04 DL ประถมต้น

You might also like

Download as pptx, pdf, or txt
Download as pptx, pdf, or txt
You are on page 1of 76

Digital literacy

การรู้ดิจิทัล
รวบรวมข้อมูล ประมวลผล
วิทยาการคำนวณ
ประเมินผล นำเสนอข้อมูลหรือ ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการ
สารสนเทศเพื่อแก้ปั ญหาในชีวิต สื่อสารอย่างปลอดภัย รู้เท่าทันสื่อ
จริง ค้นหาข้อมูลและแสวงหา นวัตกรรมและผลกระทบของ
ความรู้บนอินเทอร์เน็ต เทคโนโลยีสารสนเทศและการ
การประเมินความน่าเชื่อถือของ สื่อสารต่อการดำเนินชีวิต อาชีพ
ข้อมูล สังคม และวัฒนธรรม

แก้ปั ญหาอย่างเป็ นขั้นตอนและเป็ นระบบ ใช้


แนวคิดเชิงคำนวณในการแก้ปั ญหาในชีวิตประจำ
วัน หรือบูรณาการกับวิชาอื่น พัฒนาแอปพลิเคชัน
หรือพัฒนาโครงงานอย่างสร้างสรรค์เพื่อแก้ปั ญหา
ในชีวิตจริง
ตัวชี้วัดที่เกี่ยวข้อง

ป.1 5. ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างปลอดภัย
ปฏิบัติตามข้อตกลงในการใช้คอมพิวเตอร์ร่วม
กัน ดูแลรักษาอุปกรณ์เบื้องต้น ใช้งานอย่าง
เหมาะสม
4. ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างปลอดภัย ปฏิบัติ
ป.2
ตามข้อตกลงในการใช้คอมพิวเตอร์ร่วมกัน ดูแล
รักษาอุปกรณ์เบื้องต้น ใช้งานอย่างเหมาะสม
ป.3 5. ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างปลอดภัย ปฏิบัติตาม
ข้อตกลงในการใช้อินเทอร์เน็ต
จุดประสงค์การเรียนรู้ ป.1

1. บอกวิธีใช้งานคอมพิวเตอร์อย่าง
ปลอดภัย
2. บอกวิธีดูแลรักษาอุปกรณ์คอมพิวเตอร์
จุดประสงค์การเรียนรู้ ป.2

1. บอกข้อตกลงในการใช้งานคอมพิวเตอร์
2. บอกวิธีรักษาความสะอาดอุปกรณ์
คอมพิวเตอร์
3. บอกวิธีใช้คอมพิวเตอร์อย่างปลอดภัย
4. บอกวิธีการปกป้ องข้อมูลส่วนตัว
5. บอกประโยชน์ของเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ใน
ชีวิตประจำวัน
จุดประสงค์การเรียนรู้ ป.3

1. ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างปลอดภัยและ
เหมาะสม
2. ใช้งานอินเทอร์เน็ตอย่างมีมารยาท
3. บอกข้อดีข้อเสียของการใช้เทคโนโลยี
สารสนเทศ
4. บอกประโยชน์ของเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ใน
ชีวิตประจำวัน
Digital Literacy?
DL: Digital
สื่อดิจิทัลรูปแบบต่าง ๆ

Literacy
การรู้หนังสือ
ความสามารถในการอ่านและเขียน
ความรู้เท่าทัน
ความตระหนักรู้
Digital Literacy
ความสามารถในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
และอินเทอร์เน็ต อย่างรู้เท่าทัน และปลอดภัย
• ค้นหา
• ประเมินความน่าเชื่อถือ
• ใช้ประโยชน์
• แบ่งปัน/เผยแพร่ข้อมูล
• สร้างเนื้อหา/ความรู้
Digital Literacy

จุดเน้น
• ปกป้องสิทธิของตนเอง

• ไม่ละเมิดสิทธิของผู้อื่น
Digital Literacy

เรื่องที่ 1 ข้อปฏิบัติในการใช้งาน
คอมพิวเตอร์
เรื่องที่ 2 การใช้งานคอมพิวเตอร์อย่าง
ปลอดภัย
เรื่องที่ 3 การปกป้ องข้อมูลส่วนตัว
เรื่องที่ 4 คอมพิวเตอร์ในชีวิตประจำวัน
เรื่องที่ 1
ข้อปฏิบัติในการใช้งาน
คอมพิวเตอร์
ข้อปฏิบัติในการใช้งานและการใช้งานอย่างปลอดภัย

