Download as ppt, pdf, or txt
Download as ppt, pdf, or txt
You are on page 1of 59

บทที่ 1 โครงสร้างของอะตอม

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.อดิศักดิ์ สิงห์สีโว


คณะสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรศาสตร์
Atom and Structure of Atom

2
Atom and Structure of Atom

แนวคิดในการพัฒนาแบบจำลองอะตอม
จากการศึกษาปฏิกิริยาเคมีพบว่า บางปฏิกิริยาเกิดง่าย บาง
ปฏิกิริยาเกิดยาก เพราะฉะนั้น ปฏิกิริยาเคมีที่เกิดขึ้นน่าจะเกี่ยวข้องกับ
โครงสร้างภายในของสาร นักปราชญ์ชาวกรีกชื่อ ดิโมเค
ตุส(Democritus) และลาซิปปุส (Leucippus) เชื่อว่าเมื่อย่อยสารลง
เรื่อยๆจะได้ส่วนที่เล็กที่สุดซึ่งไม่สามารถทำให้เล็กลงกว่าเดิมได้อีก และ
เรียกอนุภาคที่เล็กที่สุดว่า “อะตอม” (atom มาจากภาษากรีกคำว่า atom
os แปลว่าแบ่งแยกอีกไม่ได้) และสิ่งที่เล็กที่สุดนี้ของแต่ละธาตุต่างกันจึง
ทำให้สมบัติต่างๆของแต่ละธาตุแตกต่างกันไปด้วย
ประวัติของอะตอม
• มีแนวคิดเกี่ยวกับองค์ประกอบพื้นฐานของ
สสารต่างๆตั้งแต่ยุคโบราณ
– อินเดียโบราณ (6th century BC) สสารประกอบ
ด้วยธาตุพื้นฐานต่างๆ ได้แก่ earth, water, light,
wind, ether, time, space, mind and soul
[soul = จิตวิญญาณ, soulless = ไร้ความรู้สึก]

– Leucippus และ Democritus (กรีก 5th century


BC) อะตอมคือองค์ประกอบที่ย่อยที่สุดของสสาร
แบ่งแยกต่อไปอีกไม่ได้ ชนิดของอะตอมขึ้นกับรูป
ร่างของมัน เช่น smooth atoms หรือ sharp atoms

4
5
ทฤษฎีอะตอมของดาลตัน
John Dalton นักวิทยาศาสตร์ชาวอังกฤษ ได้เสนอแนวคิดเกี่ยว
กับอะตอมที่เรียกว่าทฤษฎีอะตอม ในปี ค.ศ. 1803มีใจความ
สำคัญว่า

1. สสารทุกชนิดประกอบด้วยอนุภาคที่เล็ก
ที่สุด ซึ่งไม่สามารถแบ่งแยกได้อีก เรียกว่า
atom
2. อะตอมของธาตุชนิดเดียวกัน ย่อมมีสมบัติ
เหมือนกันทุกประการ(เช่นมีมวลเท่ากัน) และมี
สมบัติแตกต่างจากอะตอมของธาตุอื่น
3. ไม่สามารถทำให้อะตอมสูญหายหรือเกิด
ใหม่ได้ 6
แบบจำลองอะตอมของ
Thomson
ศึกษาและทดลองเกี่ยวกับ
การนำไฟฟ้ าของแก๊สในหลอดรังสีแคโทด

J.J. Thomson*
(1856-1940)

*นักวิทยาศาสตร์ชาวอังกฤษ 7
การทดลองของทอมสัน

หลอดรังสีแคโทด

8
หลอดรังสีแคโทดของ Sir Joseph Jhon Thomson

Thomson จึงสรุปว่า อนุภาคไฟฟ้ าที่มีประจุลบเป็ นองค์ประกอบของ


อะตอมของธาตุทุกชนิด และเรียกชื่ออนุภาคนี้ว่า Electron จากการทดลองของ
Thomson จึงหักล้างแบบจำลองอะตอมของ Dalton
“อะตอมไม่ใช่สิ่งที่เล็กที่สุด แต่ประกอบด้วย electron และอนุภาคอื่น”

