POL6300 ครั้งที่ 3 - 4

You might also like

Download as pptx, pdf, or txt
Download as pptx, pdf, or txt
You are on page 1of 42

กำเนิดระบบราชการ

1
2
ตัวอย่างระบบราชการในสมัยแรก
•ระบบสืบสายเลือด - ใช้ชาติกำเนิด
•ระบบอุปถัมภ์ - ใช้ความสัมพันธ์ส่วนบุคคล
•ระบบประชาธิปไตยแบบกรีกโบราณ – ใช้ความนิยม
Plato Aristotle Socrates –
Philosopher – นักปราชญ์
Sophist - นักปราชญ์ปลอม
3
4
5
6
ปัญหาของระบบราชการในสมัยแรก
•ระบบการทำงานขาดความแน่นอน (1-3)
•คนขาดความรู้ความสามารถ (4-6)
•การทุจริต คอรัปชั่น (7)

7
ทฤษฎียุคดั้งเดิม

8
ทฤษฎียุคดั้งเดิม
1. การบริหารแยกจากการเมือง
2. ระบบราชการในอุดมคติ
3. วิทยาศาสตร์การจัดการ
4. หลักการบริหาร

9
Woodrow Wilson

1. การบริหารแยกจากการเมือง

10
แนวคิดการบริหารแยกจากการเมือง
•บทความ The Study of Administration (1887)
•หน้าที่ของภาครัฐมี 2 หน้าที่ คือ หน้าที่เกี่ยวกับการเมือง
และหน้าที่เกี่ยวกับการบริหาร
 การเมือง (Politic) - การกำหนดนโยบาย
 การบริหาร (Administration) - การนำนโยบายไปปฏิบัติ
•การบริหารควรปลอดจากการแทรกแซงทางการเมือง
•การศึกษาการบริหารในฐานะของ “ศาสตร์”
ศาสตร์ (Science) – ข้อเท็จจริงหรือกฎที่จัดไว้อย่างเป็น
ระบบ ตามหลักเหตุและผล
ศิลป์ (Art) - การประยุกต์เอาความรู้ไปใช้ให้เหมาะสมกับ
สถานการณ์

12
นักคิดที่มีความคิดใกล้เคียงกัน
• Frank J. Goodnow ใน Politics and Administration
• Leonard D. White ใน Introduction to the study of Public
Administration

13
Max Weber

2. ระบบราชการในอุดมคติ
(Ideal Type of Bureaucracy)

14
•ระบบราชการ = กระทรวง ทบวง
กรม หน่วยงานของรัฐอื่นๆ

•แนวคิดระบบราชการใน
อุดมคติ = รูปแบบการบริหาร
15
แนวคิดระบบราชการในอุดมคติ
• อำนาจ
• ระบบราชการในอุดมคติ
• ข้อดีของระบบราชการในอุดมคติ

16
อำนาจ
ความสามารถในการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมของผู้อื่น
• อำนาจเฉพาะตัว (Charismatic Domination)
• อำนาจตามประเพณี (Traditional Domination)
• อำนาจตามกฎหมาย (Legal Domination)

17
หลักการของระบบราชการในอุดมคติ
ระบบการทำงานที่เหนือกว่ารูปแบบอื่นๆ
1. การบังคับบัญชาตามลำดับขั้น
2. อำนาจและหน้าที่ขึ้นอยู่กับตำแหน่ง
3. มีกฎระเบียบที่เป็นลายลักษณ์อักษร
18
หลักการของระบบราชการในอุดมคติ
4. คัดเลือกข้าราชการตามความสามารถ
5. ข้าราชการเป็นวิชาชีพและมีความมั่นคงถาวร
6. ระบบราชการแข็งแกร่ง เปลี่ยนแปลงยาก
7. ข้าราชการวางตัวเป็นกลาง
19
การบังคับบัญชาตามลำดับขั้น

