมาณเดิม
การคำนวณครึ่งชีวิต

มี 2 วิธี1. วาดรูป

ดังนี้
ครึ่งชีวิต ครึ่งชีวิต

มวลเหลือ มวลเหลือ
มวลเริ่มต้น
มวลเริ่มต้น/2 มวลเริ่มต้น/4
การคำนวณครึ่งชีวิต

2. ใช้สูตร Nt = N0
2n
N0 = มวลเริ่ม
ต้น
Nt = มวล
เหลือ
การหาจำนวนครั้งที่เกิดการสลายตัวหรือจำนวนครึ่งชีวิต(n)= เวลาที่ใช้/เวลาครึ่งชีวิต
n = จำนวน
ตัวอย่างที่ 1
Na-24 เริ่มต้นมีอยู่ 20 กรัม ตั้งทิ้งไว้ 60 ชั่วโมง โดย Na-24
มีครึ่งชีวิต 15 ชั่วโมง
จงหาปริมาณ Na-24 ที่เหลืออยู่
วิธีที่ 1. วาดรูป
ตัวอย่างที่ 1
Na-24 เริ่มต้นมีอยู่ 20 กรัม ตั้งทิ้งไว้ 60 ชั่วโมง โดย Na-24
มีครึ่งชีวิต 15 ชั่วโมง
จงหาปริมาณ Na-24 ที่เหลืออยู่
วิธีที่ 2. ใช้สูตร
ตัวอย่างที่ 2
I-131 เริ่มต้น เมื่อนำ I-131 จำนวนหนึ่งมาวางไว้เป็ นเวลา 40.5 วัน ปรากฏว่า
ดยครึ่งชีวิตของ I-131 เท่ากับ 8.1 วัน
วิธีที่ 1. วาดรูป
ตัวอย่างที่ 2
I-131 เริ่มต้น เมื่อนำ I-131 จำนวนหนึ่งมาวางไว้เป็ นเวลา 40.5 วัน ปรากฏว่า
ดยครึ่งชีวิตของ I-131 เท่ากับ 8.1 วัน
วิธีที่ 2. ใช้สูตร
ปฏิกิริยานิวเคลียร์(Nuclear reaction)

• ปฏิกิริยานิวเคลียร์ เป็ นการเปลี่ยนแปลงนิวเคลียสของไอโซโทป


กัมมันตรังสี อาจเกิดจากการแตกตัวของนิวเคลียสอะตอมที่มีขนาด
ใหญ่ หรือเกิดจากการรวมตัวของนิวเคลียสของอะตอมที่มีขนาด
เล็กแล้วได้ไอโซโทปใหม่หรือได้นิวเคลียสของธาตุใหม่ ซึ่งจะแผ่รังสี
• โดยนิวเคลียสที่เป็
และให้พลังงานมหาศาลนเป้ าจะถูกยิงด้วยอนุภาคที่ใช้เป็ นกระสุนซึ่ง
อาจจะเป็ นนิวตรอน แอลฟา หรือไอออนที่หนักๆผลผลิตที่ได้จะ
เป็ นนิวเคลียสของธาตุใหม่ และให้พลังงานออกมามหาศาล
สมการนิวเคลียร์(Nuclear equation)

• สมการนิวเคลียร์ คือสมการที่แสดงปฏิกิริยานิวเคลียร์

• ในสมการใช้สัญลักษณ์ธาตุเป็ น
สัญลักษณ์นิวเคลียร์
• ปฏิกิริยานิวเคลียร์จะเกิดกับนิวเคลียส
ของอะตอมของธาตุ
• ปฏิกิริยานิวเคลียร์อาจเกิดจากการแตกตัวของนิวเคลียสของ
อะตอมที่มีขนาดใหญ่ หรืออาจเกิดจากการรวมตัวของ
นิวเคลียสของอะตอมที่มีนิวเคลียสขนาดเล็ก
ประเภทของปฏิกิริยานิวเคลียร์