9
แบบจำลองอะตอมของ Thomson
• Joseph John Thomson ทำการทดลองโดยใช้หลอดแคโธด(Chathod Ray
Tube)
– อะตอม เป็ นทรงกลมของประจุบวก และมีอิเล็กตรอนฝังอยู่ทั่วทรงกลม
– ค้นพบค่าประจุของอิเล็กตรอน
– ประจุบวกเท่ากับประจุลบ

10
การค้นพบโปรตอน

เนื่องจากอะตอมเป็ นกลางทางไฟฟ้ า แสดงว่าต้องมีอนุภาค


ที่มีประจุบวกรวมอยู่ในอะตอมด้วย
โกลด์สไตน์ สังเกตพบรังสีแอโนด (รังสีที่มาจากอนุภาคประจุบวก) จาก
การดัดแปลงการทดลองของทอมสัน
เมื่ออิเล็กตรอนจากกระแสไฟฟ้ าวิ่งชนกลุ่มอะตอม ทําให้อะตอม
ไอออไนซ์ ได้อิเล็กตรอนกับอะตอมไอออนบวก
(A → A+ + e) 11
ถ้าเจาะรูที่แผ่น Cathode จะมีอนุภาควิ่งไปด้านหลัง
เรียกว่า “รังสีแคแนล”

 รังสีจะเบนเข้าหาสนามไฟฟ้ าลบ

 มีมวลต่างๆ กัน ขึ้นอยู่กับชนิดของแก๊ส


การทดลองของรัทเทอร์ฟอร์ดยืนยันการค้นพบโปรตอน โดยระดม
ยิงโมเลกุลไนโตรเจนด้วยอนุภาคอัลฟา ( 42He ) ทําให้ได้อนุภาคซึ่ง
หนักเป้ น 1830 เท่าของอิเล็กตรอน และมีประจุเท่ากับอิเล็กตรอน

12
แบบจำลองอะตอมของ Rutherford

นักวิทยาศาสตร์ชาวอังกฤษ
ทำการทดลองยิงอนุภาคแอลฟาไปยังแผ่นทองคำ
บางๆมีความหนาเพียง 0.0004 mm
เรียกการทดลองนี้ว่า
การกระเจิงรังสีแอลฟาของรัทเทอร์ฟอร์ด
(Alpha Scattering Experiment)

Ernest Rutherford
(1871-1937)

13
การทดลองของ Rutherford
ค.ศ. 1911(พ.ศ. 2454) Lord Ernest Ruthertford และ ฮันส์ ไกเกอร์ (Hans
Geiger) และเออร์เนสต์ มาร์สเดน (Ernest Marsden) ร่วมกันทดลองเกี่ยวกับทิศทางของ
การเคลื่อนที่ของอนุภาคแอลฟาที่ประเทศอังกฤษ ในการทดลอง Rutherford ได้ใช้
อนุภาคแอลฟายิงไปยังแผ่นโลหะทองคำบางๆ และใช้ฉากเรืองแสง ZnS เป็ นฉากรับ

14
Alpha Rays Lord Ernest Ruthetford นักวิทยาศาสตร์ชาว
นิวซีแลนด์ได้ทำการการศึกษาธรรมชาติของ
รังสีที่เกิดจากสารกัมมันตรังสี พบว่ามี 3 ชนิด
คือ
1. รังสี เอลฟา ( α-ray) ประกอบด้วยอนุภาคที่มี
ประจุไฟฟ้ าเป็ นบวก (+2) เป็ นนิวเคลียสของ
อะตอมของธาตุฮีเลียม
2. 2. รังสีเบตา (β-ray) ประกอบด้วยอิเล็กตรอนที่
มีพลังงานสูง มีอำนาจการผ่านทะลุสูงกว่ารัง
สีเเอลฟา ถูกกั้นโดยใช้แผ่นโลหะบางๆ
3. รังสีแกมมา (γ-ray) แสดงสมบัติเป็ น
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ าที่มีความยาวคลื่นสั้นมาก
คล้าย X-ray รังสีแกมมาไม่มีมวลไม่มีประจุ มี
อำนาจผ่านทะลุสูง ถูกกั้นได้โดยแผ่นตะกั่วหนา
15
การทดลองของรัทเทอร์ฟอร์ด

