Article 20160531112812

You might also like

Download as pptx, pdf, or txt
Download as pptx, pdf, or txt
You are on page 1of 23

เงิน

สวัสดิการ
การศึกษา
บุตร
ที่มา

ระเบียบกระทรวงการคลังว่า
ด้วยการเบิกจ่ายเงินสวัสดิการ
เกี่ยวกับการศึกษาของบุตร
พ.ศ. 2551 และที่แก้ไขเพิ่มเติม
พระราชกฤษฎีกาเงิน
สวัสดิการเกี่ยวกับการศึกษา
ของบุตร พ.ศ. 2523 และที่
แก้ไขเพิ่มเติม
ผู้มีสิทธิได้รับเงินสวัสดิการการศึกษาของ
บุตร

 ข้าราชการ ลูกจ้างประจำ
ยกเว้น ข้าราชการการเมือง
ข้าราชการตำรวจอยู่ในระหว่างเข้า
รับการอบรมในสถานศึกษาของกรม
ตำรวจก่อนเข้า ปฏิบัติหน้าที่ราชการ
ประจำ

 ผู้ได้รับบำนาญปกติ ผู้ได้รับ
บำนาญพิเศษเหตุทุพพลภาพ
ทหารกองหนุนมีเบี้ยหวัด
บุตรของผู้มีสิทธิที่มี
สิทธิได้รับเงินสวัสดิการ
การศึกษาบุตร
 บุตรโดยชอบด้วยกฎหมาย
 ลำดับที่ 1-3 ยกเว้นบุตรแฝด
 ลำลับที่ 1 ถึงคนสุดท้าย
 อายุครบ 3 ปีบริบูรณ์ แต่ไม่เกิน
25 ปีบริบูรณ์

ยกเว้น
บุตรบุญธรรม
บุตรซึ่งบิดามารดายกให้เป็ นบุตร
บุญธรรม
 การแทนที่บุตรคนใดคน
หนึ่ง

 ตาย
 กายพิการจนไม่สามารถเล่าเรียนได้
 เป็ นคนไร้ความสามารถ
 เป็ นคนเสมือนไร้ความสามารถ
 วิกลจริต
 จิตฟั่นเฟือนไม่สมประกอบก่อนอายุ
ครบ 25 ปี
หลักเกณฑ์ประเภทและอัตรา
การจ่ายเงินสวัสดิการเกี่ยวกับ
การศึกษาบุตร

1. ศึกษาในสถานศึกษาของทาง
ราชการ หลักสูตรไม่สูงกว่าอนุปริญญา
หรือเทียบเท่าและเป็ นหลักสูตรแยก
ต่างหากจากหลักสูตรปริญญาตรี ให้ได้
รับเงินบำรุงการศึกษาเต็มจำนวนที่ได้
จ่ายจริง ทั้งนี้ไม่เกินประเภทและอัตรา
ที่กระทรวงการคลังกำหนด
ระดับอนุบาลจนถึงระดับ
มัธยมศึกษาตอนปลาย
ประกอบด้วยรายการค่าใช้จ่าย ดังนี้

ค่าสอนคอมพิวเตอร์ กรณีโรงเรียน
จัดให้เกินมาตรฐานที่รัฐจัดให้
ห้องเรียนพิเศษ EP (English
Program)
ห้องเรียนพิเศษ MEP (Mini
English Program)
ห้องเรียนพิเศษด้านภาษาต่าง
ประเทศ ด้านวิชาการและด้านอื่นๆ
ค่าจ้างครูชาวต่างประเทศ
ค่าจ้างครูที่มีความเชี่ยวชาญใน
สาขาเฉพาะ
2. ศึกษาในสถานศึกษาของทางราชการ
หลักสูตรระดับปริญญาตรีให้ได้รับเงินบำรุงการ
ศึกษา เต็มจำนวนที่ได้จ่ายไปจริง ทั้งนี้ไม่เกิน
ประเภทและอัตราที่กระทรวงการคลังกำหนด
ยกเว้น ค่าปรับต่างๆ ค่าลงทะเบียนล่าช้า การลง
ทะเบียนเรียนซ้ำ เพื่อปรับผลการเรียน (รีเกรด)
ค่าประกันอุบัติเหตุ ค่าประกันของเสียหาย ค่า
หอพัก ค่าอาหาร ค่าซักรีด และค่ารักษา
สถานภาพการเป็ นนักศึกษา

