ความยืดหยืน (Elasticity)

You might also like

Download as ppt, pdf, or txt
Download as ppt, pdf, or txt
You are on page 1of 67

ความยืดหยุ่น (Elasticity)

962 101
เศรษฐศาสตร์จุลภาคเบื้องต้น

09/05/24 1
ความยืดหยุ่น (Elasticity)
 เป็นค่าที่ใช้วัดความมากน้อยของการเปลี่ยนแปลงของตัวแปรตามต่อการ
เปลี่ยนแปลงของตัวแปรนำ
 การพิจารณาค่าความยืดหยุ่นพิจารณาจากตัวเลข โดย
การเปลี่ยนแปลงมีค่ามาก แสดงว่ามีความยืดหยุ่นมาก และ
การเปลี่ยนแปลงมีค่าน้อย แสดงว่ามีความยืดหยุ่นน้อย
 เครื่องหมายของความยืดหยุ่น แสดงถึงทิศทางการเปลี่ยนแปลงของตัวแปรนำ
และตัวแปรตาม โดย
เครื่องหมาย + แสดงถึงการเปลี่ยนแปลงในทิศทางเดียวกัน
เครื่องหมาย - แสดงถึงการเปลี่ยนแปลงในทิศทางตรงข้ามกัน
09/05/24 2
ความยืดหยุ่น (Elasticity) (ต่อ)
 ทำไมต้องเป็ นเปอร์เซ็นต์การเปลี่ยนแปลง
 ตัวแปรต่างๆ มีหน่วยไม่เหมือนกัน

 เนื่องจากฐานเดิมไม่เท่ากัน เช่น การเปลี่ยนแปลงปริมาณ

เสนอซื้อ 100 หน่วย นั้น


 มาก ถ้าฐานเดิมเป็น 100 หน่วย (100%)

 น้อย ถ้าฐานเดิมเป็น 100,000 หน่วย (0.1%)

09/05/24 3
ความยืดหยุ่นของอุปสงค์และอุปทาน
 ความหมาย
 วิธีการคำนวณหาค่าความยืดหยุ่น
 ค่าความยืดหยุ่นกับลักษณะของเส้นอุปสงค์/อุปทาน
 ปัจจัยที่มีส่วนกำหนดค่าความยืดหยุ่น

09/05/24 4
ความยืดหยุ่นของอุปสงค์
 ค่าที่ใช้วัดเปอร์เซ็นต์การเปลี่ยนแปลง(หรืออัตรา) การ
เปลี่ยนแปลงของปริมาณเสนอซื้อ ณ ขณะใดขณะหนึ่ง ต่อ
เปอร์เซ็นต์(หรืออัตรา) การเปลี่ยนแปลงของตัวแปรอื่นๆ ที่
เป็นตัวกำหนดปริมาณเสนอซื้อ
 ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อราคา
 ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อรายได้

 ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อราคาสินค้าชนิดอื่น

09/05/24 5
ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อราคา
(Price elasticity of demand)
 เป็นค่าที่ใช้วัดเปอร์เซ็นต์การเปลี่ยนแปลงของปริมาณเสนอซื้อ ณ
ขณะใดขณะหนึ่ง ต่อเปอร์เซ็นต์การเปลี่ยนแปลงของราคาสินค้า
ชนิดนั้นๆ เมื่อกำหนดให้สิ่งอื่นๆคงที่
 เปอร์เซ็นต์การเปลี่ยนแปลงของปริมาณเสนอซื้อ
εP = เปอร์เซ็นต์การเปลี่ยนแปลงของราคาสินค้า
= % ΔQ
% ΔP
09/05/24 6
ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อราคา (ต่อ)
 การเปลี่ยนแปลงของราคาสินค้า และการเปลี่ยนแปลงของปริมาณ
เสนอซื้อ จะเป็นไปในทิศทางตรงข้ามกัน
 ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อราคามีเครื่องหมายลบเสมอ ยกเว้น
กรณีสินค้ากิฟเฟ่ น
 โดยทั่วไป เราจะพูดถึงค่าสัมบูรณ์ของความยืดหยุ่น ซึ่งมี
เครื่องหมายเป็นบวก

