9.4 Fast Decoupled

You might also like

Download as ppt, pdf, or txt
Download as ppt, pdf, or txt
You are on page 1of 21

Power Flow Calculation by using

Fast Decoupled Power Flow Solution


Fast Decoupled Power Flow Solution

• ประยุกต์การใช้วิธี Newton – Raphson มาคำนวณให้ไวขึ้น


• ใช้กับระบบที่ค่าสายส่งมีค่า X / R สูง (Strong Network)
- P จะเปลี่ยนแปลงเนื่องจากการเปลี่ยนแปลงของ  V น้อยมาก
- Q จะเปลี่ยนแปลงเนื่องจากการเปลี่ยนแปลงของ  น้อยมาก
• จะได้เมตริกซ์เพื่อใช้วิเคราะห์ Power Flow เป็น
 P   J1 0    
 Q    0 J 4    V 
  
 P   J1 0    
จาก  Q    0 J 2    V 
  

 สามารถเขียนเป็นสมการ ได้เป็น

 P 
P  J1    
  

 Q 
Q  J 4  V   V
 V 
สมาชิกในเมตริก J1

1. ส่วนประกอบใน Diagonal Matrix


Pi N

จาก   VVi jYij sin  ij   j   i  ( j  i)


 i j 1

Pi N

จะได้   VVi jYij sin  ij   j   i   Vi Yii sin  ii  Vi Yii sin ii


2 2

 i j 1

Pi N
  VV
 i j 1
Y
i j ij sin  ij   j   i  V
2
i Yii sin  ii ( j  i)
N

เนื่องจาก i jYij sin  ij   j   i 


Qi   VV
j 1

 สามารถหาสมาชิกในส่วน Diagonal ของ J1 ได้จาก


Pi 2 2
 Qi  Vi Yii sin ii  Qi  Vi Bii
 i

เมื่อ Bii - ส่วนจินตภาพของสมาชิกในส่วน Diagonal ของ [Y]

 ในระบบไฟฟ้ ากำลังทั่วไป พบว่า Bii  Qii และ 2


Vi  Vi

Pi
  Vi Bii
จะได้  i
2. ส่วนประกอบใน Off - Diagonal Matrix

Pi
จาก i jYij sin  ij   j   i 
  VV ( j  i)
 j

• ในสภาวะปกติ (normal operation) พบว่า  j  i น้อยมาก


• สามารถประมาณได้ว่า ij   j   i  ij

Pi
จะได้ i j Yij sin  ij 
  VV   Vi V j Bij
 j
2. ส่วนประกอบใน Off - Diagonal Matrix (ต่อ)

• เพื่อให้การคำนวณง่ายขึ้น สามารถประมาณได้ว่า Vj  1

• สามารถหาสมาชิกในส่วน Off Diagonal ของ J1 ได้จาก


Pi
  Vi Bij
 j

เมื่อ Bij - ส่วนจินตภาพของสมาชิกในส่วน Off Diagonal ของ [Y]


สมาชิกในเมตริก J4

1. ส่วนประกอบใน Diagonal Matrix

Qi N

เขียนได้เป็น   Vi Yii sin ii    Vi V j Yij sin ij   j   i 


 Vi j 1

  Vi Yii sin ii   Qi   Vi Bii  Qi

• ในระบบปกติ พบว่า Bii  Qi ตัด Qi ทิ้งได้


Qi
  Vi Bii
 Vi
2. ส่วนประกอบใน Off - Diagonal Matrix

Qi
จาก   Vi Yij sin ij   j   i  ( j  i)
 Vj

• ในสภาวะปกติ (normal operation) พบว่า  j  i น้อยมาก


• สามารถประมาณได้ว่า ij   j   i  ij

Qi
  Vi Yij sin ij    Vi Bij
จะได้  Vj
Pi Qi
จาก  i
  Vi Bii
 Vi
  Vi Bii

Pi Qi
  Vi Bij   Vi Bij
 j  Vj

 เขียนความสัมพันธ์ของสมาการเมตริกได้ใหม่ ดังนี้

P Q
  B '    B ''  V
Vi และ Vi

เมื่อ B ', B '' คือ ส่วนจินตภาพของสมาชิกใน [Y]


•หา ขนาดแรงดัน และ มุมเฟสแรงดัน ที่เปลี่ยนแปลงได้จาก :
P
    B '
1

Vi

Q
 V    B ''
1

Vi

พบว่า • ใช้เวลาในการ iteration ไวกว่าวิธี Newton Raphson


• เหมาะสำหรับใช้ในการวิเคราะห์การไหลของกำลังไฟฟ้ า
แบบ on line
ตัวอย่างที่ 1
จากระบบไฟฟ้ าดังรูป จงวิเคราะห์การไหลของกำลังไฟฟ้ าด้วยวิธี Fast
Decoupled Method
(1) (2)
0.02 + j0.04