การจัดการเรียน
รู้
1. ทบทวนเรื่อง อุปกรณ์คอมพิวเตอร์
2. สร้างความเข้าใจเรื่องข้อตกลงในการ
ใช้คอมพิวเตอร์
3. ศึกษาเนื้อหา ทำกิจกรรม และ
อภิปรายร่วมกัน
4. สรุปความรู้ที่ได้รับ
ข้อปฏิบัติในการใช้งานและการใช้งานอย่างปลอดภัย

ตัวอย่างกิจกรรมนำเข้าสู่บทเรียน
ครูตั้งคำถามเพื่อร่วมกันอภิปราย ดังนี้
● นักเรียนใช้งานคอมพิวเตอร์วันละกี่ชั่วโมง
● นักเรียนมีข้อตกลงในการใช้งาน
คอมพิวเตอร์กับผู้ปกครอง
หรือในห้องคอมพิวเตอร์อย่างไร
● นักเรียนคิดว่าในชีวิตประจำวันเราใช้
ข้อปฏิบัติในการใช้งานและการใช้งานอย่างปลอดภัย

ตัวอย่างสถานการณ์
ารใช้งานคอมพิวเตอร์
ในห้องสมุด
ข้อปฏิบัติในการใช้งานและการใช้งานอย่างปลอดภัย

ข้อตกลงในการใช้งานคอมพิวเตอร์
1. ไม่เล่นเกม
ข้อปฏิบัติในการใช้งานและการใช้งานอย่างปลอดภัย

2. ปิ ดสวิตช์คอมพิวเตอร์และเก็บเก้าอี้ให้
เรียบร้อย
ข้อปฏิบัติในการใช้งานและการใช้งานอย่างปลอดภัย

3. รักษาความสะอาด
ข้อปฏิบัติในการใช้งานและการใช้งานอย่างปลอดภัย

4. ดูแลรักษาอุปกรณ์
• ทำความสะอาด
อุปกรณ์
• ไม่งัดแงะอุปกรณ์
• ระวังอาหารและเครื่อง
ดื่มหกใส่
• ใช้ผ้าคลุม เมื่อไม่ใช้งาน
ข้อปฏิบัติในการใช้งานและการใช้งานอย่างปลอดภัย

5. การตรวจสอบเบื้องต้นหากเครื่อง
คอมพิวเตอร์ไม่ทำงาน
• ตรวจสอบดูว่าเสียบปลั๊กแน่นแล้วหรือไม่
• ตรวจดูว่าสวิตช์ปลั๊กไฟแล้วหรือไม่
• ตรวจสอบสายต่อพ่วงต่าง ๆ
• ดูสัญลักษณ์ว่ากำลังชาร์จแบตเตอรีอยู่
หรือไม่
ตัวอย่างกิจกรรมการเรียนรู้
1. สิ่งใดต่อไปนี้ไม่ควรนำเข้าในห้อง
คอมพิวเตอร์
ตัวอย่างกิจกรรมการเรียนรู้

2. ให้นักเรียนสร้างข้อตกลงในการใช้งาน
คอมพิวเตอร์ร่วมกัน
เรื่องที่ 2
การใช้งานคอมพิวเตอร์อย่าง
ปลอดภัย
การใช้งานคอมพิวเตอร์อย่างปลอดภัย
สาระการเรียนรู้

บอกวิธีการใช้คอมพิวเตอร์อย่างปลอดภัย
การใช้งานคอมพิวเตอร์อย่างปลอดภัย

• ระวังไฟดูด

• ระวังสะดุดสายไฟ
• หากเกิดปั ญหาให้
แจ้งครู หรือผู้
ปกครอง
การใช้งานคอมพิวเตอร์อย่างปลอดภัย

นั่งหลังตรง พักสายตา ไม่ใช้นานเกินไป


กิจกรรมที่ 1
Do or Don’t
กิจกรรมที่ 1 Do or Don’t
คำชี้แจง ข้อที่
1
ข้อที่
8
ข้อที่ ข้อที่
พิจารณาภาพต่อไปนี้ว่าพฤติกรรมใด 2 9

