Download as pptx, pdf, or txt
Download as pptx, pdf, or txt
You are on page 1of 9

ปัญหา

ความขัด
แย้ง
1.ความหมายของความขัดแย้ง
1.1ความขัดแย้ง(Confiict)
หมายถึง สภาพที่บุคคลทั้งสองฝ่ ายมีความคิดเห็นหรือความเชื่อไม่ตรงกัน
1.2ความขัดแย้งระหว่างบุคคล หมายถึง ความขัดแย้งระหว่างบุคคลสองคนขึ้นไป

2.สาเหตุของความขัดแย้ง
2.1ความขัดแย้งระหว่างบุคคล
1)ความขัดแย้งอันเนื่องมาจากความคิดเห็นต่างกัน
2)ความขัดแย้งอันเนื่องมาจากวิธีการคิดขัดแย้งกัน
3)ความขัดแย้งอันเนื่องมาจากการรับรู้แตกต่างกัน
4)ความขัดแย้งอันเนื่องมาจากค่านิยมแตกต่างกัน
5)ความขัดแย้งอันเนื่องมาจาก “อคติ”ของความรู้สึกส่วนตัวของแต่ละคน
6)ความขัดแย้งอันเนื่องมาจากการขัดผลประโยชน์กัน
2.2สาเหตุของความขัดแย้งระหว่างวัยรุ่นกับครอบครัว
1)ผู้สูงอายุกว่าปรับตัวไม่ทันความเจริญเติบโตของวัยรุ่น
2)ภาพรวมของพ่อแม่ผู้ปกครองสมัยเมื่อเป็ นวัยรุ่นแตกต่างกับปัจจุบัน
3)ค่านิยม สภาพเศรษฐกิจ สังคม ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี
4)ผู้ใหญ่ใช้ความคิด ความสามารถ ประสบการณ์ ความรู้ของตนเป็ นมาตรฐาน
5)บรรยากาศในครอบครัวที่สมาชิกในบ้านมีความสัมพันธ์ต่อกันไท่ราบรื่น
6)สภาพความเป็ นวัยรุ่นที่รักความอิสระ ชอบท้าทายอำนาจ ชอบทดลองหาประสบการณ์ใหม่ๆ
2.3ผลของความขัดแย้งต่อวัยรุ่นและครอบครัว
1)เกิดความสะเทือนอารมณ์ ทำให้ขาดประสิทธิภาพในการเรียน การทำงาน และขาดกำลังใจ
2)ก่อให้เกิดความกระวนกระวายใจ ความขัดแย้งที่เกิดขึ้นจะทำให้บุคคลครุ่นคิดไม่รู้จักจบสิ้น
3)เป็ นผลเสียต่อระบบการทำงานของร่างกายเช่น ระบบย่อยอาหารผิดปกติ
4)การขัดแย้งในครอบครัว อาจนำไปสู่ปัญญาบ้านแตกหรือปัญหาสุขภาพจิต
2.4วิธีการจัดการความขัดแย้งระหว่างวัยรุ่นและครอบครัว
1)พิจารณาถึงปัญหา ปัญหาที่ทำให้เกิดความขัดแย้ง
2)การนัดหมายเวลา เพื่อพูดถึงความขัดแย้งที่เกิดขึ้น
3)อธิบายถึงปัญหาและความต้องการของตนเองให้อีกฝ่ ายทราบ
4)ตรวจสอบความเข้าใจของอีกฝ่ าย
5)เปิดโอกาส ให้อีกฝ่ ายได้อธิบายความต้องการของเขา
6)ตรวจสอบความเข้าใจของตนเอง
7)หาแนวทางที่จะจัดการกับความขัดแย้งที่เกิดขึ้น
2.5สาเหตุความขัดแย้งระหว่างนักเรียนและเยาวชนในชุมชน
1)การอยู่ในสภาพแวดล้อมที่ต่างกัน
2)การมีผลประโยชน์ขัดกัน
