Download as pptx, pdf, or txt
Download as pptx, pdf, or txt
You are on page 1of 28

ความรู้เรื่อง “โคลง”

โคลง
โคลง เป็ นคำประพันธ์ที่บังคับวรรณยุกต์ คือ เอก
โท และบังคับสัมผัส

ปรากฏเป็ นรูปแบบคำประพันธ์ขึ้นในสมัยอยุธยา ใน
ประกาศแช่งน้ำโคลงห้า
(ลิลิตโองการแช่งน้ำ) เป็ นเรื่องแรก

ต่อมาปรากฏรูปโคลงสี่ดั้นในลิลิตยวนพ่าย โคลงสุภาพ
(โคลงสอง โคลงสาม โคลงสี่) ในลิลิตพระลอ

ส่วนโคลงสองดั้นและโคลงสามดั้น เกิดขึ้น
ในสมัยรัตนโกสินทร์
โคลง
คำว่า “โคลง” อาจจะเลือนมาจาก “โครง”
คำอธิบายคือ แต่เดิมคำประพันธ์ชนิดนี้จะใช้แต่งข้อความ
สั้น ๆ หรือใช้สรุปความ
จึงวาง “โครง” ให้แต่งกัน ซึ่งก็คือ คำที่เป็ นกระทู้
ข้อบังคับหรือบัญญัติของ
โคลง มี ๖ อย่าง
๑. คณะ ๒. พยางค์
๓. สัมผัส ๔. เอกโท
๕. คำเป็ นคำตาย ๖. คำ
สร้อย
โคลง
โคลงแบ่งเป็ น ๔ ชนิด คือ โคลงสอง โคลง
สาม โคลงสี่ โคลงห้า
โคลง ๔ ชนิด ยังจำแนกออกเป็ น ๒ ประเภท

โคลงสุภาพ โคลงดั้น
โคลง
โคลงสุภาพ โคลงดั้น

แตกต่างกันที่จำนวนคำในวรรคสุดท้าย โคลงดั้นมี ๒ คำ
และโคลงสุภาพลงท้าย ๔ คำ

ตำแหน่งเอกโทในบาทสุดท้าย โคลงสุภาพบังคับเอกโท ส่วน


โคลงดั้นบังคับเอกและโทคู่
โคลงสุภาพ
โคลงสอง
สุภาพ

หนึ่งบทมี ๑๔ คำ แบ่งเป็ น ๓ วรรค วรรคละ ๕ – ๕ –


๔ คำ ตามลำดับ
อาจเพิ่มคำสร้อยท้ายบทได้ ๒ คำ
บังคับเอก ๓ แห่ง โท ๓ แห่ง
และส่งสัมผัสจากคำสุดท้ายของวรรคแรกไปยังคำ
สุดท้ายวรรคที่ ๒
โคลงสุภาพ
โคลงสอง
สุภาพ

หากแต่งหลายบท นิยมเพิ่มสัมผัสระหว่างบท
จากท้ายบทแรกไปยังคำใดคำหนึ่งในวรรคแรกของบท
ต่อ ๆ ไป
ตาเหมือนตามฤคมาศ พิศคิ้วพระลอราช
ประดุจแก้วเกาทัณฑ์ ก่งนา ฯ
พิศกรรณงามเพริศแพร้ว กลกลีบบงกชแก้ว
อีกแก้มปรางทอง เทียบนา ฯ
(ลิลิตพระลอ)
โคลงสุภาพ
กวีผู้แต่งโคลงสองโดยไม่ส่งสัมผัสระหว่างบท ได้แก่ น.ม.ส. ใน
พระนิพนธ์ สามกรุง
โดยทรงอธิบายไว้ในภาคผนวกว่า
“การไม่ร้อยโคลงนี้ ผู้อ่านบางคนอาจเห็นเป็ นข้อบกพร่องและ
อาจยกขึ้นเป็ นตำหนิ
ภูธรอ่อนอุรไท้
แต่หนังสือนี้แต่งตามใจชอบของผู้แต่ง ตรัสทราบภาพ
ไม่ใช่ไม่รู้หรือไม่สามารถ
ตกใต้ แต่งตามแบบได้”
ต่ำต้อยร้อยปการ
หนักหน่วงหักจิตท้อ จักหย่อนยอม
อ่อนข้อ
ที่ข้องหมองใจ ไยแลฯ
โคลงดั้น
โคลงสองดั้น