เป็ นพฤติกรรมที่ควรทำ หรือ ไม่ควร


ข้อที่ ข้อที่
3 10

ทำ แล้วทำเครื่องหมาย  ลงใน ข้อที่


4
ข้อที่
11
ช่อง  หน้าคำตอบที่ถูกต้อง ข้อที่
5
ข้อที่
12
ข้อที่ ข้อที่
6 13
ข้อที่ ข้อที่
7 14
เฉลย กิจกรรมที่ 1 Do or Don’t

1. 2.

ซ่อมเครื่องคอมพิวเตอร์ด้วยตัวเอง นั่งหลังตรงขณะใช้งานคอมพิวเตอร์
เฉลย กิจกรรมที่ 1 Do or Don’t

3. 4.

วางแก้วน้ำข้าง ๆ คอมพิวเตอร์ แจ้งคุณครูเมื่อเครื่องคอมพิวเตอร์มีปัญหา


เฉลย กิจกรรมที่ 1 Do or Don’t

5. 6.

ปิดเสียงโทรศัพท์เมื่ออยู่ในโรงภาพยนตร์ ใช้โทรศัพท์ขณะชาร์จกับไฟบ้าน
เฉลย กิจกรรมที่ 1 Do or Don’t

7. 8.

จัดวางรองเท้าหน้าห้องคอมพิวเตอร์
ใช้โทรศัพท์ขณะข้ามถนน
เฉลย กิจกรรมที่ 1 Do or Don’t

9. 10.

ปิดคอมพิวเตอร์ด้วยการกดปุ่ ม Power นั่งหลังตรงขณะใช้งานคอมพิวเตอร์


เฉลย กิจกรรมที่ 1 Do or Don’t

11. 12.

ใช้งานเครื่องคอมพิวเตอร์ ทำความสะอาดเครื่องคอมพิวเตอร์อยู่เสมอ
ในทีที่มีแสงสว่างเพียงพอ
เฉลย กิจกรรมที่ 1 Do or Don’t

13. 14.

ใช้โทรศัพท์ขณะที่ครูกำลังสอน ใช้โทรศัพท์ขณะขึ้นบันได
สรุป

● การใช้คอมพิวเตอร์ สมาร์ตโฟน ควรรักษาความ


สะอาดของอุปกรณ์
ไม่ใช้นานเกินไป และคำนึงถึงความปลอดภัยเช่น
ไม่ใช้ขณะเดินข้ามถนน
หรือเดินขึ้น-ลงบันได

● การใช้คอมพิวเตอร์ควรปฏิบัติตามข้อตกลงร่วม
กัน
สรุปการจัดการเรียน
รู้
● ไม่เน้นให้นักเรียนท่องจำ
● ฝึ กการพิจารณาความเหมาะสมจาก
พฤติกรรมต่าง ๆ ในการใช้งาน
คอมพิวเตอร์ หรือสมาร์ตโฟน
เพื่อนำไปใช้ในชีวิตประจำวันได้
● คำนึงถึงผลเสียที่อาจจะเกิดขึ้น
เรื่องที่ 3
การปกป้ องข้อมูลส่วนตัว
การปกป้ องข้อมูลส่วนตัว
สาระการเรียนรู้

• รู้จักข้อมูลส่วนตัว
• อันตรายจากการเผยแพร่ข้อมูลส่วนตัว
• ไม่บอกข้อมูลส่วนตัวกับบุคคลอื่นยกเว้นผู้
ปกครองหรือคุณครู
การจัดการเรียนรู้

1. สร้างความเข้าใจเรื่องข้อมูลส่วนตัว
และความสำคัญของการปกป้ องข้อมูล
ส่วนตัว
2. ศึกษาเนื้อหา และอภิปรายร่วมกัน
3. ทำกิจกรรม วิเคราะห์สถานการณ์
4. สรุปความรู้ที่ได้รับ
ตัวอย่างกิจกรรมนำเข้าสู่บทเรียน
ครูตั้งคำถามเพื่อร่วมกันอภิปราย ดังนี้
● นักเรียนรู้ข้อมูลอะไรเกี่ยวกับเพื่อนบ้าง (ครู
เขียนคำตอบบนกระดาน)
● นักเรียนอยากให้คนอื่นรู้ข้อมูลของเราหรือ
ไม่ เพราะอะไร
● จากข้อมูลที่เขียนบนกระดานมีข้อมูลใด
บ้างที่นักเรียน ไม่อยากให้เพื่อนรู้
การปกป้ องข้อมูลส่วนตัว