09/05/24 7
ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อราคา (ต่อ)
 DA : อุปสงค์ต่อสินค้า A
P  DB : อุปสงค์ต่อสินค้า B
 ณ ระดับราคา P
 ปริมาณเสนอซื้อสินค้า A : Q
P
 ปริมาณเสนอซื้อสินค้า B : Q
P1 DB
 ณ ระดับราคา P1
DA
 ปริมาณเสนอซื้อสินค้า A : Q1
Q
Q Q1 Q2  ปริมาณเสนอซื้อสินค้า B : Q2
 สินค้า B มีความยืดหยุ่นมากกว่าสินค้า A
09/05/24 8
การคำนวณหาค่าความยืดหยุ่น
 ความยืดหยุ่นของอุปสงค์แบบจุด
 ความยืดหยุ่นของอุปสงค์แบบช่วง

09/05/24 9
ความยืดหยุ่นของอุปสงค์
(Elasticity of demand)

เปอร์เซ็นต์การเปลี่ยนแปลงของปริมาณเสนอซื้อ
εP = เปอร์เซ็นต์การเปลี่ยนแปลงของราคาสินค้า

= % ΔQ
% ΔP

09/05/24 10
ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ตรงจุด
(Point elasticity of demand)

จำนวนการเปลี่ยนแปลงของปริมาณเสนอซื้อ
X 100
ปริมาณเสนอซื้อแต่เริ่มแรก
εP =
จำนวนการเปลี่ยนแปลงของราคาสินค้า
X 100
ราคาสินค้าแต่เริ่มแรก

09/05/24 11
ความยืดหยุ่นของอุปสงค์แบบจุด
(Point elasticity of demand)
 Q ปริมาณเสนอซื้อเดิม
% ΔQ  Q1 ปริมาณเสนอซื้อใหม่
εP =
% ΔP
 P ราคาสินค้าเดิม
 P1 ราคาสินค้าใหม่
Q1 - Q
X 100
ΔQ P
= Q = x
P1 - P ΔP Q
X 100
09/05/24 P 12
ความยืดหยุ่นของอุปสงค์แบบช่วง
(Arc elasticity of demand or Mid point method)
Q1 – Q ΔQ
(Q 1 + Q ) Q1 + Q
εP = 2 =
P1 – P ΔP
(P1 + P) P1 + P
2
= ΔQ x P1 + P
ΔP Q1 + Q
09/05/24 13
ตัวอย่าง
 เมื่อราคาสินค้าราคา 70 บาท ปริมาณเสนอซื้อในตลาดเท่ากับ 5
หน่วย ถ้าราคาสินค้าลดลงเป็น 60 บาท ปริมาณเสนอซื้อเพิ่มขึ้น
เป็น 6 หน่วย จงหาค่าความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อราคาแบบจุด ณ
ระดับราคา 70 บาท
 P = 70 บาท Q = 5 หน่วย , P1 = 60 บาท Q1= 6 หน่วย
 εp = ΔQ x P = (6-5) x 70 = - 1.4
ΔP Q (60-70) 5
09/05/24 14
ตัวอย่าง (ต่อ)
 คำตอบที่ได้ค่าความยืดหยุ่นต่อราคามีเครื่องหมายลบ ไม่ได้แสดงว่า
ค่าความยืดหยุ่นมีค่าน้อยกว่า ศูนย์ แต่แสดงถึงความสัมพันธ์ระหว่าง
ราคาและปริมาณเสนอซื้อที่เปลี่ยนแปลงในทิศทางตรงกันข้ามกัน
 - 1.4 แปลว่า ถ้าราคาสินค้าเปลี่ยนแปลงเพิ่มขึ้น 1 % ปริมาณเสนอ
ซื้อจะเปลี่ยนแปลงลดลง 1.4 %
หรือ ถ้าราคาสินค้าเปลี่ยนแปลงลดลง 1 % ปริมาณเสนอซื้อจะ
เปลี่ยนแปลงเพิ่มขึ้น 1.4 %

