Download as pptx, pdf, or txt
Download as pptx, pdf, or txt
You are on page 1of 32

พระพุทธศาสนา

ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่
หน่วยการเรียน หน่วยการเรียน
กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา
หน่วยการเรียน หน่วยการเรียน

รู้ที่ ๑ รู้ที่ ๒ รู้ที่ ๓ รู้ที่ ๔ และวัฒนธรรม
หน่วยการเรียน หน่วยการเรียน หน่วยการเรียน หน่วยการเรียน หน่วยการเรียน
รู้ที่ ๕ รู้ที่ ๖ รู้ที่ ๗ รู้ที่ ๘ รู้ที่ ๙

๑_หลักสูตรวิชา
พระพุทธศาสนา
๒_แผนการจัดการเรียน
รู้
๓_PowerPoint_ประก
อบการสอน
๔_Clip
๕_ใบงาน_เฉลย
๖_ข้อสอบประจำ
หน่วย_เฉลย
๗_การวัดและประเมิน
ผล
๘_รูปภาพ
๙_เสริมสาระ
๑o_สื่อเสริมการเรียนรู้

บริษัท อักษรเจริญทัศน์ อจท. จำกัด : 142 ถนนตะนาว เขตพระนคร กรุงเทพฯ 10200


Aksorn CharoenTat ACT.Co.,Ltd : 142 Tanao Rd. Pranakorn Bangkok 10200 Thailand
โทรศัพท์ : 02 622 2999 โทรสาร : 02 622 1311-8 webmaster@aksorn.com / www.aksorn.com
หน่วยการ ๒
เรียนรู้ที่
พุทธประวัติ พระ
สาวก
ศาสนิกชนตัวอย่าง และชาดก

จุดประสงค์การเรียนรู้

ก. วิเคราะห์พุทธประวัติจากพระพุทธรูปปางต่างๆ หรือประวัติศาสดาที่ตนนับถือตามที่กำหนดได้
ข. วิเคราะห์และประพฤติตนตามแบบอย่างการดำเนินชีวิตและข้อคิดจากประวัติสาวก ชาดก เรื่องเล่า
และศาสนิกชนตัวอย่างตามที่กำหนดได้
พุทธ การแสดงปฐมเทศนา ธัมมจัก
ประวัติ กัปปวัตตนสูตร

• หลังจากตรัสรู้แล้ว พระพุทธเจ้าทรงมีพระมหากรุณาสงสารสัตว์โลก จึง


ทรงมีพระประสงค์จะไปแสดงธรรมโปรดอาฬารดาบส กาลามโคตร และ
อุททกดาบส รามบุตร แต่ท่านทั้งสองสิ้นชีพไปก่อนหน้านั้น ๗ วันแล้ว จึง
ตัดสินพระทัยจะไปโปรดปั ญจวัคคีย์ ซึ่งเคยรับใช้พระองค์ขณะทรง
บำเพ็ญทุกกรกิริยา โดยพระองค์ทรงแสดงปฐมเทศนาที่เรียกว่า ธัมมจัก
กัปปวัตตนสูตร
พุทธ การแสดง
ประวัติ ปฐมเทศนา
ธัมมจักกัปปวัต
ตนสูตร
๑ • ทรงชี้ว่ามีทาง “สุดโต่ง” ๒ ทางที่บรรพชิตไม่พึงปฏิบัติ คือ การหมกมุ่น
ในกามอันเป็ นทางหย่อนเกินไป และการทรมานตนให้ลำบาก อันเป็ น
ทางตึงเกินไป

๒ • ทรงแสดง “ทางสายกลาง หรือมัชฌิมาปฏิปทา” คือ อริยมรรค มีองค์


แปดประการ อันได้แก่ เห็นชอบ ดำริชอบ เจรจาชอบ การงานชอบ
อาชีพชอบ พยายามชอบ สติชอบและสมาธิชอบ