20
อำนาจและหน้าที่ขึ้นอยู่กับตำแหน่ง

21
มีกฎระเบียบที่เป็นลายลักษณ์อักษร

22
คัดเลือกข้าราชการตามความสามารถ

23
ข้าราชการเป็นวิชาชีพและมีความมั่นคงถาวร

24
ระบบราชการแข็งแกร่ง เปลี่ยนแปลงยาก

25
ข้าราชการวางตัวเป็นกลาง

26
ข้อดีของระบบราชการแบบดั้งเดิม
• เปรียบเสมือนการผลิตที่ใช้เครื่องจักร มี
ประสิทธิภาพ แม่นยำ ถูกต้อง ต่อเนื่อง
รวดเร็ว แน่ชัด
• สามารถระบุข้อผิดพลาดและผู้รับผิด
ชอบได้
• มีการพัฒนาและสั่งสมของความรู้
27
28
ตัวอย่าง
1. สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ (พ.ศ.1991)
•จัดตั้งจตุสดมภ์ คือ เวียง วัง คลัง นา
•เจ้าพระยาดำรงตำแหน่งเสนาบดี ควบคุม
จตุสดมภ์
29
2. สมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (พ.ศ.2435)
•จัดตั้งที่ปรึกษาราชการแผ่นดิน สภาองคมนตรี พิจารณา
การออกกฎหมาย
•จัดตั้งหอรัษฎากรพิพัฒน์ ควบคุมการคลังและการเก็บภาษี
•ยกเลิกจตุสดมภ์ จัดตั้งเป็น 12 กระทรวงใหม่
30
3. สมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว (พ.ศ.2471)
นำ “ระบบคุณธรรม” มาใช้ในการบริหารงานบุคคล
• หลักความสามารถ
• หลักความมั่นคง
• หลักความเป็นกลางทางการเมือง

31
ประกาศใช้พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน
พ.ศ.2476
•ยกเลิกยศและขั้น ให้มีเฉพาะตำแหน่งข้าราชการพลเรือน
•กำหนดประเภทข้าราชการพลเรือน เป็น 5 ประเภท
•กำหนดอัตราเงินเดือนขั้นต่ำและขั้นสูงตามตำแหน่ง
หน้าที่และความรับผิดชอบ
•ตั้งคณะกรรมการข้าราชการพลเรือน (ก.พ.)
32
Frederick W. Taylor

3. วิทยาศาสตร์การจัดการ
(Scientific Management)

33
หลักความเคยชิน
เป็นหลักที่มักใช้กันอยู่ในขณะนั้น (1911)
• ให้อิสระกับฝ่ ายปฏิบัติในการเลือกวิธีทำงาน
• คนทั่วไปมีแนวโน้มที่จะขี้เกียจ และ “อู้งานกันเป็นทีม”
• คนใหม่จำเป็นต้องปรับตัวให้เข้ากับคนเก่า

34
หลักวิทยาศาสตร์การจัดการ
• ใช้หลักวิทยาศาสตร์ในการสร้างหลักการทำงาน รวมถึง
การคัดเลือกและพัฒนาคน
• เน้นประสิทธิภาพ (ต้นทุนต่ำ ผลผลิตสูง)
• สร้างความร่วมมือระหว่างฝ่ ายจัดการและคนงาน

35
ตัวอย่าง : Time and Motion Study
• ประเภท น้ำหนักของอุปกรณ์ที่ใช้
• ขั้นตอนและรายละเอียดการทำงาน
• การเคลื่อนไหวร่างกายของคนงาน
• ช่วงเวลาหยุดพัก

36
37
Luther H. Gulick

4. หลักการบริหาร
(Principle of Administration)

38
หลักการจัดโครงสร้างอำนาจในองค์การ
1. หลักขอบข่ายการควบคุม (Span of Control) - หัวหน้าคน
หนึ่งดูแลลูกน้องได้จำกัด
2. หลักเอกภาพการควบคุม (Unity of Command) - ลูกน้องคน
หนึ่งต้องไม่หัวหน้าหลายคน
3. หลักการจัดหมวดหมู่ตามความกลมกลืน (Principle of
Homogeneity) - จัดคนและงานที่คล้ายกันเข้าด้วยกัน เพื่อให้
เกิดประสิทธิภาพ 39
หลักหน้าที่ของหัวหน้า (POSDCORB)
1. การวางแผน (Planning) - กำหนดเป้ าหมายและ
วิธีการ
2. การจัดองค์การ (Organizing) - จัดโครงสร้าง
3. การบรรจุ (Staffing) - บริหารงานบุคคล
4. การสั่งการ (Directing) - ตัดสินใจและออกคำสั่ง
40
หลักหน้าที่ของหัวหน้า (POSDCORB)
5. การประสานงาน (Co-ordinating) - สร้างความ
ร่วมมือ
6. การรายงาน (Reporting) - กระจายข้อมูล
7. การงบประมาณ (Budgeting) - ควบคุมด้านการ
เงิน
41
หลักการจัดหน่วยงานย่อย
1. หลักการจัดองค์การตามวัตถุประสงค์
2. หลักการจัดองค์การตามกระบวนการ
3. หลักการจัดองค์การตามลูกค้า
4. หลักการจัดองค์การตามสถานที่
42

You might also like