บัตรประชาชน
มี
ข้อมูลอะไรอยู่
บ้าง?
การปกป้ องข้อมูลส่วนตัว
บัตรประชาชนมีข้อมูลอะไรอยู่บ้าง?
หมายเลขประจำตัว
ประชาชน

ชื่อ-นามสกุล
วัน เดือน ปี เกิด

ส่วนสูง
ที่อยู่
วันที่บัตรหมดอายุ
วันที่ออกบัตร
การปกป้ องข้อมูลส่วนตัว
บัตรประชาชนมีข้อมูลอะไรอยู่บ้าง?

รหัสหลังบัตร
การปกป้ องข้อมูลส่วนตัว
ตั๋วเครื่องบินมีข้อมูลอะไรอยู่บ้าง?

วันที่เดิน
ทาง ไฟลท์บิน
เวลาเดิน เลขที่นั่ง
ทาง

เลขที่นั่ง สนามบินปลายทาง

ภาพ : https://www.freepik.com/
การปกป้ องข้อมูลส่วนตัว
ข้อมูลในหนังสือเดินทาง
(Passport) มีอะไรบ้าง?

เมืองที่เคย หมายเลข
เดินทาง หนังสือเดินทาง
ไป

เลขประจำตัว
วันเดือนปี เกิด
ลายมือชื่อ
การปกป้ องข้อมูลส่วนตัว

รหัส ATM
สามารถบอกใครได้ไหมเอ่ย?
กิจกรรมที่ 2

Yes or No
กิจกรรมที่ 2 Yes or No
1. เด็กคนหนึ่งกำลังหลงทางจึงเข้าไปขอความช่วยเหลือจากตำรวจ คุณ
ตำรวจขอดูบัตรประจำตัวประชาชน
ควรส่งบัตรประจำตัวประชาชนให้คุณตำรวจหรือไม่
กิจกรรมที่ 2 Yes or No
2. คนแปลกหน้ามาขอยืมใช้โทรศัพท์และขอทราบรหัส
ผ่านเพื่อปลดล็อก
ควรบอกหรือไม่
กิจกรรมที่ 2 Yes or No

3. เพื่อนในห้องเรียน ขอยืมโทรศัพท์เพื่อโทรหาผู้
ปกครอง ควรให้ยืมหรือไม่
กิจกรรมที่ 2 Yes or No
4. มีชายแปลกหน้ามาขอถ่ายรูปบัตรประจำตัว
นักเรียน ควรให้ถ่ายหรือไม่
กิจกรรมที่ 2 Yes or No
ครูถามว่าของเล่นที่ชอบคืออะไร ควรบอกคุณครูหรือไม่
กิจกรรมที่ 2 Yes or No
ยแปลกหน้าขอถ่ายภาพตั๋วเครื่องบิน ควรให้ถ่ายหรือไม่
สรุป
● การปกป้ องข้อมูลส่วนตัวทำให้ปลอดภัย
จากผู้ไม่ประสงค์ดี
● ข้อมูลส่วนตัวที่ไม่ควรเปิ ดเผยต่อคนแปลก
หน้า เช่น วันเดือนปี เกิด ที่อยู่
● ในบางกรณีเราอาจจำเป็ นต้องเปิ ด
หมายเลขบัญชีธนาคาร หมายเลขประจำ
เผยข้อมูลส่วนตัวกับผู้อื่น จึงต้อง
ตัว-ประชาชน หมายเลขโทรศัพท์ของผู้
พิจารณาเฉพาะผู้ที่ไว้วางใจได้
ปกครอง
สรุปการจัดการเรียนรู้
● เน้นให้นักเรียนตระหนักถึงความสำคัญ
ของการปกป้ องข้อมูลส่วนตัว และผล
เสียที่อาจเกิดขึ้นจากการเปิ ดเผยข้อมูล
● ครูนำอภิปรายสรุปร่วมกัน โดยใช้คำถาม
ดังนี้
○ นักเรียนคิดว่าข้อมูลใดที่ไม่ควรบอก
บุคคลแปลกหน้า
เรื่องที่ 4
คอมพิวเตอร์ในชีวิตประจำ
วัน
แนวทางการจัดการเรียนรู้