ปฏิกิริยานิวเคลียร์แบ่งออกได้ 2 ประเภท คือ

1. ปฏิกิริยาฟิ ชชัน (Fission Reaction) การแบ่งแยกนิวเคลียส


 ปฏิกิริยาลูกโซ่(Chain Reaction)

2. ปฏิกิริยาฟิ วชัน(Fusion Reaction) การหลอมนิวเคลียส


1. ปฏิกิริยาฟิ ชชัน (Fission Reaction) การแบ่งแยกนิวเคลีย

• ปฏิกิริยาการแบ่งแยกนิวเคลียส เป็ นการแตกตัวของอะตอมขนาดใหญ่ไป


เป็ นอะตอมที่มีขนาดเล็กลงและมีความเสถียรมากขึ้น ไอโซโทปของธาตุที่สา
มารถเกิดฟิ ชชัน เช่น U-238 หรือ Pu-239
• การเกิดปฏิกิริยาฟิ ชชันแต่ละครั้งจะคายพลังงานออกมาจำนวนมาก และได้
ไอโซโทปกัมมันตรังสีหลายชนิด
• ถือได้ว่าปฏิกิริยาฟิ ชชันเป็ นวิธีผลิตไอโซโทปกัมมันตรังสีที่สำคัญ
• ปฏิกิริยาฟิ ชชันยังได้นิวตรอนเกิดขึ้นด้วย
• ถ้านิวตรอนที่เกิดขึ้นใหม่นี้ชนกับนิวเคลียสอื่นๆจะเกิดปฏิกิริยาฟิ ชชันต่อไป
1. ปฏิกิริยาฟิ ชชัน (Fission Reaction) การแบ่งแยกนิวเคลีย
นปี พ.ศ. 2482 นักวิทยาศาสตร์ได้ค้นพบว่าเมื่อยิงอนุภาคนิวตรอนไปยังนิวเคลียสของ U-235 นิวเคลี
เป็ นนิวเคลียสของธาตุที่เบากว่า คือ Ba และ Kr

1n 235U 141Ba 92 3 1n
36Kr
พลังงาน
0 92 56 0

1n 235U 137Te 2 1n พลังงาน


0 92 52 0
1. ปฏิกิริยาฟิ ชชัน (Fission Reaction) การแบ่งแยกนิวเคลีย

1n 235U 141Ba 92 3 1n
36Kr
พลังงาน
0 92 56 0
1. ปฏิกิริยาฟิ ชชัน (Fission Reaction) การแบ่งแยกนิวเคลีย

• ปฏิกิริยาฟิ ชชันที่เกิดขึ้นภายใต้ภาวะที่เหมาะสม จะได้จำนวน


นิวตรอนเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วทำให้ปฏิกิริยาฟิ ชชันดำเนินไป
อย่างรวดเร็วและปล่อยพลังงานออกมาอย่างมหาศาล
• ถ้าไม่สามารถควบคุมปฏิกิริยาได้จะเกิดการระเบิดอย่างรุนแรง

• หลักการของการเกิดปฏิกิริยาลูกโซ่ได้นำมาใช้ในการทำระเบิดปรมาณู

• การควบคุมฟิ ชชันสามารถทำได้ เช่น ควบคุมมวลของสารตั้งต้น


ให้น้อยลงเพื่อให้จำนวนนิวตรอนที่เกิดขึ้นมีไม่เพียงพอที่จะทำให้
เกิดปฏิกิริยาลูกโซ่ได้
2.ปฏิกิริยาฟิ วชัน(Fusion reaction) การหลอมนิวเคลียส
าตุเบาสองชนิดหลอมรวมกันเกิดเป็ นนิวเคลียสใหม่ที่มีมวลสูงกว่าเดิมและให้พลังงานมาก ดั