16
แบบจำลองอะตอมของ Rutherford

 อะตอมมีอนุภาคประจุบวก(โปรตอน) รวมกันอยู่ตรงกลางเรียกว่า
นิวเคลียส และมี e- วิ่งรอบๆ
 e- มีประจุรวมเท่ากับประจุบวก อะตอมจึงเป็ นกลาง
 ปริมาตรส่วนใหญ่ของอะตอมเป็ นที่ว่าง 17
แบบจำลองอะตอมของ Rutherford

 อะตอมมีอนุภาคประจุบวก(โปรตอน) รวมกันอยู่
ตรงกลางเรียกว่า นิวเคลียส และมี e- วิ่งรอบๆ
 e- มีประจุรวมเท่ากับประจุบวก อะตอมจึงเป็ นกลาง
 ปริมาตรส่วนใหญ่ของอะตอมเป็ นที่ว่าง

จากการศึกษาแบบจำลองอะตอมของ Rutherford ทำให้ทราบว่า


อะตอมประกอบไปด้วย อิเล็กตรอน และโปรตอน โดยอิเล็กตรอนจะวิ่งอยู่รอบๆ
ส่วนโปรตอนจะรวมกันอยู่ตรงกลางเรียกว่านิวเคลียส และมวลของโปรตอนมีค่า
มากกว่ามวลของอิเล็กตรอนอยู่ประมาณ 1800 เท่า
18
การค้นพบ Neutron
ในปี ค.ศ. 1930 (พ.ศ. 2473) W. Bothe และ H. Becker นักเคมีชาวเยอรมัน
ได้ทดลองใช้อนุภาคแอลฟายิงแผ่นโลหะแบริเลี่ยม (Be) ปรากฎว่าเกิดรังสีชนิดหนึ่งที่
มีอำนาจทะลุผ่านได้ดี และรังสีนี้เมื่อชนกับโมเลกุลของพาราฟิ นจะได้ Proton ออกมา

19
แบบจำลองอะตอมของ James Chadwick

ต่อมาในปี ค.ศ. 1932(พ.ศ. 2475) James


Chadwick นักวิทยาศาสตร์อังกฤษได้เสนอว่ารังสีที่ชน
แผ่นพาราฟิ นจนได้ Proton ออกมาแสดงว่าอะตอมจะต้อง
ประกอบไปด้วยอนุภาคมากกว่าโปรตอนและอิเล็กตรอน
และตั้งชื่อให้อนุภาคใหม่ที่พบว่า neutron นอกจากนี้ chad
wick ยังได้พิสูจน์ว่าอนุภาค neutron ไม่มีประจุ และ
คำนวณได้ว่า neutron มีมวลใกล้เคียงกับ Proton