09/05/24 15
Question
จุด P Q  จงหาความยืดหยุ่นแบบจุด
A ณ จุด B ( ถ้าจาก B  C)
6 0

 ณ จุด C (ถ้าจาก C  B)
B 5 20  ณ จุด E (ถ้าจาก E  F)
C 4 40  ณ จุด F (ถ้าจาก F  E)
D 3 60  จงหาความยืดหยุ่นแบบช่วง
E
 ช่วง BC
2 80  ช่วง EF
F 1 100
G
09/05/24
0 120 16
ค่าสัมบูรณ์ความยืดหยุ่นกับลักษณะของเส้นอุปสงค์
|% ΔQ|
| ε P |=
|% ΔP|


|% ΔQ| = |% ΔP|, εP เท่ากับ 1 : มีลักษณะ unit elastic

|% ΔQ| > |% ΔP|, εP มากกว่า 1 : มีลักษณะยืดหยุ่นสูง (elastic)

|% ΔQ| < |% ΔP|, εP น้อยกว่า 1 : มีลักษณะยืดหยุ่นต่ำ (inelastic)

09/05/24 17
ค่าความยืดหยุ่นกับลักษณะของเส้นอุปสงค์
%Q
p 
%P

%Q  %P ,  p  1 มีลักษณะ unit elastic


%Q  %P ,  p  1 มีลักษณะยืดหยุ่นสูง (elastic)
%Q  %P ,  p  1 มีลักษณะยืดหยุ่นต่ำ (inelastic)

09/05/24 18
ค่าความยืดหยุ่นกับลักษณะของเส้นอุปสงค์ (ต่อ)
 ความยืดหยุ่นของอุปสงค์จะเป็นการกล่าวถึงความยืดหยุ่น ณ ระดับ
ราคาใดราคาหนึ่งเสมอ เนื่องจากแต่ละจุดบนเส้นอุปสงค์ที่เป็นเส้น
ตรงจะมีค่าความยืดหยุ่นไม่เท่ากัน (แตกต่างจากความชัน)
 การเปรียบเทียบค่าความยืดหยุ่นของอุปสงค์สองเส้นจะทำได้ก็ต่อ
เมื่อเป็นการเปรียบเทียบ ณ ระดับราคาเดียวกัน

09/05/24 19
The Variety of Demand Curves

 Because the price elasticity of demand measures how


much quantity demanded responds to the price, it is
closely related to the slope of the demand curve.

09/05/24 20
Figure 1 The Price Elasticity of Demand

(a) Perfectly Inelastic Demand: Elasticity Equals 0

Price
Demand

$5

4
1. An
increase
in price . . .

0 100 Quantity

2. . . . leaves the quantity demanded unchanged.

09/05/24 21
Copyright©2003 Southwestern/Thomson Learning
Figure 1 The Price Elasticity of Demand

(b) Inelastic Demand: Elasticity Is Less Than 1

Price

$5

4
1. A 22% Demand
increase
in price . . .

0 90 100 Quantity

2. . . . leads to an 11% decrease in quantity demanded.

09/05/24 22
Figure 1 The Price Elasticity of Demand

(c) Unit Elastic Demand: Elasticity Equals 1


Price

$5

4
1. A 22% Demand
increase
in price . . .

0 80 100 Quantity

2. . . . leads to a 22% decrease in quantity demanded.

09/05/24 23
Copyright©2003 Southwestern/Thomson Learning
Figure 1 The Price Elasticity of Demand

(d) Elastic Demand: Elasticity Is Greater Than 1


Price

$5

4 Demand
1. A 22%
increase
in price . . .

0 50 100 Quantity

2. . . . leads to a 67% decrease in quantity demanded.