๓ • ทรงแสดง “อริยสัจสี่ประการ” คือ ทุกข์ สมุทัย นิโรธ มรรค อย่างพิสดาร


และครบวงจร ว่าพระองค์นั้นทรงตรัสรู้สิ่งเหล่านี้อย่างไร

๔ • หลังฟั งเทศน์จบลง โกณฑัญญะได้ “ดวงตาเห็นธรรม” จึงทูลขอบวช


พระพุทธองค์ประทานการบวชด้วยการอุปสมบท เรียกว่า “เอหิภิกขุ
อุปสัมปทา” ถือเป็ นพระสาวกรูปแรกในพระพุทธศาสนา

๕ • กล่าวถึงเทพทั้งหลายตั้งแต่ภุมมเทวดา ได้ป่ าวร้องบอกต่อๆ กันไปจนถึง


หมู่พรหมว่า พระพุทธเจ้าทรงหมุน กงล้อคือ พระธรรม ที่ไม่มีใครไม่ว่า
สมณะ พราหมณ์ เทวดา มาร พรหม สามารถหมุนกลับได้
พุทธ โอวาทปาฏิ
ประวัติ โมกข์

• ในคืนวันเพ็ญเดือน ๓ พระสงฆ์สาวกจำนวน ๑,๒๕๐ รูป ได้มาเฝ้ า


พระพุทธเจ้าที่วัดพระเวฬุวันโดยมิได้นัดหมายกัน ท่านเหล่านั้นล้วนเป็ น
เอหิภิกขุ (พระสงฆ์ที่พระพุทธเจ้าประทานอุปสมบทให้) ซึ่งเป็ นพระ
อรหันต์ ผู้ทรงอภิญญา พระพุทธเจ้าทรงเห็นว่าการประชุมใหญ่ของ
สงฆ์ประกอบด้วยองค์ ๔ คือ จาตุรงคสันนิบาต จึงทรงแสดงโอวาท
ปาฏิโมกข์
พุทธ โอวาทปาฏิ
ประวัติ โมกข์

• ทรงแสดงถึงอุดมการณ์ของพระพุทธศาสนา คือ
พระนิพพาน

• ทรงแสดงถึงหลักการทั่วไปของพระพุทธศาสนา ๓
ประการ คือ การไม่ทำความชั่วทั้งปวง การ
โอวาทปาฏิ ทำความดีให้พร้อม และการทำจิตของตนให้
ผ่องแผ้ว
โมกข์ • ทรงแสดงถึงวิธีการเผยแผ่พระพุทธศาสนาโดยเน้น
หัวใจพระพุทธ การไม่ว่าร้ายคนอื่น ไม่เบียดเบียนคนอื่น ใช้
ขันติธรรม และสันติวิธีในการเผยแผ่พระพุทธ
ศาสนา ศาสนา
• ตรัสถึงคุณสมบัติของผู้เผยแผ่พระพุทธศาสนา คือ
ต้องเป็ นผู้เคร่งครัดในระเบียบ ข้อบังคับ อยู่ในที่
สงบสงัด รู้ประมาณโภชนาการ และฝึ กจิตให้มี
สมาธิอย่างสูงยิ่ง
พุทธ พุทธประวัติจากพระพุทธ
ประวัติ รูปปางต่างๆ

ปางมาร
วิชัย
• ขณะที่พระพุทธองค์ทรงนั่งสมาธิอยู่ใต้ต้นโพธิ์ พญาวสวัตดีมารได้มาขับไล่
พระองค์ และอ้างว่าบัลลังก์เป็ นของตน พระพุทธองค์ทรงแย้งว่าบัลลังก์เป็ น
ของพระองค์ และทรงตรัสว่า “ขอให้วสุนธราจงเป็ นพยาน” ทันใดนั้นพระแม่
ธรณีได้ผุดขึ้นมาจากแผ่นดินและบีบมวยผมบันดาลให้เกิดกระแสน้ำไหลท่วม
กองทัพพญามารจนพ่ายแพ้ ชาวพุทธจึงสร้างปางนี้ขึ้น
พุทธ พุทธประวัติจากพระพุทธ
ประวัติ รูปปางต่างๆ