400 MW

0.01 + j0.03 0.0125 + j0.025 250 Mvar

Slack Bus
V1  1.050 (3)
200
MW V3  1.04
• เมตริกซ์แอดมิตแตนซ์ [Y] เท่ากับ
é 20 - j 50 - 10 + j 20 - 10 + j 30ù
ê ú
[Y ]= ê- 10 + j 20 26 - j 52 - 16 + j 32ú
ê ú
êë- 10 + j 30 - 16 + j 32 26 - j 62 úû

• บัส 1 เป็น Slack Bus (ตัดทิ้ง) พิจารณาเฉพาะ  2 ,  3 จะได้


 52 32 
B'   
 32 62 

 0.028182 0.014545 
 B '
1
 
 0.014545 0.023636 
• หา กำลังไฟฟ้ าจริง (P) ที่บัส 2, 3 ได้จาก
P2 = V2 V1 Y21 cos (q21 + d1 - d2 ) + V2 V2 Y22 cos (q22 + d2 - d2 ) +
V2 V3 Y23 cos (q23 + d3 - d2 )
2
= V2 V1 Y21 cos (q21 + d1 - d2 ) + V2 Y22 cos (q22 ) +
V2 V3 Y23 cos (q23 + d3 - d2 )

P3 = V3 V1 Y31 cos (q31 + d1 - d3 ) + V3 V2 Y32 cos (q32 + d2 - d3 ) +


2
V3 Y33 cos (q33 )

• หา กำลังไฟฟ้ ารีแอคทีฟ (Q) ที่บัส 3 ได้จาก


2
Q2 = - V2 V1 Y21 sin (q21 + d1 - d2 )- V2 Y22 sin (q22 )-
V2 V3 Y23 sin (q23 + d3 - d2 )
• หาค่า P sch ของบัส 2, 3 และ Q sch
ของบัส 2
(400 + j 250)
บัส 2 S sch
2 =-
100
= - 4.0 - j 2.5 p.u.
200
บัส 3 P
3
sch
=
100
= 2.0 p.u.

• กำหนดค่าเริ่มต้นของ บัส 2 และ บัส 3


บัส 1  V1 = 1.05 และ d1 = 0

บัส 2  V2(0) = 1 และ d2(0) = 0

บัส 3  V3 = 1.04 และ d3(0) = 0


• สามารถหา Power Residuals ที่บัสต่างๆ ได้เท่ากับ

P20  P2sch  P20  4.0  (1.14)  2.86

P3(0)  P3sch  P3(0)  4.0  (0.5616)  1.4384

Q2(0)  Q2sch  Q2(0)  2.5  (2.28)  0.22


 P20 
P  0  
    B '
1   20  1  V2 
จาก Vi จะได้  0     B '  0 
  3 
 P3 
 V3 

• แทนค่าต่างๆ ลงไป พบว่า


 2.8600 
  20   0.028182 0.014545   1.0   0.060483
 0       
1.4384
  
  3   0.014545 0.023636     0.008909 
 1.04 
• บัส 3 เป็น Gen Bus แรงดันคงที่  พิจารณาเฉพาะบัส 2 จะได้
B "  52

Q
• จาก  V    B ''
1

Vi
จะได้

 1  0.22 
 V2       0.0042308
 52   1.0 
• ค่าพารามิเตอร์ที่ได้จากการ iteration # 1 จะเป็น

d2(1) = d2(0) + D d2(0) = 0 + (- 0.060483) = - 0.060483

d3(1) = d3(0) + D d3(0) = 0 + (- 0.008989) = - 0.008989

V2(1) = V2(0) + D V2(0) = 1 + (- 0.042308) = 0.995769


เมื่อทำการ iteration ไปเรื่อยๆ จะได้คำตอบ ดังนี้
P1 = V1 V1 Y11 cos (q11 + d1 - d1 ) + V1 V2 Y12 cos (q12 + d2 - d1 ) +
บัส 1 V1 V3 Y13 cos (q13 + d3 - d1 )

= 2.1842 p.u.
Q1 = - V1 V1 Y11 sin (q11 + d1 - d1 )- V1 V2 Y12 sin (q12 + d2 - d1 )-
V1 V3 Y13 sin (q13 + d3 - d1 )

= 1.4085 p.u.

Q3 = - V3 V1 Y31 sin (q31 + d1 - d3 ) - V3 V2 Y32 sin (q32 + d2 - d3 ) -


บัส 3 V3 V3 Y33 sin (q33 + d3 - d3 )

= 1.4617 p.u.

You might also like