3)การมีอคติ
2.6แนวทางการแก้ไขปัญหาความขัดแย้งระหว่างนักเรียนและเยาวชนในชุมชน
1)การเจรจา
2)การใช้บุคคลที่สามเพื่อไกล่เกลี่ยข้อขัดแย้ง
3)การแก้ไขความขัดแย้งด้วยสันติวิธี ไม่ใช้ความรุนแรง
3.1การเจรจา 3.2การไกล่เกลี่ย
1.ภาษาพูด
-ถ้อยคำที่ใช้มีความสุภาพ ไพเราะ น่าฟัง เข้าใจง่าย
-น้ำเสียงที่พูดเป็ นเสียงที่นุ่มนวล มีหางเสียง มีการเว้นระยะของแต่ละประโยค
2.ภาษาเขียน
-ใช้ถ้อยคำสุภาพเหมาะสมกับผู้อ่าน
-มีความยาวพอสมควร มีการแบ่งสาระเป็ นวรรค ถ้ามีหลายวรรคหลายตอน ควรมีการกล่าวนำและสรุปสาระ
สำคัญก่อนจบ
การสื่อสารโดยใช้ภาษากาย
คือการแสดงออกทางกริยาอาการ สีหน้าท่าทางสายตาการสัมผัส
๑.ทักษะในการสร้างสัมพันธภาพเพื่อให้เกิดความมั่นคง
1 การเปิดเผยตัวเองและไว้ใจซึ่งกันและกัน
2 การเล่าหรือบอกความไม่สบายใจของตนเองกับผู้อื่น
3 ความไว้วางใจ
๒ ทักษะการสื่อสารความเข้าใจ
1 ทักษะการฟัง 2 ความใส่ใจ 3 การทวนเนื้อหา 4 การ
สะท้อนความรู้สึก
ความสามารถในการตัดสินใจกับการแก้ปัญหา
การตัดสินใจและการแก้ปัญหาเป็ นทักษะที่สามารถลดความขัดแย้งได้การเข้าใจปัญหา
ปัญหา หมายถึง สภาวะหรือสถานการณ์ที่ไม่พึงประสงค์ในการเรียนหรือผู้อื่นอาจเกิด
ความขัดแย้งทางความคิด ความต้องการ
การประเมินสถานการณ์เพื่อเข้าใจปัญหา
๑ ประเมินสภาพที่เป็ นอยู่ในปัจจุบัน
1 ความขัดแย้งมาก 2 ความขัดแย้งปานกลาง 3 ความขัดแย้งระดับน้อย
๒ ประเมินโดยการเปรียบเทียบ
1 การเอาใจเขามาใส่ใจเรา
2 ลองปฏิบัติต่อผู้อื่นเช่นเดียวกับที่ต้องการให้ผู้อื่นปฏิบัติต่อเรา
3 ลองสมบทบาทเป็ นอีกฝ่ าย

04/03/2024
๓ ประเมินโดยการสังเกตปฏิกิริยาตอบสนองของผู้อื่น

• การประเมินโดยการเกตปฏิกิริยา
ตอบสนองของผู้อื่น ทำได้ดังนี้
• 1.สังเกตจากสีหน้าท่าทาง เช่น ยิ้ม
แย้ม ตกใจ กลัว
• 2.สังเกตจากคำพูดที่โต้ตอบกับเรา
• 3.การกระทำเป็ นไปตามที่เราคาด
หวัง
04/03/2024
สมาชิก
• นาย กิตติชัย วัฒนกิตติ• นางสาว อจลญา อจลบุญ
พงศ์ • นางสาว นิชกานต์ นาม
• นาย ญาณวุฒิ วงค์จันทร์ พรม
เสนอ
ครูศักดา
• นาย ชานนท์ พิเมีย • นางสาว บัวหนุ่ม ลายใส
• นาย สุวิชัย ยอดคำ • นางสาว พรทิพา นาม
พรม

วันเพ็ญ
• นางสาว อ่อน เงินอ่อง
• นางสาว ชฎาพร ใจพรม
• นางสาว อาหม่วย
• นางสาว อนุศรา แสนเหลี่ 04/03/2024
ยว

You might also like