ปางลีลา

• ปางนี้มีความเกี่ยวโยงกับปางเสด็จลงมาจากสวรรค์ชั้นดาวดึงส์ กล่าวคือ
หลังจากพระพุทธองค์เสด็จขึ้นไปจำพรรษา ณ สวรรค์ชั้นดาวดึงส์ เพื่อ
แสดงธรรมโปรดพุทธมารดาตลอด ๓ เดือนแล้ว ก็เสด็จลงมาจากสวรรค์
ซึ่งพระพุทธลีลานอกจากบ่งบอกถึงความงามอันอ่อนช้อย น่าเลื่อมใส
ศรัทธาแล้วยังหมายถึงการเคลื่อนไหวด้วยพระมหากรุณา เพื่อโปรดเวไนย
สัตว์ให้หลุดพ้นจากความทุกข์
พุทธ พุทธประวัติจากพระพุทธ
ประวัติ รูปปางต่างๆ

ปาง
ปฐมเทศน
• า
หลังจากตรัสรู้แล้ว พระพุทธเจ้าเสด็จดำเนินด้วยพระบาทไปยังป่ าอิสิปตน
มฤคทายวัน แขวงเมืองพาราณสี ทรงแสดงธัมมจักกัปปวัตตนสูตร
อันว่าด้วยอริยสัจ ๔ ประการ แก่ปั ญจวัคคีย์โดยมีโกณฑัญญะเป็ นหัวหน้า
ในการแสดงปฐมเทศนานี้ เรียกอีกอย่างว่า ทรงหมุนกงล้อธรรมชาติ ซึ่ง
เป็ นเครื่องหมายแห่งการประกาศพระพุทธศาสนาเป็ นครั้งแรก
พุทธ พุทธประวัติจากพระพุทธ
ประวัติ รูปปางต่างๆ

ปางประจำ
วันเกิด
• สังคมไทยเป็ นสังคมชาวพุทธ ส่วนใหญ่นับถือพระพุทธศาสนา มีคติความ
เชื่อและนับถือในเรื่องของการบูชาพระประจำวันเกิดของตนนอกเหนือไป
จากการเคารพบูชาพระพุทธรูปทั่วๆ ไป โดยเชื่อว่าถ้าได้บูชาพระประจำวัน
เกิด ก็จะยิ่งทำให้เกิดความเป็ นสิริมงคลแก่ตนเองมากขึ้น โดยพระปาง
ประจำวันเกิด แต่ละปางมีดังนี้
พุทธ พุทธประวัติจากพระพุทธ
ประวัติ รูปปางต่างๆ

วันอาทิตย์

ปางถวาย
เนตร
• พระพุทธรูปในพระอิริยาบถยืน ลืมพระเนตรทั้งสองเพ่งไปข้างหน้า
พระหัตถ์ทั้งสองห้อยลงมาประสานกันอยู่ข้างหน้า พระหัตถ์ขวาซ้อน
เหลื่อมอยู่บนพระหัตถ์ซ้าย

• หลังตรัสรู้ใหม่ๆ พระพุทธเจ้าเสด็จออกจากโคนต้นพระศรีมหาโพธิ์ไปทาง
ทิศตะวันออกเฉียงเหนือ (อีสาน) ทรงทอดพระเนตรต้นพระศรีมหาโพธิ์โดย
ไม่กระพริบพระเนตรเป็ นเวลา ๗ วัน เพื่อรำลึกถึงคุณประโยชน์ของต้น
พระศรีมหาโพธิ์ที่อำนวยช่วยพระองค์จนได้ตรัสรู้เป็ นพระพุทธเจ้า
พุทธ พุทธประวัติจากพระพุทธ
ประวัติ รูปปางต่างๆ

วันจันทร์

ปางห้าม
สมุทร
• พระพุทธรูปในพระอิริยาบถยืน ยื่นพระหัตถ์ทั้งสองไปข้างหน้า แบ
พระหัตถ์ตั้งข้างหน้าเสมอพระอุระ