20
แบบจำลองอะตอมกลุ่มหมอก

Erwin Shroedinger*
(1887 - 1961)
* นักฟิ สิกส์ชาวออสเตรีย 21
แบบจำลองอะตอมกลุ่มหมอก
ใช้ความรู้พื้นฐานทางกลศาสตร์ควอนตัม มาสร้างสมการคลื่น(Wave
equation)เพื่อคำนวณหาโอกาสที่จะพบอิเล็กตรอนในระดับพลังงานต่างๆ
จากสมการคลื่นทำให้ทราบว่า เราไม่สามารถบอกตำแหน่งที่แน่นอนของ
อิเล็กตรอนได้ แต่อิเล็กตรอนจะกระจายอยู่ทั่วทุกทิศทุกทางของอะตอม
ดังนั้นแบบจำลองอะตอมแบบกลุ่มหมอกจึงกล่าวว่า
“อะตอมประกอบด้วยกลุ่มหมอกอิเล็กตรอนรอบนิวเคลียส
ที่มีลักษณะเป็ นทรงกลม บริเวณกลุ่มหมอกทึบแสดงว่าโอกาส
ที่จะพบอิเล็กตรอนมีมากและบริเวณกลุ่มหมอกจาง
โอกาสที่จะพบอิเล็กตรอนมีน้อย”
22
แบบจำลองอะตอมของโบร์
นักวิทยาศาสตร์ชาวเดนมาร์ก ศึกษา
การเกิดสเปกตรัมของธาตุ
พลังงานไอออไนเซชัน

Niels Bohr
(1855 - 1962)
23
ทฤษฎีอะตอมไฮโดรเจนของบอห์ร
บอห์ร (Niels Bohr: 1885-1962) เสนอแนวคิดเกี่ยวกับโครงสร้างอะตอมของ
ไฮโดรเจน โดยใช้แนวคิดของรัทเทอร์ฟอร์ดร่วมกับทฤษฎีควอนตัม ดังนี้

อะตอมไฮโดรเจนประกอบด้วย
นิวเคลียสที่มีอิเล็กตรอนโคจร
รอบๆ นิวเคลียสเป็ นวงกลม
โดยมี รัศมี r และอิเล็กตรอน
ที่โคจรอยู่นั้นจะโคจรใน
ลักษณะเป็ นชั้น ๆ

24
สรุปเรื่องแบบจำลองอะตอม

25
อนุภาคมูลฐานของอะตอม

อนุภาค สัญลักษณ์ ประจุไฟฟ้ า ชนิด มวล


(คูลอมบ์) ประจุไฟฟ้ า (กรัม)
อิเล็กตรอน e- 1.602 x 10-19 -1 9.109 x 10-28
โปรตอน P+ 1.602 x 10-19 +1 1.673 x10-24
นิวตรอน n 0 0 1.675 x 10-24

26
สัญลักษณ์นิวเคลียร์
เลขมวล
(A)

เลขอะตอม
P+ = e-
27
สัญลักษณ์นิวเคลียร์ (Atomic symbol)
เลขมวล AX สัญลักษณ์ธาตุ
เลขอะตอม Z
ตัวอย่าง จงเติมคำตอบที่ถูกต้องในช่องว่าง

สัญลักษณ์ 11
X
5 8 X 12 6X
19 2+ 25 + 12 2-
C 256
D
56
โปรตอน 5 8 12 6 56
นิวตรอน 6 11 13 6 200
อิเล็กตรอน 5 8-2=6 12-1=11 6+2=8 56
28
เลขอะตอม (Atomic number, Z) คือ จำนวนโปรตอนในนิวเคลียสของแต่
ละอะตอมของธาตุ
Z=p
@ ในอะตอมที่ เป็ นกลาง จำนวนโปรตอนเท่ากับจำนวน
อิเล็กตรอน
@ ดังนั้นเลขอะตอมจึงบอกจำนวนอิเล็กตรอนในอะตอมด้วย
p = e-
เลขมวล (Mass number, A) คือ ผลรวมของนิวตรอนและโปรตอนที่มีอยู่
ในนิวเคลียสของอะตอมของธาตุ
A = p+n
เลขมวล = จำนวนโปรตอน + จำนวนนิวตรอน
= เลขอะตอม + จำนวนนิวตรอน
29
ไอโซโทป (Isotope)

ไอโซโทป (Isotope) หมายถึง อะตอมของธาตุชนิด


เดียวกันที่มีโปรตอนเท่ากัน (หรืออิเล็กตรอนเท่ากัน) แต่มีเลข
มวลและจำนวนนิวตรอนต่างกัน (หรือมีมวลต่างกัน)