3. ศึกษาในสถานศึกษาของเอกชนหลักสูตร
ระดับไม่สูงกว่ามัธยมศึกษาตอนปลายหรือเทียบ
เท่า ให้ได้รับค่าเล่าเรียนเต็มจำนวนที่ได้จ่ายไป
จริง ทั้งนี้ให้เป็ นไปตามประเภทและไม่เกินอัตรา
ที่กระทรวงการคลังกำหนด
4. ศึกษาในสถานศึกษาของเอกชน
หลักสูตรสูงกว่ามัธยมศึกษาตอนปลายหรือ
เทียบเท่าแต่ไม่สูงกว่าอนุปริญญาหรือเทียบ
เท่าและหลักสูตรแยกต่างหากจากหลักสูตร
ปริญญาตรีให้ได้รับเงินค่าเล่าเรียน ครึ่งหนึ่ง
ของจำนวนที่ได้จ่ายจริงตามประเภทและไม่
เกินอัตราที่กระทรวงการคลังกำหนด

5. การศึกษาในสถานศึกษาของเอกชน
หลักสูตร ปริญญาตรี ให้ได้รับเงินค่าเล่าเรียน
ครึ่งหนึ่ง ของจำนวนที่ได้รับจ่ายไปจริงตาม
ประเภทและไม่เกินอัตราที่กระทรวงการคลัง
กำหนด
การเบิกจ่ายค่าเล่าเรียน
ระดับปริญญาตรี
ตามหนังสือกรมบัญชีกลาง ด่วน
ที่สุด ที่ กค 0409.5/ว 15 ลงวันที่ 13
มกราคม 2549 และด่วนที่สุด ที่ กค
0422.3/ว 271 ลงวันที่ 7 สิงหาคม
2551

1. สถานศึกษาทางราชการ
เบิกได้เท่าที่จ่ายจริงไม่เกินการ
ศึกษาละ 20,000 บาท
ถ้าเป็ นสถานศึกษาของเอกชน ให้
เบิกได้ครึ่งหนึ่งของที่จ่ายจริงไม่
เกินปีการศึกษาละ 20,000 บาท
2. มีสิทธิเบิกได้โดยไม่ต้อง
แบ่งเป็ นรายภาคเรียน เช่น
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์เรียกเก็บค่า
ธรรมเนียมการศึกษาในภาคเรียนที่ 1
จำนวน 12,500 บาทถ้ารายการที่เรียก
เก็บเป็ นไปตามที่มหาวิทยาลัยได้รับ
อนุมัติให้เรียกเก็บผู้มีสิทธิก็สามารถ
เบิกได้เต็มจำนวนคือ 12,500 บาท
และจะมีสิทธิเบิกในภาคเรียนที่ 2
เพียง 7,500 บาท เท่านั้น

3. บุตรที่ได้รับทุนการศึกษา
แบบให้เปล่า โดยไม่ต้องเสียค่าใช้
จ่ายๆ ก็ไม่มีสิทธิเบิก แต่ถ้าเป็ นการกู้
ยืมเพื่อการศึกษาจากกองทุนเงินให้
ยืมเพื่อการศึกษา (กยศ.) ให้อยู่ใน
4. บุตรอายุครบ 25 ปี บริบูรณ์ใน
กลางภาคเรียนใด ก็ให้มีสิทธิเบิกค่าเล่า
เรียนได้ในภาคเรียนนั้นๆ เช่น บุตรอายุ
ครบ 25 ปี บริบูรณ์ ในวันที่ 25 กรกฎาคม
2553 ซึ่งอยู่ในช่วงของภาคเรียนที่ 1/2553
ผู้มีสิทธิก็สามารถนำใบเสร็จค่าเล่าเรียน
ของบุตรในภาคเรียนที่ 1/2553 มาเบิกค่า
เล่าเรียนได้