09/05/24 24
Figure 1 The Price Elasticity of Demand

(e) Perfectly Elastic Demand: Elasticity Equals Infinity


Price

1. At any price
above $4, quantity
demanded is zero.
$4 Demand

2. At exactly $4,
consumers will
buy any quantity.

0 Quantity
3. At a price below $4,
quantity demanded is infinite.

09/05/24 25
ค่าความยืดหยุ่นของอุปสงค์และความสัมพันธ์กับ
รายรับรวม
 รายรับ = ปริมาณขาย x ราคา
TR (Total Revenue) = PxQ
 การเปลี่ยนแปลงของ P จะก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงของ Q ส่งผลก
ระทบต่อ TR
 พิจารณาใน 2 กรณี
 กรณี P ลดลง
 กรณี P เพิ่มขึ้น

09/05/24 26
Figure 2 Total Revenue
Price

$4

P × Q = $400
P
(revenue) Demand

0 100 Quantity

09/05/24 Q 27
Copyright©2003 Southwestern/Thomson Learning
Elasticity and Total Revenue along a Linear Demand Curve
 With an inelastic demand curve, an increase in price leads
to a decrease in quantity that is proportionately smaller.
Thus, total revenue increases.

09/05/24 28
Figure 3 How Total Revenue Changes When Price Changes: Inelastic Demand

Price Price
An Increase in price from $1 … leads to an Increase in
to $3 … total revenue from $100 to
$240

$3

Revenue = $240
$1
Revenue = $100 Demand Demand

0 100 Quantity 0 80 Quantity

09/05/24 29
Copyright©2003 Southwestern/Thomson Learning
Elasticity and Total Revenue along a Linear Demand Curve
 With an elastic demand curve, an increase in the price leads to a
decrease in quantity demanded that is proportionately larger. Thus,
total revenue decreases.

09/05/24 30
Figure 4 How Total Revenue Changes When Price Changes: Elastic Demand

Price Price

An Increase in price from $4 … leads to an decrease in


to $5 … total revenue from $200 to
$100

$5

$4

Demand
Demand

Revenue = $200 Revenue = $100

0 50 Quantity 0 20 Quantity

09/05/24 31
Copyright©2003 Southwestern/Thomson Learning
กรณีที่ P ลดลง
(ส่งผลให้ปริมาณเสนอซื้อเพิ่มขึ้น)
 ถ้า |εP| > 1 อัตราการเพิ่มของ Q > อัตราการลดของ P TR เพิ่มขึ้น
 ถ้า |εP| = 1 อัตราการเพิ่มของ Q = อัตราการลดของ P TR เท่าเดิม
 ถ้า |εP| < 1 อัตราการเพิ่มของ Q < อัตราการลดของ P TR ลดลง
P P P

P1

09/05/24 Q Q Q 32
กรณีที่ P เพิ่มขึ้น
(ส่งผลให้ปริมาณเสนอซื้อลดลง)
 ถ้า |εP| > 1 อัตราการลดของ Q > อัตราการเพิ่มของ P TR ลดลง
 ถ้า |εP| = 1 อัตราการลดของ Q = อัตราการเพิ่มของ P TR เท่าเดิม
 ถ้า |εP| < 1 อัตราการลดของ Q < อัตราการเพิ่มของ P TR เพิ่มขึ้น
P P P

P1

09/05/24 Q Q Q 33
Elasticity of a Linear Demand Curve

09/05/24 34
Elasticity of Linear Demand Curve
P
 จุด A : |εP| = ∞
 ช่วงAC : |εP| > 1
A
ความยืดหยุ่นมาก  จุด C : |εP| = 1

C ความยืดหยุ่นคงที่
 ช่วงCB : |εP| < 1
P

ความยืดหยุ่นน้อย  จุด B : |εP| = 0

Q
Q B

09/05/24 35
การหาค่าความยืดหยุ่นของอุปสงค์โดยวิธีเรขาคณิต
P
 กำหนดให้ C เป็ นจุดกึ่งกลางของเส้น AB
 ความยืดหยุ่น ณ จุด C (จาก CA)
A Q = 0Q Q1 = 0
P = 0P P1 = 0A
P C