หนึ่งบทมี ๑๒ คำ แบ่งเป็ น ๓ วรรค วรรคละ ๕ – ๕ –


๒ คำ ตามลำดับ
บังคับเอก ๓ แห่ง และโท ๓ แห่ง ส่งสัมผัสแบบ
เดียวกับโคลงสองสุภาพ

โคลงสองเรียกอย่างดั้น โดยว่าวรรคท้ายนั้น
เปลี่ยนแปลง
แสดงแบบยลแยบให้ กุลบุตรจำไว้ใช้
แต่งตาม
โคลงดั้น
โคลงสองดั้น

พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรง
พระราชนิพนธ์โคลงสองดั้น โดยบังคับเอก ๓ โท
๒ ในลิลิตนารายณ์สิบปาง
ทูลคดีแด่ไท้ อีกขอพระจุ่ง
ได้
ดับเข็ญ
โคลงสุภาพ
โคลงสาม
สุภาพ

หนึ่งบทมี ๑๙ คำ แบ่งเป็ น ๔ วรรค วรรคละ ๕ – ๕ – ๕ –


๔ คำ ตามลำดับ
และอาจจะมีคำสร้อยท้ายบทได้อีก ๒ คำ เช่นเดียวกับโคลง
สองสุภาพและโคลงสองดั้น
บังคับเอก ๓ แห่ง โท ๓ แห่ง ส่งสัมผัสเพิ่มจากโคลงสองอีก
หนึ่งแห่ง
จากวรรคแรกไปยังวรรคที่สอง
สองอย่าปรารมภ์กระสัล แม้มิวันพรุ่งเช้า
ลอราชจักเสด็จเต้า สู่สร้อยสวน
ขวัญ ฯ
โคลงสุภาพ
การแต่งโคลงสามสุภาพติดต่อกันหลาย
โคลงสาม
ๆ บทปรากฏอยู่ในลิลิตนิทราชาคริต
สุภาพ
พระราชนิพนธ์พระบาทสมเด็จพระ
จุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว และในลิลิตสมัย
ล่วงขวบปี หนึ่งประมาณ ทรัพย์
ปั จจุบัน
ศฤงคารพร่องแท้
บเนิ่นเลยหน่อยแล้ จักสิ้นทุนรอน
แล้วนา
เพื่อนคิดถอนตนออก บอกธุระป่ วย
บ้าง
ต่างต่างแต่คิดข้าง บิดพลิ้วไปมา
เยี่ยมเลย
มิช้าสิ้นทรัพย์ตน เพื่อสักคน
โคลงดั้น
โคลงสามดั้น

หนึ่งบทมี ๑๗ คำ แบ่งเป็ น ๔ วรรค วรรคละ ๕ – ๕


– ๕ – ๒ คำ ตามลำดับ
บังคับเอก ๓ แห่ง โท ๓ แห่ง สัมผัสเหมือนโคลงสาม
สุภาพทุกประการ
จงยลคณะโคลงสาม ตามแบบ
แยบอย่างนี้
เป็ นพวกโคลงดั้นชี้ เช่นกัน
โคลงดั้น
โคลงสามดั้น

พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงพระราช
นิพนธ์โคลงสามดั้น
โดยบังคับเอก ๓ โท ๒ ตำแหน่งเดียวกับโคลงสองดั้น ใน
ลิลิตนารายณ์สิบปาง
มุ่งตรงสู่สรยุ บรรลุถึงฝั่ งใต้
เดินเลียบฝั่ งนั่นไซร้ ไป่ นาน
โคลงสุภาพ
โคลงสี่สุภาพ