5. ถ้าในปี การศึกษาเดียวกันแต่
เรียน 2 แห่ง เช่นมหาวิทยาลัย
ธรรมศาสตร์และมหาวิทยาลัยรามคำแหง
ผู้มีสิทธิมีสิทธิเบิกค่าเล่าเรียนบุตรได้
เพียงแห่งเดียวเท่านั้น
ต่อ
6. ถ้าบุตรที่ศึกษาในระดับ
ปริญญาตรี ได้สำเร็จการศึกษาแล้ว
ในปีการศึกษา 2547 (ก่อนที่จะใช้
สิทธิเบิก) ต่อมาในปีการศึกษา
2548 ได้ศึกษาเพิ่มเติมในระดับ
ปริญญาตรีสาขาอื่นอีก ผู้มีสิทธิก็
สามารถนำใบเสร็จค่าเล่าเรียนดัง
กล่าวมาเบิกจากทางราชการได้
เพราะถือว่าเป็ นหลักสูตรที่มีการใช้
สิทธิเบิก (จนกว่าบุตรอายุจะครบ
25 ปี บริบูรณ์)
การยื่นแบบขอเบิกค่าการ
ศึกษาบุตร
การยื่นใบเบิกเงิน (แบบ 7223) พร้อม
หลักฐานการจ่าย (ใบเสร็จรับเงิน/ใบ
แจ้งการชำระเงิน) ต่อผู้รับรองสิทธิ ณ
ส่วนราชการเจ้าสังกัด หรือส่วน
ราชการผู้เบิกบำนาญ/เบี้ยหวัด
(ข้าราชการบำนาญ)

กรณีที่ได้รับคำสั่งให้ไปช่วยปฏิบัติ
ราชการ ให้ยื่นใบเบิกเงิน พร้อมหลัก
ฐานการจ่าย ณ ส่วนราชการที่ไปช่วย
ปฏิบัติราชการ โดยต้องมีหนังสือ
แสดงเจตนา (แบบ 7221) ยื่นส่วน
ราชการที่ไปช่วยปฏิบัติราชการก่อน
การใช้สิทธิ เมื่อส่วนราชการนั้นได้รับ
หนังสือและให้สำเนาส่งให้ส่วน
กรณีผู้มีสิทธิเป็ นผู้รับบำนาญ/เบี้ยหวัด
ถึงแก่กรรมก่อนที่จะใช้สิทธิให้ยื่นใบเบิก
เงินพร้อมหลักฐานการจ่าย ณ ส่วนราชการ
ผู้เบิกบำนาญ /เบี้ยหวัด หรือ ณ สำนักงานที่
รับราชการครั้งสุดท้าย