ΔQ P
0 Q B
Q
εP = ΔP
x
Q
09/05/24 36
การหาค่าความยืดหยุ่นของอุปสงค์โดยวิธีเรขาคณิต
ΔQ P
P
εP = ΔP
x
Q
A

= 0 – 0Q 0P
P C x
0A – 0P 0Q
-0P -QC -BC
0 Q B
Q = = =
AP AP CA
09/05/24 37
ปัจจัยที่มีส่วนกำหนดค่าความยืดหยุ่น
 Availability of Close Substitutes
 สินค้าที่หาแทนกันได้ง่าย ความยืดหยุ่นมีแนวโน้มสูง (เช่น เนย

กับ มาการีน) สินค้าที่หาทดอันอื่นทดแทนได้ยากก็จะมีความ


ยืดหยุ่นน้อย (เช่นไข่)
 Necessities versus Luxuries
 สินค้าจำเป็นมีแนวโน้มที่จะมีความยืดหยุ่นน้อยกว่าสินค้า

ฟุ่ มเฟื อย เช่นกรณีของการรักษาพยาบาล กับการล่องเรือใบ

09/05/24 38
ปัจจัยที่มีส่วนกำหนดค่าความยืดหยุ่น (ต่อ)
 Definition of the Market
 Narrowly defined markets tend to have more elastic demand

than broadly defined markets. Food – Ice cream – Vanilla


ice cream
 ร้อยละของรายได้ที่ผู้บริโภคได้ใช้จ่ายไปกับสินค้าแต่ละชนิด
 ถ้าผู้บริโภคใช้จ่ายเงินส่วนใหญ่ของรายได้ในการซื้อสินค้า

นั้นๆ ความยืดหยุ่นของอุปสงค์จะมีแนวโน้มค่อนข้างสูง

09/05/24 39
ปัจจัยที่มีส่วนกำหนดค่าความยืดหยุ่น (ต่อ)
 นิสัยหรือความเคยชินของผู้บริโภค
 สินค้าที่ผู้บริโภคมีความเคยชิน เช่น บุหรี่ สุรา มีความยืดหยุ่น

ต่ำเมื่อเทียบกับสินค้าอื่น
 ระยะเวลาในการปรับตัวของผู้บริโภค
 ถ้าผู้บริโภคมีเวลามากพอที่จะปรับตัวตามการเปลี่ยนแปลง

ของราคาสินค้า ปริมาณเสนอซื้อก็อาจเปลี่ยนแปลงไปได้มาก
ขึ้น เนื่องจากมีเวลาหาสินค้าอื่นมาทดแทน เช่น การใช้ไบโอ
ดีเซล แทนน้ำมันดีเซล

09/05/24 40
สรุปลักษณะความยืดหยุ่นของเส้นอุปสงค์
 อุปสงค์ไม่มีความยืดหยุ่นเลย (มีค่าเท่ากันทั้งเส้น)
 อุปสงค์มีความยืดหยุ่นน้อย
 อุปสงค์มีความยืดหยุ่นคงที่(มีค่าเท่ากันทั้งเส้น)
 อุปสงค์มีความยืดหยุ่นมาก
 อุปสงค์มีความยืดหยุ่นเป็นอนันต์ (มีค่าเท่ากันทั้งเส้น)

09/05/24 41
Other Demand Elasticities
 The income elasticity of demand
 Measure how quantity demanded change as consumer income
changes.
 The cross-price elasticity of demand
 Measure how the quantity demanded of one good changes as
the price of another good changes.