• ขณะที่พระพุทธเจ้าประทับที่โรงไฟเมื่อคราวเสด็จไปโปรดชฎิล ๓ พี่น้อง
แล้วเกิดฝนตกหนัก น้ำหลากท่วมบริเวณที่ประทับอยู่ พวกชฎิล ๓ พี่น้อง
หนีขึ้นบนที่ดอน ส่วนพระพุทธเจ้ามิได้เสด็จหนี เช้ามาพวกชฎิล ๓ พี่น้อง
ได้ออกตามหาจนพบพระพุทธองค์ทรงยืนอยู่ภายในวงล้อมของน้ำที่ท่วม
พุทธ พุทธประวัติจากพระพุทธ
ประวัติ รูปปางต่างๆ

วันอังคาร

ปาง
ไสยาสน์
• พระพุทธรูปในพระอิริยาบถนอนตะแคงขวา พระบาททั้งสองเสมอกัน
พระหัตถ์ซ้ายทาบพระวรกาย พระหัตถ์ขวาตั้งขึ้นรับพระเศียร มีพระเขนย
รองรับ เรียกอีกอย่างว่า “ปางโปรดอสุรินทราหู”

• เป็ นเหตุการณ์เมื่อครั้งพระพุทธเจ้าประทับอยู่ ณ วัดเชตวัน เมืองสาวัตถี


ครั้งนั้นอสุรินทราหูจอมอสูรสำคัญว่าตนมีร่างกายใหญ่โต แสดงความ
กระด้างกระเดื่องไม่ยอมอ่อนน้อมต่อพระพุทธองค์ จึงทรงมีพระประสงค์
จะลดทิฐิของจอมอสูร จึงทรงเนรมิตกายจนใหญ่กว่า อสุรินทราหูจึงยอม
พุทธ พุทธประวัติจากพระพุทธ
ประวัติ รูปปางต่างๆ

วันพุธ (กลาง
วัน)

ปางอุ้ม
บาตร
• พระพุทธรูปในพระอิริยาบถยืน พระหัตถ์ทั้งสองประคองบาตร

• เป็ นเหตุการณ์เมื่อครั้งพระพุทธเจ้าได้เสด็จไปโปรดพระประยูรญาติกรุง
กบิลพัสดุ์ รุ่งขึ้นอีกวันจากวันเสด็จไปถึงในเวลาตอนเช้า พระพุทธองค์ก็
ทรงบาตรพาภิกษุสงฆ์ออกไปโปรดสัตว์ เสด็จพุทธดำเนินไปตามถนนใน
กรุงกบิลพัสดุ์
พุทธ พุทธประวัติจากพระพุทธ
ประวัติ รูปปางต่างๆ

วันพุธ (กลาง
คืน)

ปางป่ าเล
ไลยก์
• พระพุทธรูปในพระอิริยาบถประทับนั่งห้อยพระบาท พระหัตถ์ซ้ายวาง
คว่ำบนพระชานุ พระหัตถ์ขวาวางหงาย

• เป็ นเหตุการณ์เมื่อครั้งพระภิกษุเมืองโกสัมพีทะเลาะกันขนานใหญ่
พระพุทธองค์ได้เสด็จไปห้ามปราม แต่เนื่องจากไม่มีใครฟั ง
พระองค์จึงเสด็จหลีกไปประทับอยู่ในป่ า โดยมีพญาช้างปาลิไลยกะและ
ลิงคอยดูแลเฝ้ าปรนนิบัติ
พุทธ พุทธประวัติจากพระพุทธ
ประวัติ รูปปางต่างๆ

วันพฤหัสบดี

ปางสมาธิ

• พระพุทธรูปในพระอิริยาบถประทับนั่งขัดสมาธิ พระบาทขวาทับ
พระบาทซ้าย พระหัตถ์ทั้งสองวางหงายบนพระเพลา โดยพระหัตถ์ขวา
ทับพระหัตถ์ซ้าย

• เป็ นเหตุการณ์เมื่อพระสัมมาสัมพุทธเจ้าตรัสรู้อนุตรสัมมาสัมโพธิญาณ
ตรัสรู้เป็ นพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ในเวลาเช้าตรู่ของวันเพ็ญขึ้น ๑๕
ค่ำ เดือน ๖ (วันวิสาขบูชา) ใต้ต้นพระศรีมหาโพธิ์
พุทธ พุทธประวัติจากพระพุทธ
ประวัติ รูปปางต่างๆ