เช่น 18
6
C, 17
6
C และ 15
6
C เป็ นไอโซโทปกัน

(เลขอะตอม C = 6 )
ปี พ.ศ. 2480 ฟรานซิส วิลเลียม แอสตัน ได้ค้นพบไอโซโทป
เป็ นคนแรก และธาตุที่พบคือ ไอโซโทปของนีออน

20
Ne
10
22
Ne
10

ไอโซโทปของคาร์บอน

สัญลักษณ์ จำนวน จำนวน จำนวน เลขมวล


นิวเคลียร์ อิเล็กตรอน โปรตอน นิวตรอน
6C 6 6 6 12
12

13
C
6
6 6 7 13

14
C 6 6 8 14
6
ไอโซโทปของธาตุที่มีชื่อเรียกโดยเฉพาะ

เช่น ธาตุไฮโดรเจนมี 3 ไอโซโทป และมีชื่อเฉพาะดังนี้

1
1
H เรียกว่า โปรเตรียม ใช้สัญลักษณ์ H

2
1
H เรียกว่า ดิวทีเรียม ใช้สัญลักษณ์ D

3
1
H เรียกว่า ตริเตรียม ใช้สัญลักษณ์ T
ไอโซโทน (Isotone)
ไอโซโทน (Isotone) หมายถึง ธาตุต่างชนิดกันที่มีจำนวนนิวตรอนเท่ากัน แต่มี
เลขมวลและเลขอะตอมไม่เท่ากัน

เช่น 18
8
O 19
9
F

เป็ นไอโซโทนกันมีนิวตรอนเท่ากันคือ n = 10

ธาตุ A Z n
18
8
O 18 8 10

19
F 19 9 10
9
จะเห็นได้ว่าเฉพาะ n เท่านั้นที่เท่ากัน แต่ A และ Z ไม่เท่ากัน จึงเป็ นไอโซโทน
ไอโซบาร์ (Isobar)
ไอโซบาร์ (Isobar) หมายถึง ธาตุต่างชนิดกันที่มีเลขมวลเท่ากัน แต่มี
มวลอะตอมและจำนวนนิวตรอนไม่เท่ากัน

เช่น 30
15
P กับ 30
Si เป็ นไอโซบาร์
14

มีเลขมวลเท่ากันคือ 30
ธาตุ A Z n
30
15 P 30 15 15

30
14 Si 30 14 16
Isotone and Isobar
ไอโซโทน (Isotone) คือธาตุต่างชนิดกันที่มีจำนวน neutron (n) เท่ากัน
ไอโซบาร์ (Isobar) คือธาตุต่างๆชนิดกันแต่มีเลขมวลเท่ากัน

35
สเปกตรัม( Line Spectrum)

• แสงที่มองเห็นประกอบด้วยคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ าซึ่งอาจมี
ความยาวคลื่นต่าง ๆ กัน
Sun
– สเปกตรัมต่อเนื่อง: แสงสีขาว
ประกอบไปด้วยแสงสีม่วงจนถึง H
สีแดงซึ่งมีความยาวคลื่นต่างกัน
– สเปกตรัมเส้น (สเปกตรัมของ He

อะตอม) แสงที่ประกอบด้วยคลื่น
แม่เหล็กไฟฟ้ าความถี่เฉพาะและ Hg
Line spectra
ไม่ต่อเนื่องจำนวนหนึ่ง U

36
สมบัติของคลื่น

ความยาวคลื่น (Wavelength) เป็ นระยะทางระหว่างยอดคลื่นที่ต่อเนื่องกัน

แอมปลิจูด (Amplitude) เป็ นระยะทางแนวตั้งจากเส้นกึ่งกลางของคลื่นถึงยอดคลื่น

37
คลื่นและสมบัติของแสง

38
ทฤษฎีของแมกซ์ เวลล์ (Maxwell’s theory)