2H 3H 4He 1n พลังงาน
1 1 2 0

2H 2H 3He 1n
1 1 2 0 พลังงาน

ทั้งสองนี้เป็ นปฏิกิริยาเดียวกันกับที่เกิดขึ้นบนดวงอาทิตย์ การเกิดปฏิกิริยาฟิ วชันต้องใช้พลังงานเริ่มต้น


2.ปฏิกิริยาฟิ วชัน(Fusion reaction) การหลอมนิวเคลียส

2H 2H 3He 1n
1 1 2 0 พลังงาน
2.ปฏิกิริยาฟิ วชัน(Fusion reaction) หลอมนิวเคลียส
• การเกิดปฏิกิริยาฟิ วชันต้องใช้พลังงานเริ่มต้นสูงมาก ซึ่งประมาณว่าต้องมี
อุณหภูมิสูงถึงหลายล้านองศาเซลเซียส

• พลังงานมหาศาลนี้อาจได้จากปฏิกิริยาฟิ ชชัน ซึ่งเปรียบเสมือนเป็ นชนวน


ทำให้เกิดปฏิกิริยาฟิ วชัน
• ถ้าพลังงานที่ปล่อยออกมาจากปฏิกิริยาฟิ วชันเกิดขึ้นอย่างรวดเร็วจะเกิด
การระเบิดอย่างรุนแรง
• ถ้าควบคุมให้มีการปล่อยพลังงานออกมาช้าๆและต่อเนื่องจะให้พลังงานมหาศาล
ที่เป็ นประโยชน์ต่อมนุษย์
• ปฏิกิริยาฟิ วชันมีข้อได้เปรียบกว่าฟิ ชชันคือ คายพลังงานออกมามาก สารตั้ง
ต้นของฟิ วชันหาได้ง่ายและมีปริมาณมาก และผลิตภัณฑ์ที่เกิดขึ้นจากปฏิกิริยา
ฟิ วชันเป็ นธาตุกัมมันตรังสีที่มีครึ่งชีวิตสั้นและมีอันตรายน้อยกว่า
เทคโนโลยีที่เกี่ยวข้องกับการใช้สารกัมมันตรังสี
1. ด้านธรณีวิทยา
ใช้ คาร์บอน-14(C-14) โพแทสเซียม-40(K-40) และยูเรเนียม-238(U-238)

ในการคำนวณหาอายุของวัตถุโบราณและโครงกระดูก
2.ด้านการแพทย์
ใช้ ไอโอดีน-131 (I-131) ในการติดตามและศึกษาความผิดปกติของต่อมไทรอยด์

ใช้โคบอลต์-60 (Co-60) และ เรเดียม-226(Ra-226) ในการรักษาโรคมะเร็ง

ใช้ฟอสฟอรัส-32 (P-32) ในการตรวจดูการทำงานของตา ตับ และการเกิดเนื้องอก


2.ด้านการแพทย์
ใช้โครเมียม-51 (Cr-51) และเหล็ก-59 (Fe-59) ในการตรวจดูการทำงานของเม็ดเลือดแดง

ใช้โซเดียม-24(Na-24) ในการตรวจดูระบบหมุนเวียนของเลือดในร่างกาย

ใช้ซีเซียม-133(Cs-133) ในการตรวจการทำงานของปอด
2.ด้านการแพทย์
ใช้โมลิบดีนัม-59 (Mo-59) ในการศึกษากระบวนการเมแทบอลิซึมของร่างกาย

ใช้สทรอนเชียม-87 (Sr-87) ในการตรวจดูการทำงานของกระดูก

ใช้ไอโอดีน-132 (I-132) ในการติดตามดูภาพสมอง

ใช้เทคนีเซียม-99 (Tc-99) ในการติดตามดูภาพหัวใจ ตับ และปอด


3.ด้านอุตสาหกรรม
ใช้ไอโซโทปกัมมันตรังสีในงานหลายด้าน เช่น

• ใช้ธาตุกัมมันตรังสีในการตรวจหารอยตำหนิต่างๆ เช่น รอยร้าวของโลหะหรือท่อขนส่งของเหลว