1. แนะนำให้รู้จักเทคโนโลยีใหม่
และร่วมกันอภิปราย
ข้อดี ข้อเสียของเทคโนโลยี
2. ศึกษาเนื้อหา ทำกิจกรรม และ
อภิปรายร่วมกัน
3. สรุปความรู้ที่ได้รับ
ตัวอย่างกิจกรรมนำเข้าสู่บทเรียน
ครูตั้งคำถามเกี่ยวกับการใช้คอมพิวเตอร์ใน
ชีวิตประจำวัน เช่น
● นักเรียนเคยเห็นการใช้คอมพิวเตอร์หรือไม่
ใช้ในงานใดบ้าง
● นักเรียนคิดว่ามีงานใดอีกบ้างที่สามารถนำ
คอมพิวเตอร์ เข้ามาช่วยในการทำงานได้
● หากนักเรียนสามารถประดิษฐ์คอมพิวเตอร์
คอมพิวเตอร์ในชีวิตประจำวัน
1. นาฬิกา

นาฬิกาที่สามารถเชื่อมต่อ
อินเทอร์เน็ต
และติดตั้งแอปพลิเคชัน
เพื่อทำงานร่วมกับ
Watch-Smartwatch/dp/B07GXTMS4C อุปกรณ์อื่น ๆ ได้
ที่มาภาพ : https://www.amazon.co.uk/DZ09-Bluetooth-Smart-
คอมพิวเตอร์ในชีวิตประจำวัน
2. เครื่องซักผ้า
เครื่องซักผ้าที่มีคอมพิวเตอร์
คอยควบคุมโปรแกรมการซัก
และสามารถแจ้งสถานะการซัก
ให้รู้ผ่านทางอินเทอร์เน็ต
ที่มาภาพ : https://www.samsung.com/uk/washing-
machines/washer-ww90j5456fw/
คอมพิวเตอร์ในชีวิตประจำวัน
3. โทรทัศน์
โทรทัศน์ที่สามารถ
เชื่อมต่อ
อินเทอร์เน็ตและติด
ตั้ง
แอปพลิเคชันต่าง ๆ
ที่มาภาพ : https://www.flipkart.com/thomson-b9-pro-80cm-32-inch-hd-
ready-led-smart-tv/p/itmf5yyhppqrnmsn
คอมพิวเตอร์ในชีวิตประจำวัน

4. กล้องวงจรปิ ด
กล้องวงจรปิ ดที่
สามารถ
เรียกดูภาพผ่านสมา
ร์ตโฟน อาจจะมี
การแจ้งเตือนเมื่อ ที่มาภาพ :
http://www.sinjiproducts.com/product/smart-
คอมพิวเตอร์ในชีวิตประจำวัน
5. ตู้เย็น
ตู้เย็นที่เชื่อมต่อ
อินเทอร์เน็ต และมี
ระบบเซ็นเซอร์ตรวจ
จับ
จำนวนของในตู้เย็น
ที่มาภาพ :
เมื่อของหมดจะส่ง
การแจ้งเตือนผ่าน
https://www.samsung.com/uk/refrigerators/french-
คอมพิวเตอร์ในชีวิตประจำวัน
6. รถยนต์
● ระบบเตือนการชน
และช่วยเบรก
อัตโนมัติ
● วิ่งช้าลง เพื่อความ
ปลอดภัย
ของผู้โดยสาร ที่มาภาพ : autostation.com/news/forward-collision-
warning-auto-braking-useful
คอมพิวเตอร์ในชีวิตประจำวัน
7. รถยนต์ขับเคลื่อนอัตโนมัติ
ใช้ระบบคอมพิวเตอร์
ควบคุม
การขับเคลื่อน ตรวจ
จับสิ่งกีดขวาง ตรวจ