รังสีแม่เหล็กไฟฟ้ าเป็ นรูปพลังงานที่เปล่งออก (Emission)ในรูปของคลื่น มี


องค์ประกอบ 2 ส่วน ได้แก่ คลื่นทางไฟฟ้ า (Electric wave) และคลื่นทางแม่เหล็ก (mag
neticwave) โดยคลื่นทั้งสองจะเคลื่อนที่ตั้งฉากซึ่งกันและกัน
การแผ่รังสีแม่เหล็ก
ไฟฟ้ า(electromagnetic radiation)
เป็ นการปล่อย (emission) และส่ง
ผ่าน (transmission) พลังงานใน
รูปของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ า

ความเร็วของแสง (c) ในสุญญกาศ = 3.00 x 108 m/s 39


การหักเหของแสงขาวเมื่อผ่านปริซึม

40
Electromagnetic waves

แสงเป็ นรูปแบบหนึ่งของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ า แสงที่ประสาทตาของคนมองเห็นได้นั้น เรียก


ว่า Visible light ซึ่งมีความยาวคลื่นอยู่ในช่วง 400 ถึง 700 นาโนเมตร โดยปกติตาของคนไม่
สามารถแยกสีที่มองเห็นจากดวงอาทิตย์ที่อยู่ในช่วงคลื่น 400 ถึง 700 นาโนเมตรได้ จึงเรียก
แสงจากดวงอาทิตย์ว่าแสงขาว เมื่อผ่านแสงขาวไปบนปริซึม จะมีแถบสีรุ้งเกิดขึ้น แถบสีที่
เกิดขึ้นเรียกว่า สเปกตรัมของแสงขาว 41
สเปกตรัมคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ า

42
แสงสีต่าง ๆ ในแถบสเปกตรัมของแสง

สเปกตรัม ความยาวคลื่น (nm)

400 - 420
ม่วง
น้ำเงิน 420 - 490
เขียว 490 - 580
เหลือง 580 - 590
ส้ม
แดง 590 - 650
650 - 700
สเปกตรัมของธาตุและการแปลความหมาย

44
พลังงานของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ า
E = h
= h(c/)

E คือพลังงาน (J)
h คือค่าคงที่ของพลังส์ = 6.626x10-34 J.s
 คือความถี่ของคลื่น (Hz)
c คือความเร็วของคลื่น = 3.0x108 m/s
 คือความยาวคลื่น (m) หรือ (nm)
Max Plank
(ค.ศ.1858-1947)
พลังงานของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ าจะเป็ นสัดส่วนโดยตรงกับความถี่ของคลื่น 45
เมื่อ C คือความเร็วของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ าในสุญญากาศมีค่า
เท่ากับ 3.0 x 108 เมตรต่อวินาทีจากสูตร
ค่าพลังงานของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ าคำนวณได้จากความ
สัมพันธ์ดังนี้
E  hv
hc
C E
 v

การจัดเรียงอิเล็กตรอน
กฏข้อที่ 1
• จำนวน e- ที่มีได้มากสุดในแต่ละระดับพลังงาน
• 2n2 2 8 18 32 50

ระดับพลังงานชั้นที่ 1 2 3 4 5

กฏข้อที่ 2
จำนวนอิเล็กตรอนชั้นนอกสุด(valent e-) ห้ามเกิน 8
47
จำนวนเวเลนต์อิเล็กตรอน บอกหมู่

• 11Na =
2 8 1
• Cl =
17 2 8 7

2 8 8 2
• Ca =
20

• Br =
35

• I =
53
จำนวนชั้นของระดับพลังงาน บอกคาบ
• V =
23
48
2n 2

n =1 สามารถบรรจุอิเล็กตรอนได้
2(1)2 = 2
n =2 สามารถบรรจุอิเล็กตรอนได้
2(2) = 8
2

n =3 สามารถบรรจุอิเล็กตรอนได้
2(3)2 = 18
n =4 สามารถบรรจุอิเล็กตรอนได้
2(4)2 = 32
ตารางแสดงระดับพลังงานและจำนวนอิเล็กตรอนที่มีได้เต็มที่ในแต่ละ
ระดับพลังงาน