• ใช้ธาตุกัมมันตรังสีในการตรวจสอบควบคุมความหนาของวัตถุ

• ใช้ธาตุกัมมันตรังสีในการฉายบนอัญมณีเพื่อให้มีสีสันสวยงาม

โดยใช้รังสีแกมมา นิวตรอน หรืออิเล็กตรอนพลังงานสูงฉายไปบนอัญมณีจะทำให้สารที่ทำให้


เกิดสีบนอัญมณีเปลี่ยนสีไปได้ซึ่งอัญมณีที่ฉายด้วยรังสีแกมมาจะไม่มีรังสีตกค้าง แต่ถ้าใช้รังสี
นิวตรอนจะมีไอโซโทปกัมมันตรังสีเกิดขึ้น ต้องปล่อยให้ไอโซโทปกัมมันตรังสีสลายตัวจนมี
ระดับที่ปลอดภัยก่อนจึงนำมาใช้ประโยชน์ได้
4. ด้านเกษตรกรรม
ใช้ P-32 ศึกษาความต้องการปุ๋ ยของพืชเพื่อปรับปรุงเมล็ดพันธุ์ที่ต้องการ

ใช้ K-32 ในการหาอัตราการดูดซึมของเหลวของต้นไม้

ใช้รังสีเพื่อปรับปรุงเมล็ดพันธุ์พืชให้ได้พันธุกรรมตามที่ต้องการ โดยการนำ
เมล็ดพันธุ์พืชมาอาบรังสีนิวตรอนในปริมาณ และระยะเวลาที่เหมาะสม จะ
ทำให้พืชเกิดการกลายพันธุ์ได้
5. ด้านการถนอมอาหาร
ใช้โคบอลต์-60(Co-60) ในปริมาณที่พอเหมาะ เพื่อทำลาย
แบคทีเรียในอาหารซึ่งจะช่วยให้เก็บรักษาอาหารไว้ได้นานขึ้น
และรังสีแกมมาไม่เกิดการตกค้างในอาหาร
6. ด้านพลังงาน
มีการใช้พลังงานความร้อนที่ได้จากปฏิกิริยานิวเคลียร์ในเตาปฏิกรณ์
ปรมาณูของยูเรเนียม-238 (U-238) มาต้มน้ำให้กลายเป็ นไอ แล้วผ่าน
ไอน้ำ ไปหมุนกังหันเพื่อผลิตกระแสไฟฟ้ า
รังสีมีอันตรายหรือเปล่า - Matt Anticole
กิจกรรมในชั้นเรียน
ให้นักเรียนหาหัวข้อข่าวที่เกี่ยวข้องกับอันตรายจากธาตุ
กัมมันตรังสี หรืออันตรายจากกัมมันตภาพรังสี

ให้เวลาในการสืบค้น 10 นาที แล้วออกมาเล่าให้เพื่อนๆฟัง


โดย นักเรียนที่ไม่ได้ออกมานำเสนอ ให้เขียนสรุปหัวข้อ
ข่าวที่เพื่อนออกมาเล่าให้ฟังด้านหลังกระดาษที่กลุ่มของ
ตนได้รับ
ประโยชน์ของธาตุ
4. ธาตุ
การสลาย ให้รังสีโพซิตรอน กัมมันตรังสี

• เมื่อปล่อยรังสีโพซิตรอนออกมา นิวเคลียสใหม่จะมี
จำนวนโปรตอนลดลงอีก 1 (เลขอะตอมลดลง1เลข
มวลเท่าเดิม)ซึ่งอิเล็กตรอนที่ถูกปล่อยออกมาจาก
นิวเคลียสจะอยู่ในรูปของโพซิตรอน
38K 38Ar 0e
19 18 +1

0
+1e
ธาตุเดิม ธาตุใหม่(เลขอะตอมเพิ่ม1เลขมวลเท่าเดิม) +

You might also like