กรณีสามีภรรยา เป็ นผู้มีสิทธิทั้งสองฝ่ าย


ให้เลือกว่าฝ่ ายใดเป็ นผู้มีสิทธิเบิกโดยให้ผู้
มีสิทธิต้องรับรองในใบเบิกเงินว่า “เป็ นผู้ใช้
สิทธิแต่เพียงผู้เดียว” หากคู่สมรสอยู่ต่าง
ส่วนราชการกัน หรือมีการเปลี่ยนแปลง
หน่วยงานผู้ใช้สิทธิเบิกให้ฝ่ ายที่เป็ นผู้ใช้
สิทธิทำหนังสือตามแบบ 7125 แจ้งการ
เปลี่ยนแปลงให้แก่หน่วยงานของอีกฝ่ าย
หนึ่งทราบด้วย
กรณีคู่สมรสของผู้มีสิทธิปฏิบัติงาน
ออยู่หน่วยงานอื่น และผู้มีสิทธิจะ
ใช้สิทธิเบิกเฉพาะส่วนที่ขาด ให้
แนบหนังสือรับรองการเบิกค่าเล่า
เรียนบุตรของหน่วยงานนั้นพร้อม
กับใบเบิกเงินของผู้มีสิทธิด้วย
ผู้มีสิทธิไม่สามารถยื่น
แบบ
ขอเบิกฯ ด้วยตนเอง
 กรณีถึงแก่กรรม ให้ทายาทตาม
กฎหมาย/ผู้จัดการมกดกเป็ นผู้ยื่นแบบ
ขอเบิก
 กรณีมีสติสัมปชัญญะแต่ไม่สามารถลง
ลายมือชื่อได้ให้พิมพ์ลายนิ้วมือแทน
โดยมีพยานสองคนลงลายมือชื่อ และ
ให้บุคคลในครอบครัวเป็ นผู้ยื่น
 กรณีไม่รู้สึกตัว แต่ศาลยังไม่ได้สั่งให้
เป็ นผู้ไร้ความสามารถให้บุคคลใน
ครอบครัวเป็ นผู้ยื่นพร้อมกับหนังสือ
รับรองจากแพทย์ที่ทำการรักษา ถ้า
ไม่มีให้อยู่ในดุลพินิจของผู้บังคับ
บัญชาว่าให้ผู้ใดดำเนินการแทน
ผู้มีสิทธิ ผู้บังคับ
บัญชา

ภายใน 1 ปี นับแต่วันเปิดภาคเนียน
แต่ละภาค
กรณีเรียกเก็บเงินเป็ นราย
ภาคเรียน
ภายใน 1 ปี นับแต่วันปิดภาคเรียน
ภาคต้นของปี
การศึกษา กรณีที่เรียก
เก็บเงินค่า
การศึกษาครั้งเดียวตลอด
ปี
เว้นแต่
1. ผู้มีสิทธิถูกสั่งพักข้าราชการหรือ
ถูกสั่งให้ออกจากราชการไว้
ก่อน และปรากฏภายหลังว่าได้
รับเงินมรระหว่างนั้น ให้ผู้มีสิทธิ
ยื่นเบิกภายใน 1 ปี นับแต่วันที่
กรณีถึงที่สุด
2. ผู้มีสิทธิมีความจำเป็ นต้องขอ
ผ่อนผันต่อสถานศึกษาในการ
ชำระเงินล่าช้าให้ผู้มีสิทธิยื่น
เบิกภายใน 30 วัน นับแต่วันที่
ออกหลักฐานการรับเงินของ
สถานศึกษา
เอกสารหลักฐานที่ใช้ประกอบการ
เบิกเงินสวัสดิการการศึกษาบุตร

 กรณีบุตรศึกษาในสถานศึกษา
ของทางราชการ
1. ใบเบิกเงินสวัสดิการการศึกษา
(แบบ 7223) โดยผู้สิทธิต้องกรกอก
แบบฟอร์มให้ครบถ้วนทุกรายการ

2. ใบเสร็จรับเงินของสถานศึกษาที่
แสดงรายการชื่อ/ที่อยู่ของสถาน
ศึกษา วัน เดือน ปีที่รับเงิน ชื่อ-สกุล
นักเรียน ประจำปีการศึกษา รายการรับ
เงิน ระบุว่าเป็ นค่าอะไร จำนวนทั้ง
ตัวเลขและตัวอักษร และรายมือชื่อ
ผู้รับเงิน
ต่อ
3. ข้อบังคับหรือประกาศของสถาน
ศึกษาให้เรียกเก็บเงินตามรายการที่
ได้รับอนุญาตให้เรียกเก็บ