ที่มาภาพ : https://www.youtube.com/watch?
gg.gg/gv2cc
สอบการจราจร โดย
ไม่มีคนขับ
v=MKZc25z2Wy4
คอมพิวเตอร์ในชีวิตประจำวัน
8. ความเป็ นจริงเสริม (Augmented
Reality : AR)
เป็ นการแต่งเติมภาพ
จากโลกจริง ด้วยภาพที่
สร้างจากคอมพิวเตอร์
มองเห็นได้ผ่านอุปกรณ์
เช่น
ที่มาภาพ :
แว่นเออาร์ แท็บเล็ต
https://teen.mthai.com/education/170053.html
คอมพิวเตอร์ในชีวิตประจำวัน
9. ความเป็ นจริงเสมือน (Virtual
Reality : VR) เป็ นการสร้างภาพ
จำลองสภาพ
แวดล้อม ให้รู้สึก
เหมือนยืนอยู่ที่ตรง
ที่มาภาพ :
นั้นจริง ๆ ภาพที่
เห็นจะเป็ นภาพ
https://medium.com/predict/why-virtual-reality-is-the-future-bdc470ecee
คอมพิวเตอร์ในชีวิตประจำวัน
10. การจ่ายเงินโดยไม่ใช้เงินสด
สามารถทำได้หลาย
วิธี เช่น
• โอนผ่าน
แอปพลิเคชัน
• สแกนคิวอาร์โค้ด
ที่มาภาพ :
• บัตรแทนเงินสด
https://brandinside.asia/fintech-expert-says-too-many-ewallet-in-singapore-
คอมพิวเตอร์ในชีวิตประจำวัน
11. แหล่งเรียนรู้ออนไลน์
มีหลากหลายรูปแบบ
เช่น
• บทเรียนออนไลน์
• เว็บไซต์เพื่อการ
ศึกษา
ที่มาภาพ :
• พ็อดคาสต์
https://www.wegointer.com/2019/12/7-interesting-o
กิจกรรมที่ 3
เทคโนโลยีใน
ฝัน
กิจกรรมที่ 3 เทคโนโลยีในฝัน

ออกแบบเทคโนโลยีในจินตนาการ
พร้อมระบุความสามารถ ว่า
เทคโนโลยีนั้นจะช่วยงานในด้านใด
บ้าง
ตัวอย่างกิจกรรมการเรียนรู้

1. ออกแบบหุ่นยนต์ช่วย
ทำงานบ้าน
ชื่อ……………………
………….
ความ
สามารถ……………
…..
ตัวอย่างกิจกรรมการเรียนรู้
2. ครูตั้งคำถามให้ร่วมกันอภิปราย เช่น
● รถยนต์ขับเคลื่อนอัตโนมัติมีข้อดี ข้อเสีย
อย่างไร
● ถ้าต้องการสร้างห้องสมุดให้ทันสมัย
จะนำเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์เข้ามาช่วยงาน
อย่างไรบ้าง
● เทคโนโลยีในการช่วยเหลือผู้พิการที่นักเรียน
เคยพบมีอะไรอีกบ้าง
สรุป

● คอมพิวเตอร์อาจอยู่ในเครื่องใช้ต่าง
ๆ ในชีวิตประจำวันของเรา เช่น
อุปกรณ์ควบคุมเครื่องใช้ไฟฟ้ าในบ้าน
โทรทัศน์ ตู้เย็น เครื่องซักผ้า
● เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ที่ใช้ในงานอื่น
ๆ เช่น เทคโนโลยีควบคุมการขับ
สรุป (ต่อ)

● เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์อาจช่วยงาน
เราได้หลายอย่าง แต่งานที่มีคุณค่า
ต่อจิตใจหรืองานที่เป็ นการพัฒนา
ความรู้และทักษะเราควรทำด้วย
ตนเอง
การจัดการเรียนรู้
● สอนให้ผู้เรียนรู้จักเทคโนโลยีใหม่ ๆ เข้าใจ
ลักษณะการทำงาน สามารถแนะนำผู้อื่น
ได้
● สามารถทำความเข้าใจเทคโนโลยีใหม่ ๆ
ที่อาจจะพบ ในอนาคตได้
● ครูควรแนะนำเทคโนโลยีใหม่ในช่วงเวลา
นั้นเพิ่มเติม

You might also like