09/05/24 42
ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อรายได้
(Income elasticity of demand)
 เป็นค่าที่ใช้วัดเปอร์เซ็นต์การเปลี่ยนแปลงของปริมาณเสนอซื้อ ณ
ขณะใดขณะหนึ่ง ต่อเปอร์เซ็นต์การเปลี่ยนแปลงของรายได้ เมื่อ
กำหนดให้สิ่งอื่นๆคงที่
 เปอร์เซ็นต์การเปลี่ยนแปลงของปริมาณเสนอซื้อ
εi = เปอร์เซ็นต์การเปลี่ยนแปลงของรายได้

= % ΔQ
% ΔY
09/05/24 43
ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อรายได้
(Income elasticity of demand)
 แบบจุด
ΔQ Y
εi = ΔY
x
Q
 แบบช่วง
ΔQ
Y1 + Y
ε i = ΔY × Q + Q
1

09/05/24 44
ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อรายได้
(Income elasticity of demand)
 เครื่องหมาย
 ความยืดหยุ่นมีเครื่องหมายเป็นบวก แสดงว่าเป็นสินค้าปกติ
 ความยืดหยุ่นมีเครื่องหมายเป็นลบ แสดงว่าเป็นสินค้าด้อย
 ค่าความยืดหยุ่น
 ค่าความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อรายได้สูง (มากกว่า 1) : สินค้าฟุ่ มเฟื อย
 ค่าความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อรายได้ต่ำ (น้อยกว่า 1) : สินค้าจำเป็ น

09/05/24 45
ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อราคาสินค้าชนิดอื่น
(Cross elasticity of demand)
 เป็นค่าที่ใช้วัดเปอร์เซ็นต์การเปลี่ยนแปลงของปริมาณเสนอซื้อ
สินค้าชนิดหนึ่ง ณ ขณะใดขณะหนึ่ง ต่อเปอร์เซ็นต์การเปลี่ยนแปลง
ของราคาสินค้าชนิดอื่น เมื่อกำหนดให้สิ่งอื่นๆคงที่
εAB = เปอร์เซ็นต์การเปลี่ยนแปลงของปริมาณเสนอซื้อสินค้า A

เปอร์เซ็นต์การเปลี่ยนแปลงของราคาสินค้า B

= % ΔQ A
% ΔPB
09/05/24 46
ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อราคาสินค้าชนิดอื่น
(Cross elasticity of demand)
 แบบจุด
ΔQ A PB
εAB = x
ΔPB QA
 แบบช่วง
ΔQ A PB1 + PB
εAB = ×
ΔPB QA1 + QA

09/05/24 47
ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อราคาสินค้าชนิดอื่น
(Cross elasticity of demand)
 เครื่องหมาย
 ความยืดหยุ่นมีเครื่องหมายเป็นบวก
แสดงว่าสินค้าทั้งสองชนิดใช้แทนกันได้
 ความยืดหยุ่นมีเครื่องหมายเป็นลบ
แสดงว่าสินค้าทั้งสองชนิดเป็นสินค้าที่ใช้ประกอบกัน

09/05/24 48
ความยืดหยุ่นของอุปทาน
 ค่าที่บอกให้รู้ถึงความมากน้อยของการเปลี่ยนแปลงของปริมาณ
เสนอขาย เมื่อเกิดการเปลี่ยนแปลงของราคาสินค้า
 การเปลี่ยนแปลงของราคาสินค้า และการเปลี่ยนแปลงของปริมาณ
เสนอขาย จะเป็นไปในทิศทางเดียวกัน
 ดังนั้น ค่าความยืดหยุ่นจะมีเครื่องหมายเป็นบวก

09/05/24 49
ความยืดหยุ่นของอุปทาน
(Elasticity of supply)

เปอร์เซ็นต์การเปลี่ยนแปลงของปริมาณเสนอขาย
εs = เปอร์เซ็นต์การเปลี่ยนแปลงของราคาสินค้า

= % ΔQ
% ΔP

09/05/24 50
ความยืดหยุ่นของอุปทานตรงจุด
(Point elasticity of supply)

จำนวนการเปลี่ยนแปลงของปริมาณเสนอขาย
X 100
ปริมาณเสนอขายแต่เริ่มแรก
εs =
จำนวนการเปลี่ยนแปลงของราคาสินค้า
X 100
ราคาสินค้าแต่เริ่มแรก