กรณีที่สถานศึกษามีข้อตกลงกับ
ธนาคารในการรับชำระเงินค่าบำรุง
การศึกษาหรือค่าเล่าเรียนให้ใช้ใบ
แจ้งการชำระเงินและหรือใบเสร็จรับ
เงินของสถานศึกษา ซึ่งมีรายการใน
สาระสำคัญที่สามารถควบคุมและ
ตรวจสอบการใช้สิทธิเบิกเงิน
สวัสดิการเป็ นหลักฐานการรับเงินของ
สถานศึกษา
 กรณีบุตรศึกษาในสถานศึกษา
เอกชนให้แนบหลักฐาน ดังนี้

1. เบิกเงินสวัสดิการการศึกษาบุตร
(แบบ 7223) โดยผู้มีสิทธิต้อง
กรอกแบบฟอร์มให้ครบถ้วนทุก
รายการ
2. ใบเสร็จรับเงินของสถานศึกษา ที่
แสดงรายการชื่อ/ที่อยู่ของสถาน
ศึกษา วัน เดือน ปีที่รับเงิน ชื่อ-
สกุลนักเรียน ประจำปีการศึกษา
ภาคการศึกษากรายการรับเงิน
3. ใบอนุญาตเก็บค่าธรรมเนียมของ
สถานศึกษา
ความเหมือนและความแตกต่าง
ระหว่างการเบิกค่ารักษาพยาบาล
บุตร กับ
ค่าเล่าเรียน
ค่ารักษาพยาบาล ค่าเล่าเรียน
1. เบิกได้ตั้งแต่เกิดจนถึงบรรลุนิติ 1. เบิกได้ตั้งแต่อายุครบ 3 ปี บริ
กาวะ หมายถึง อายุครบ 20 ปี บริ บูรณ์ จนถึงอายุครบ 25 ปี บริบูรณ์
บูรณ์ หรือจากการจดทะเบียน (ไม่ว่าบุตรจะทำงานแล้วหรือจด
สมรส ทะเบียนสมรสแล้วก็ตาม)
2. มีสิทธินำบุตรมาเบิกได้ไม่เกิน 3 2. เหมือนกัน
คน ไม่ว่าจะเป็ นบุตรที่เกิดจากการ
สมรสครั้งใด
3. ต้องเป็ นบุตรที่ชอบด้วย 3. เหมือนกัน
กฎหมาย
4 ยื่นแบบ 7105 เพื่อขอเบิกได้ 4. ยื่นแบบ 7223 เพื่อขอเบิก
ภายใน 1 ปี นับจากวันที่ในใบเสร็จ ภายใน 1 ปี นับแต่วันเปิดภาคเรียน
รับเงินค่ารักษาพยาบาล แต่ละภาคหรือกรณีที่จ่ายปี ละครั้ง
ก็ให้ยื่นภายใน 1 ปี นับแต่วันเปิด
ภาคเรียนแรก ถ้าเกินกำหนดก็
หมดสิทธิเบิก
เว้นแต่ กรณีผ่อนผันขอชำระล่าช้า
ให้ยื่นแบบ 7223 เพื่อขอเบิก
ภายใน 30 วัน นับแต่วันที่จ่ายเงิน
5. การรับรองการมีสิทธิ : 5. การรับรองการมีสิทธิ:
- สำนัก/กอง/สคร.1 (ส่วนกลาง) - สำนัก/กอง/สคร.1 (ส่วนกลาง)
ให้ผู้อำนวยการหรือมอบหมายให้ ให้ผู้อำนวยการ หรือมอบหมายให้
ข้าราชการไม่ต่ำกว่าระดับ 6 เป็ น ข้าราชการไม่ต่ำกว่าระดับ 6 เป็ น
ผู้รับรอง ผู้รับรอง
- สคร.2 -12 ให้ผู้อำนวยการ สคร. - สคร.2 -12 ให้ผู้อำนวยการ สคร.
เป็ นผู้รับรอง เป็ นผู้รับรอง
- ข้าราชการระดับ 8 ขึ้นไปรับรอง - ข้าราชการระดับ 5 ขึ้นไปรับรอง
สิทธิของตนเอง สิทธิของตนเอง

You might also like