วันศุกร์

ปางรำพึง

• พระพุทธรูปในพระอิริยาบถยืน พระหัตถ์ทั้งสองประสานกัน ยกขึ้นทาบ


พระอุระ โดยพระหัตถ์ขวาทับพระหัตถ์ซ้าย

• เมื่อพระพุทธองค์ทรงรำพึงถึงธรรมะที่ตรัสรู้ว่ามีความลึกซึ้งคัมภีร์ภาพ
ยากที่คนทั่วไปจะเข้าใจได้ ก็ทรงรู้สึกอ่อนพระทัยในการออกไปโปรดสัตว์
แต่เมื่อท้าวสหัมบดีพรหมมาทูลอัญเชิญ จึงทรงตัดสินพระทัยไปเทศนาสั่ง
สอนประชาชน
พุทธ พุทธประวัติจากพระพุทธ
ประวัติ รูปปางต่างๆ

วันเสาร์

ปาง
นาคปรก
• พระพุทธรูปประทับขัดสมาธิเหนือขนดพญานาคที่มาขดให้ประทับ และแผ่
พังพานบังลมและฝนให้

• เป็ นเหตุการณ์หลังจากพระสัมมาสัมพุทธเจ้าตรัสรู้ ขณะประทับใต้ต้นมุจ


จลินท์ (ต้นจิก) มีฝนตกพร่ำๆ ๗ วัน เมื่อฝนหยุดแล้ว พญานาคได้จำแลง
กายเป็ นมานพหนุ่ม ยืนประคองอัญชลีอยู่ข้างๆ
ประวัติพุทธสาวก พระอัญญาโกณ
พุทธสาวิกา ฑัญญะ
ประวัติ

• เดิมชื่อ โกณฑัญญะ เกิดในตระกูลพราหมณ์แห่งบ้านโทณวัตถุ กรุงกบิล


พัสดุ์
• เป็ นพราหมณ์ที่มาทำนายพระลักษณะของเจ้าชายสิทธัตถะหลังประสูติได้
๕ วัน โดยทำนายว่า “เจ้าชายน้อยนี้ ต่อไปจะเสด็จออกผนวชและได้เป็ น
ศาสดาเอกของโลกแน่นอน”
• ภายหลังเมื่อพระพุทธเจ้าตรัสรู้แล้ว โกณฑัญญะฟั งธรรมจน (ดวงตาเห็น
ธรรม) และทูลขออุปสมบทเป็ นพระสงฆ์รูปแรกในพระพุทธศาสนา
คุณธรรมที่ควรถือเป็ นแบบ
อย่าง

• เป็ นผู้มีประสบการณ์มาก มีความรอบรู้ทั้งทางโลกและทางธรรม


• เป็ นคนรักสันโดษ ชอบชีวิตสงบ
• ทำตนเป็ นแบบอย่างที่ดีในด้านความประพฤติ
• เป็ นผู้เห็นการณ์ไกล
ประวัติพุทธสาวก พระนางมหาปชาบดี
พุทธสาวิกา โคตมีเถรี
ประวัติ

• พระนางมหาปชาบดีโคตมี เป็ นพระน้านางของพระพุทธเจ้า


• เมื่อพระพุทธเจ้าเสด็จเมืองเวสาลี พระนางประชาบดีโคตรมีและนางสากิย
านีจำนวนมากได้ปลงพระเกศา ห่มผ้ากาสายะเพื่อทูลขอบวช ทำให้
พระพุทธเจ้าทรงวางหลักปฎิบัติครุธรรม ๘ ประการ สำหรับสตรีผู้จะมา
บวช
• พระนางประชาบดีโคตรมีทรงยินดีปฏิบัติตามครุธรรม ๘ ประการ จึงได้รับ
การอุปสมบท ออกผนวชเป็ นภิกษุณีรูปแรกในพระพุทธศาสนา
คุณธรรมที่ควรถือเป็ นแบบ
อย่าง

