แนวทางการช่วยเหลือนักเรียนที่มีภาวะซึมเศร้า

You might also like

Download as pptx, pdf, or txt
Download as pptx, pdf, or txt
You are on page 1of 8

โรคซึมเศร้า

Major Depressive episode

นางสาวพรรณพนัช วัฒนเกษม นักจิตวิทยา


อาการของโรคซึมเศร้า
* ต้องมีอาการเป็นอยู่นาน 2 สัปดาห์ขึ้นไป และต้องมีอาการเหล่านี้อยู่เกือบตลอดเวลา แทบทุกวัน ไม่ใช่เป็นๆ หายๆ
เป็นเพียงแค่วันสองวันหายไปแล้วกลับมาเป็นใหม่
มีอาการอย่างน้อย 1 ข้อ

1. น้ำหนัก 2. เบื่อไม่ 3. น้ำหนัก


ลด/เพิ่มขึ้น อยากทำอะไร ลด/เพิ่มขึ้น
มีอาการเหล่านี้อย่างน้อย 5 ข้อ

4.ปัญหาการ 5.กระสับ 6. เหนื่อย


นอน กระส่าย/เชื่อง อ่อนเพลีย
ช้า

7. รู้สึกตนเอง 8. สมาธิลดลง ใจลอย/ลังเลใจไปหมด 9. คิดเรื่องการตาย


ไร้ค่า
สาเหตุของโรคซึมเศร้า
A
กรรมพันธุ์ B
ปัจจัยทางสังคม

+ การ +ลักษณะนิสัย

เลี้ยงดู

ที่มาภาพ: https://www.reddit.com/r/pics/comments/shqx9w/anger_transference_c1954_by_richard_sargent/:
สาเหตุของโรคซึมเศร้า

C
สารเคมีในสมอง
การรักษาโรคซึมเศร้า
• 1.ยาต้านเศร้าและยาลดกังวล
• 2.การใช้คำปรึกษา ช่วยเหลือชี้แนะการมองปั ญหาต่างๆ
ในมุมมองใหม่ แนวทางในการปรับตัว ผ่อนคลาย
• 3. จิตบำบัด
• 4.ครอบครัว/โรงเรียน/เพื่อน
• 5. การรักษาด้วยไฟฟ้ า (ECT)
ระดับความรุนแรงของภาวะซึมเศร้า
ฉุกเ
ปาน ฉิน
กลาง อาการซึมเศร้า
ถึง เศร้าหรือหงุดหงิดดจน
รุนแรง อันตรายต่อนตนเองและผู้
อื่น คิดอยากฆ่าตัวตายและ
อาการซึมเศร้า มีการวางแผนชัดเจน, มี
ไม่
เศร้าหงุดหงิดจนควบคุม อาการทางจิต เช่น หูแว่ว
รุนแรง อารมณ์ไม่ได้, นอนไม่ ระแวง
หลับ/หลับมากไปเกือบทุก การสูญเสียหน้าที่ในชีวิต
วัน, รู้สึกไร้ค่า มองโลกใน น้ำหนักลดลงอย่างมาก
อาการซึมเศร้า ประจำวัน ไม่กิน
แง่ลบมาก บ่นอยากตาย อาหาร, อาการทางร่างกาย
เศร้า เบื่อ แต่ยัง การสูญเสียหน้าที่ในชีวิต รุนแรง เช่นปวดหัว อาเจียน
จัดการอารมณ์เองได้ ประจำวัน รุนแรง, ไม่ไปเรียนหรือทำงาน,
เก็บตัว ไม่กิน ไม่นอน ไม่
หรือมีที่ปรึกษาคลาย ปฏิเสธการดูแลและความช่วย
อาบน้ำ ไม่ไปเรียน ไม่ทำงาน
เครียด เหลือ
หลีกหนีสังคม(จากเดิมไม่มี
การสูญเสียหน้าที่ในชีวิต ปั ญหาการเข้าสังคม) ไม่ดูแล
บ่นไม่อยากทำ แต่ยังทำหน้าที่
ประจำวัน ตัวเอง
ประจำวันได้ ดูแลตัวเองได้
แผนการรักษา
ติดตาม 6 เดือน
ให้คำปรึกษา
น้อย แนะนำ2-4 สัปดาห์
ระดับความรุนแรง

ทานยาต้านเศร้า

ปานกลาง-รุนแรง ให้คำปรึกษา+ยาต้านเศร้า

รุนแรงมาก-ฉุกเฉิน นอนรพ./ส่งต่อ
แบบประเมินภาวะซึมเศร้า
ในวัยรุ่น
(Thai version of The Patient Health Questionnaire for Adolescents :
PHQ-A)

เกณฑ์การให้คะแนน
คะแนน ระดับภาวะซึม
รวม เศร้า

0-4 ไม่มีภาวะซึมเศร้า

5-9 มีภาวะซึมเศร้า
เล็กน้อย

10-14 มีภาวะซึมเศร้า
ปานกลาง

15-19 มีภาวะซึมเศร้า
มาก

You might also like