หนึ่งบทมี ๓๐ คำ แบ่งเป็ น ๔ บาท บาทที่ ๑ – ๓ บาทละ


๗ คำ บาทที่ ๔ มี ๙ คำ
แต่ละบาทแบ่งเป็ น ๒ วรรค วรรคแรก ๕ คำ วรรคหลัง ๒
คำ เว้นบาทสุดท้าย
วรรคหลัง ๔ คำ มี คำสุดท้ายของวรรคที่
การส่งสัมผัส คำสร้อยได้ ๒ แห่ง ๒ บาทที่ ๑
ส่งสัมผัสไปยังคำสุดท้ายของวรรคแรกในบาทที่ ๒ และ ๓
และคำสุดท้ายของวรรคที่ ๒ บาทที่ ๒ ส่งสัมผัสไปยังคำ
สุดท้ายของวรรคแรกในบาทที่ ๔
โคลงสุภาพ
เสียงลือเสียงเล่าอ้าง อันใด พี่
โคลงสี่สุภาพ เอย
เสียงย่อมยอยศใคร ทั่วหล้า
สองเขือพี่หลับใหล ลืมตื่น ฤๅพี่
สองพี่คิดเองอ้า อย่าได้ถาม
เผือ
(ลิลิตพระ
ลอ)
บังคับเอก ๗ แห่ง โท ๔ แห่ง และเอกโทในบาทแรก
ของโคลงอาจสลับที่กันได้
อนุโลมให้ใช้คำตายแทนคำเอกได้ แต่ไม่นิยมให้ใช้
เอกโทษและโทโทษ
โคลงสุภาพ
ข้อควรรู้โคลงสี่
สุภาพ

รูปวรรณยุกต์เอก – โทในวรรคที่ ๑ สามารถสลับที่กัน


ได้ ด้วยเหตุผลที่ว่า
บางทีคำที่ต้องวางไว้ตรงนั้นแต่รูปวรรณยุกต์ไม่เป็ นใจ
เมื่อหาคำที่มีรูปวรรณยุกต์เอก ไม่ได้ อนุญาตให้ใช้
คำตายแทนรูปเอกได้
นางนวลจับแมกไม้ นางนวล
นวลนุชแนบเรียมควร คู่แคล้ว
เบญจวรรณจับวัลย์พวน พันโอบ
ไม้แม่
แลว่าวัลย์กรแก้ว กอดอ้อม
โคลงสุภาพ
ข้อควรรู้โคลงสี่ อย่าเอา คำสร้อย เป็ นคำส่ง
สุภาพ สัมผัส คำส่งสัมผัส คือคำที่ ๗
ในวรรคแรก และไม่ใส่วงเล็บ
การสัมผัสบท หรือการร้อยโคลง เพิ่งมีมาไม่นาน
หากพบโคลงสมัยเก่า ๆ ที่ไม่มีสัมผัสเชื่อมบท ก็ไม่ผิด
โคลงสุภาพ
โคลงสี่ตรีพิธ
พรรณ

เหมือนโคลงสี่สุภาพ ต่างกันแค่เปลี่ยนสัมผัสในบาทที่ ๒ จาก


คำที่ ๕ มาเป็ นคำที่ ๓ เท่านั้น
ตรีพิธพรรณชื่ออ้าง ครรโลง
สัมผัสโยง ดั่งแผน ผูกไว้
บัญญัติอื่นดุจ โคลง สี่สุภาพ นั้นนา
เอกเจ็ดโทสี่ให้ หัดซ้อมเสมอ
เสมอ
(กำชัย ทองหล่อ,
2550, น.401)
โคลงสุภาพ
โคลงสี่จัตวาทัณฑี

เหมือนโคลงสี่สุภาพ ต่างกันโดยให้เลื่อนสัมผัสในบาท
ที่ ๒ จากคำที่ ๕ มาเป็ นคำที่ ๔ และให้คำที่ ๒ กับ
คำที่ ๓ ของบาทที่ ๒ และที่ ๓ สัมผัสกันเท่านั้น
โคลงหนึ่งนามแจ้งจัด วาทัณ ฑีฤา
บังคับรับกันแสดง อย่างพร้อง
ขบวรแบบแยบยลผัน แผกชนิด อื่นเอย
ที่สี่บทสอดคล้อง ท่อนท้ายบทป
ถมฯ
โคลงสี่ดั้น
โคลงดั้นวิวิธ
มาลี