ระดับพลังงาน จำนวนอิเล็กตรอนที่มิได้เต็มที่ (อนุภาค)


1 2
2 8 เป็ นไปตามสูตร
3 2n2
4 18
32
5
6 32
7 18 ไม่เป็ นไปตามสูตร 2n2
8
3Li = 2,1
16 S= 2,8,6
คาบ 2
หมู่ 1 คาบ 3
ระดับพลังงาน 2 หมู่ 6
วาเลนซ์อิเล็กตรอน 1 ระดับพลังงาน 3
วาเลนซ์อิเล็กตรอน 6
จงจัดเรียงอิเล็กตรอนของอะตอมต่อไปนี้
1. 20Ca =
1. 20Ca = 2,8,8,2
2. 38 Sr =
2. 38 Sr = 2,8,18,8,2

3. 17 Cl =
3. 17 Cl = 2,8,7

4. 54 Xe = 4. 54 Xe = 2,8,18,18,8
5. 35 Br =
5. 35 Br = 2,8,18,7

6. 55 Cs =
6. 55 Cs = 2,8,18,18,8,1

7. 13 Al =
7. 13 Al = 2,8,3

8. 32 Ge = 8. 32 Ge = 2,8,18,4
9. 19 K =
9. 19 K = 2,8,8,1
จงวาดภาพการจัดเรียงอิเล็กตรอนของอะตอมต่อไปนี้
1. 20Ca = 2,8,8,2
2. 4 Be =
3. 11 Na =
4. 5 B =
5. 18 Ar =
6. 6 C =
7. 10 Ne =
8. 14 Si =
9. 9F =
1A 8A
กลุ่ม หมู่ คาบ
2A 3A 4A 5A 6A 7A

Transition elements

3B 4B 5B 6B 7B 1B 2B

54
การจัดอิเล็กตรอนในอะตอม

55
ระดับพลังงาน ระดับพลังงาน จำนวนอิเล็กตรอน จำนวนอิเล็กตรอน
ย่อย สูงสุด สูงสุด
ในระดับพลังงานย่อย ในระดับพลังงาน
1 s 2 2
2 s
p
2
6 8
18
3 s 2
p 6
d 10

32
4 s 2
p 6
d 10
f 14
56
วิวัฒนาการตารางธาตุ
Periodic Law
ถ้าเรียงธาตุตามมวลอะตอมจากน้อย
ไปมากแล้วแบ่งเป็นแถวให้เหมาะสมธาตุที่มี
สมบัติคล้ายกันจะปรากฏอยู่ตรงกันเป็นช่วงๆ
( ค.ศ.1969-1970 : Meyer* และ Mendeleev**)

*Julius Lother Meyer นักวิทยาศาสตร์ชาวเยอรมัน


**Dmitri Ivanovich Mendeleev นักวิทยาศาสตร์ชาวรัสเซีย
57
Alkali Metals
The Periodic Noble Gases

Alkaline Earths
table Main Group
Halogens

Transition Metals

Main Group Lanthanides and Actinides


58
การเรียกชื่อธาตุที่มีเลขอะตอมมากกว่า 100
องค์การนานาชาติทางเคมี (International Union of Pure and Applied
Chemistry : IUPAC)ให้เรียกชื่อธาตุตามระบบตัวเลขเป็ นภาษาลาติน และลงท้ายเสียงของ
ชื่อธาตุเป็ น -ium
0 1 2 3 4 5 6 7 8 9
nil un bi Tri quad pent hex sept oct enn
นิล อูน ไบ ไตร ควอด เพนต์ เฮกซ์ เซปต์ ออกต์ เอนน์

การเขียนสัญลักษณ์ของธาตุ ให้ใช้อักษรตัวแรกของจำนวนนับแต่ละตัวมาเขียน
เรียงกัน เช่น ธาตุที่มีเลขอะตอม 110 สัญลักษณ์คือ Uun เรียกว่า Ununnilium

59

You might also like