09/05/24 51
ความยืดหยุ่นของอุปทานแบบจุด
(Point elasticity of supply)
 Q ปริมาณเสนอขายเดิม
% ΔQ  Q1 ปริมาณเสนอขายใหม่
εs =
 P ราคาสินค้าเดิม
% ΔP  P1 ราคาสินค้าใหม่

Q1 - Q
X 100
ΔQ P
= Q = x
P1 - P ΔP Q
X 100
09/05/24 P 52
ความยืดหยุ่นของอุปทานแบบช่วง
(Arc elasticity of supply)
Q1 – Q ΔQ
(Q 1 + Q ) Q1 + Q
εs = 2 =
P1 – P ΔP
(P1 + P) P1 + P
2
= ΔQ x P1 + P
ΔP Q1 + Q
09/05/24 53
การพิจารณาค่าของความยืดหยุ่นของอุปทาน
 εs มากกว่า 1 : ความยืดหยุ่นของอุปทานค่อนข้างสูง
 εs น้อยกว่า 1 : ความยืดหยุ่นของอุปทานค่อนข้างต่ำ

09/05/24 54
ค่าความยืดหยุ่นกับลักษณะของเส้นอุปทาน
 อุปสงค์ : ความยืดหยุ่นบนเส้นอุปสงค์เส้นหนึ่งๆ จะมีค่าไม่เท่ากัน
ในแต่ละจุด โดยมีความยืดหยุ่นตั้งแต่ ∞, มากกว่า 1, เท่ากับ 1,
น้อยกว่า 1, เท่ากับ 0
 อุปทาน : ความยืดหยุ่นบนเส้นอุปทานเส้นหนึ่งๆ จะมีค่าไม่เท่ากัน
ในแต่ละจุด (เช่นเดียวกับอุปสงค์) แต่ค่าความยืดหยุ่นจะมีลักษณะ
เดียวกันตลอดทั้งเส้น คือ
 ถ้าอุปทานมีค่ามากกว่า 1 ก็จะมีค่ามากกว่า 1 ตลอดทั้งเส้น
 ถ้าอุปทานมีค่าน้อยกว่า 1 ก็จะมีค่าน้อยกว่า 1 ตลอดทั้งเส้น

09/05/24 55
กรณีอุปทานเป็นเส้นตรงตัดแกนตั้ง :
εs มากกว่า 1 เสมอ
P  การเปลี่ยนแปลงราคาจาก OP เป็น OP1
 εs = ΔQ × P
S ΔP Q
P = -OQ × OP
-PP1 OQ
P1 = OP
PP1
O Q Q
09/05/24 56
กรณีอุปทานเป็นเส้นตรงตัดแกนนอน :
εs น้อยกว่า 1 เสมอ
P  การเปลี่ยนแปลงราคาจาก OP เป็น O
S  εs = ΔQ × P
ΔP Q
P = -QQ1 × OP
-OP OQ
= QQ1
OQ
O Q1 Q Q
09/05/24 57
กรณีอุปทานเป็นเส้นตรงตัดออกจากจุดกำเนิด :
εs มีค่าเท่ากับ 1 เสมอ
P  การเปลี่ยนแปลงราคาจาก OP เป็น O
S  εs = OP = 1
PP1
P = QQ1 = 1
OQ

O = Q1 = P1 Q Q
09/05/24 58
กรณีอุปทานเป็นเส้นโค้ง
εs < 1
P
S
εs = 1
εs > 1

O Q Q
09/05/24 59
ลักษณะเส้นอุปทานที่มีความยืดหยุ่นเท่ากันทั้งเส้น
 ความยืดหยุ่น เท่ากับ 0
 ความยืดหยุ่น เท่ากับ ∞
 ความยืดหยุ่น เท่ากับ 1
P P P
S
S