หนึ่งบทมี ๒๘ คำ ๔ บาท บาทละ ๗ คำ


แบ่งเป็ นบาทละ ๒ วรรค วรรคแรก ๕ คำ วรรคหลัง ๒ คำ
บังคับเอก ๗ โท ๔ เหมือนโคลงสี่สุภาพ ต่างกันที่ตำแหน่ง
ของเอกโทในบาทสุดท้าย คือ คำที่ ๔-๕ เป็ นโทคู่
ส่งสัมผัสระหว่างบทแห่งเดียวจากคำสุดท้ายของบทแรกไปยังคำที่
๕ ของบาทที่ ๒ ใบบทต่อไป
โคลงสี่ดั้น
โคลงดั้นบาท
กุญชร

ลักษณะบังคับเหมือนโคลงวิวิธมาลี แต่ส่งสัมผัส
ระหว่างบท ๒ แห่ง
จากคำสุดท้ายของบาทที่ ๓ บทแรก ไปยังคำที่ ๔
บาทแรกของบทต่อไป
กับคำสุดท้ายบาทที่ ๔ บทแรกไปยังคำที่ ๕ บาทที่ ๒
ของบทต่อไป
โคลงกระทู้
โคลงสี่สุภาพ แต่ตั้งข้อความเป็ นกระทู้ไว้ข้างหน้าของบาท
ทั้ง ๔
แล้วแต่งถ้อยคำต่อไปให้มีเนื้อความอธิบายหรือขยายความ
ของกระทู้ให้ชัดเจนยิ่งขึ้น หรือถ้าเป็ นกระทู้ที่ไม่มีความ
หมายในตัวเอง เช่น โก วา ปา เปิ ด ก็แต่งเสริมพยางค์หรือ
คำให้กระทู้นั้นมีความหมายขึ้น (กำชัย ทองหล่อ, 2550,
คำว่า “กระทู้” แปลว่า
น.401)หัวข้อหรือข้อความ
ตามปกติจะเป็ นหัวข้อหรือข้อความสั้น ๆ ที่มี
ความหมาย
ลักษณะโคลงกระทู้
๑. ลักษณะทุกอย่างเป็ นโคลงสี่สุภาพ
๒. ต้องเขียนกระทู้ข้างหน้าของบาททั้ง ๔ เรียงลงมา ไม่เขียน
เรียงลำดับคำเหมือนเขียนตามปกติ และต้องให้กระทู้ห่าง
จากคำอธิบายหรือคำขยายความ มีระยะพอที่จะสังเกตเห็น
ได้ว่าเป็ นกระทู้
๓. กระทู้ต้องมีความหมายในตัวเอง เว้นแต่บางกระทู้ที่ไม่มี
ความหมาย เช่น ทะ ลุ่ม ปุ่ม ปู , ปิ หา อา โก เป็ นต้น
คลงกระทู้ มี ๔ ชนิด
คลงกระทู้ มี ๔ ชนิด
นอกจากโคลงสุภาพและโคลงดั้นแล้ว ในตำรากวีนิพนธ์ยัง
ปรากฏลักษณะของโคลงโบราณอีกด้วย ในที่นี้จะขอกล่าว
โดยสังเขป โคลงโบราณมีลักษณะคล้ายโคลงดั้นวิวิธมาลี แต่
ไม่บังคับเอกโท มีบังคับเพียงสัมผัสเท่านั้น เป็ นโคลงซึ่งไทย
เราแปลงมาจากกาพย์ในภาษาบาลีชื่อว่า “คัมภีร์กาพสาร
วิลาสินี” ว่าด้วยวิธีแต่งกาพย์ต่าง ๆ ๑๕ กาพย์ด้วยกัน แต่มี
ลักษณะเป็ นโคลงแบบไทยอยู่ ๘ ชนิด เพราะเหตุที่ไม่มีบังคับ
เอกโท จึงเรียกว่า โคลงโบราณ นอกนั้นมีลักษณะเป็ นกาพย์
แท้ ประกอบด้วย โคลงวิชชุมาลี โคลงจิตรลดา โคลงมหา
จิตรลดา โคลงสินธุมาลี โคลงมหาสินธุมาลี โคลงนันททายี
โคลงมหานันททายี และมหาสินธุมาลีกาพย์
(กำชัย ทองหล่อ, 2550, น.408)
กิจกรรมท้ายบทเรียน

ศึกษาแต่งโคลงสี่สุภาพ จำนวน
หัวข้อ “อาหารไทย”

You might also like