• เป็ นผู้มีความตั้งใจแน่วแน่หรือแรงจูงใจใฝ่ สัมฤทธิ์ เมื่อตั้งใจกระทำอะไร


แล้ว จะไม่ละความพยายามง่ายๆ
• เป็ นผู้มีความอดทนสูงยิ่ง
• เป็ นผู้มีคารวธรรมอย่างยิ่ง มีความเคารพ น้อมรับฟั งและปฏิบัติตามอย่าง
ว่าง่าย
ประวัติพุทธสาวก พระเขมาเถรี
พุทธสาวิกา
ประวัติ

• พระนางเขมาเป็ นพระราชธิดาของพระเจ้าสาคละแห่งสาคลนคร ในมัททรัฐ


ต่อมาเมื่อเจริญวัยได้เป็ นมเหสีของพระเจ้าพิมพิสาร
• ระยะแรกมิได้ฝั กใฝ่ ในพระพุทธศาสนา ทรงหลงใหลในพระรูปสมบัติของ
ตนเอง จึงไม่ยอมเข้าเฝ้ าพระพุทธเจ้า
• พระเจ้าพิมพิสารทรงหาอุบาย โดยให้กวีแต่งชมความงามของพระวิหารเวฬุ
วัน จนในที่สุดพระนางเขมาก็ได้รับฟั งธรรมจากพระพุทธเจ้า จึงทูลขอบวช
และบรรลุอรหัตผล
คุณธรรมที่ควรถือเป็ นแบบ
อย่าง

• เป็ นผู้มีปั ญญามาก จนกระทั่งได้รับการยกย่องจากพระพุทธเจ้าว่าเป็ นเลิศ


กว่าผู้อื่น ได้รับการแต่งตั้งเป็ นพระอัครสาวิกาเบื้องขวาฝ่ ายภิกษุณี
• เป็ นผู้มีปฏิภาณ มีไหวพริบที่ดี เราสามารถฝึ กฝนได้เช่นเดียวกัน
ประวัติพุทธสาวก พระเจ้าปเสนทิ
พุทธสาวิกา โกศล
พระราช
ประวัติ
• พระเจ้าปเสนทิโกศลเป็ นพระราชโอรสของพระเจ้าโกศล ผู้ครองเมืองสาวัต
ถี แคว้นโกศล
• ก่อนนั้นนับถือนักบวชนอกพระพุทธศาสนา ต่อมานับถือพระพุทธศาสนา
เพราะเห็นจริยวัตรอันงดงามของพระสงฆ์
• พระเจ้าปเสนทิโกศลทรงมีความมั่นคงในพระรัตนตรัยและเคารพต่อ
พระพุทธเจ้าอย่างยิ่ง ทุกครั้งที่เข้าเฝ้ าจะอภิวาทหรือกราบอย่างนอบน้อม
• ภายหลังถูกการายนอำมาตย์ก่อกบฏ และต่อมาก็เสด็จสวรรคต
คุณธรรมที่ควรถือเป็ นแบบ
อย่าง
• ทรงมั่นคงในพระรัตนตรัย
• ทรงรักษาความมั่นคงของพระพุทธศาสนาอย่างดียิ่ง
• ทรงมีพระทัยกว้าง ยอมรับความคิดเห็นของคนอื่น
• ทรงยอมรับผิดและพร้อมจะแก้ไข
ศาสนิกชน หม่อมเจ้าหญิงพูน
ตัวอย่าง พิสมัย ดิศกุล
พระประวัติ

• หม่อมเจ้าหญิงพูนพิศมัย ดิศกุล เป็ นพระธิดาในสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ


กรมพระยาดำรงราชานุภาพ และหม่อมเฉื่อย
• ประสูติเมื่อวันจันทร์ที่ ๑๗ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๔๓๘
• ทรงเป็ นผู้มีความสนพระทัยในพระพุทธศาสนาอย่างยิ่ง
• ทรงมีความรู้ในพระพุทธธรรมอย่างลึกซึ้งเช่น
• ทรงบรรยายหลักธรรมทางพระพุทธศาสนาทั้งในประเทศและต่างประเทศ
อยู่เสมอ
• ทรงสิ้นชีพิตักษัยด้วยพระโรคชรา เมื่อวันเสาร์ที่ ๑๑ สิงหาคม พ.ศ.
๒๕๓๓ รวมพระชันษาได้ ๙๕ ปี
ศาสนิกชน หม่อมเจ้าหญิงพูน
ตัวอย่าง พิสมัย ดิศกุล