0 Q Q Q
09/05/24 60
ปัจจัยที่มีส่วนกำหนดค่าความยืดหยุ่นของอุปทาน
 ระยะเวลาที่ใช้ในการผลิตสินค้า
 สินค้าเกษตร (ใช้เวลาผลิตนาน) มีความยืดหยุ่นต่ำเมื่อเทียบกับสินค้า
อุตสาหกรรม (ใช้เวลาผลิตน้อย)
 ความยากง่ายในการหาปัจจัยการผลิต
 การผลิตที่ใช้ปัจจัยการผลิตที่หาได้ยาก จะมีความยืดหยุ่นต่ำกว่าการผลิตที่
ใช้ปัจจัยการผลิตที่หาได้ง่าย เช่น รูปปั้นโดยปฏิมากรมืออาชีพ อุปทานมี
ความยืดหยุ่นต่ำ

09/05/24 61
ปัจจัยที่มีส่วนกำหนดค่าความยืดหยุ่นของอุปทาน
(ต่อ)
 ความยากง่ายในการเข้าออกจากอุตสาหกรรมของผู้ผลิต
 การเข้าในอุตสาหกรรมได้ง่าย จะทำให้อุปทานมีความยืดหยุ่นสูงกว่าการ
เข้าในอุตสาหกรรมได้ยาก
 ระยะเวลาของการพิจารณา
 การพิจารณาในระยะสั้น (ปัจจัยการผลิตบางชนิดคงที่) จะมีค่าความ
ยืดหยุ่นต่ำกว่าเมื่อพิจารณาในระยะยาว (ปัจจัยการผลิตทุกชนิด
เปลี่ยนแปลงได้)

09/05/24 62
APPLICATION of ELASTICITY
 Can good news for farming be bad news for farmers?
 What happens to wheat farmers and the market for wheat
when university agronomists discover a new wheat hybrid
that is more productive than existing varieties?

09/05/24 63
THE APPLICATION OF SUPPLY, DEMAND, AND
ELASTICITY
 Examine whether the supply or demand curve shifts.
 Determine the direction of the shift of the curve.
 Use the supply-and-demand diagram to see how the market
equilibrium changes.

09/05/24 64
Figure 8 An Increase in Supply in the Market for Wheat

Price of
Wheat 1. When demand is inelastic,
2. . . . leads an increase in supply . . .
to a large fall S1
in price . . . S2

$3

Demand

0 100 110 Quantity of


Wheat
3. . . . and a proportionately smaller
increase in quantity sold. As a result,
revenue falls from $300 to $220.
09/05/24 65
Copyright©2003 Southwestern/Thomson Learning
ประโยชน์ที่ได้รับจากการรู้ค่าความยืดหยุ่น
 รัฐต้องการเก็บภาษีต่อหน่วยของสินค้าเพื่อจัดหารายได้
 การเก็บภาษีจะทำให้ระดับราคาสินค้าสูงขึ้น และส่งผลให้ปริมาณเสนอ
ซื้อลดลง
 εP สูง จะเก็บภาษีได้น้อย และ εP ต่ำ จะเก็บภาษีได้มาก เนื่องจาก
 εP สูง : อัตราการเพิ่มของ P น้อยกว่าอัตราการลดของ Q
 εP ต่ำ : อัตราการเพิ่มของ P มากกว่าอัตราการลดของ Q

09/05/24 66
ประโยชน์ที่ได้รับจากการรู้ค่าความยืดหยุ่น (ต่อ)
 การขอขึ้นค่าแรงของสหภาพแรงงาน
 การขึ้นค่าแรง จะส่งผลให้ผู้จ้างลดการจ้างงานลง

 พิจารณาอำนาจการต่อรองของสหภาพแรงงาน จะเห็นว่า

εP สูง สหภาพแรงงานจะมีอำนาจการต่อรองต่ำ และ


εP ต่ำ สหภาพแรงงานจะมีอำนาจการต่อรองสูง เนื่องจาก
 εP สูง : อัตราการเพิ่มของ W น้อยกว่าอัตราการลดจำนวนการจ้างงาน
 εP ต่ำ : อัตราการเพิ่มของ W มากกว่าอัตราการลดจำนวนการจ้างงาน

09/05/24 67

You might also like