• กรรมการบริหารและอุปนายกพุทธสมาคมแห่งประเทศไทย ใน
งานด้านการ พระบรมราชูปถัมภ์
บริหาร • ประธานองค์การพุทธศาสนิกสัมพันธ์แห่งโลก (พ.ส.ล.) รอง
ประธานองค์การพุทธศาสนิกสัมพันธ์แห่งโลก (พ.ส.ล.)
• ประธานกิตติมศักดิ์ขององค์การ (พ.ส.ล.)
• กรรมการมูลนิธิเทมเบิลตัน

• ทรงมีความสามรถในการเขียนหนังสือสำหรับเด็ก
• ทรงนิพนธ์หนังสือ ศาสนคุณ เป็ นหนังสือสอนพระพุทธศาสนา
งานเขียน แกเด็ก ได้รับพระราชทานรางวัลที่ ๑ ในการประกวดหนังสือ
จากพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว
• ทรงนิพนธ์บทความและหนังสือเกี่ยวกับชาติ ศาสนา พระมหา
กษัตริย์ ขนบธรรมเนียม ประเพณีและวัฒนธรรมไทยอีก
จำนวนมาก
ศาสนิกชน หม่อมเจ้าหญิงพูน
ตัวอย่าง พิสมัย ดิศกุล
คุณธรรมที่ควรถือเป็ น
แบบอย่าง

• ทรงเป็ นอุบาสิกาที่เคร่งครัด ทรงมีความสนพระทัยในพระพุทธศาสนามาตั้งแต่


ยังทรงพระเยาว์ ทรงมีความเชื่อมั่น ในหลักการของพระพุทธศาสนาและ
เลื่อมใสศรัทธาในพระรัตนตรัยอย่างมั่นคง

• ทรงเป็ นพหูสูต ทรงศึกษาภาษาบาลีอย่างจริงจัง จนให้ทรงศึกษาพระพุทธ


ศาสนาได้แตกฉานและยังทรงนิพนธ์หนังสือธรรมที่ชื่อว่า ศาสนคุณ ได้อย่างยอด
เยี่ยม

• ทรงเป็ นแบบอย่างของพลเมืองดี ทรงจงรักภักดีและพิทักษ์รักษาสมบัติล้ำค่า


ของชาติ ผลงานพระนิพนธ์ต่างๆ ของพระบิดาได้บริจาคให้กับทางรัฐบาล
เพื่อเก็บไว้เป็ นสมบัติชาติให้ประชาชนได้ศึกษา
ศาสนิกชน ศาสตราจารย์สัญญา ธรรมศักดิ์
ตัวอย่าง
ประวัติ

• ศาสตราจารย์สัญญา ธรรมศักดิ์ เป็ นบุตรของมหาอำมาตย์ตรี พระยาธรรม


สารเวทย์วิเศษภักดี ศรีสัตยาวัตตาพิริยพาหะ (ทองดี ธรรมศักดิ์) กับคุณ
หญิงชื้น ธรรมศักดิ์
• ท่านเกิดเมื่อวันที่ ๕ เมษายน พ.ศ. ๒๔๕๐
• สมรสกับท่านผู้หญิงพะงา เพ็ญชาติ มีบุตรด้วยกัน ๒ คน คือ นายชาติศักดิ์
ธรรมศักดิ์ กับนายแพทย์จักรธรรม ธรรมศักดิ์
• ถึงแก่อสัญกรรม เมื่อวันที่ ๖ มกราคม พ.ศ.๒๕๔๕ สิริรวมอายุได้ ๙๔ ปี
ศาสนิกชน ศาสตราจารย์สัญญา ธรรมศักดิ์
ตัวอย่าง
• เริ่มการศึกษาที่โรงเรียนอัสสัมชัญ บางรัก
• เมื่อเรียนจบ ได้ทำงานเป็ นนักเรียนล่าม ประจำกระทรวง
ชีวิตการศึกษา ยุติธรรม เรียนวิชากฎหมาย ระหว่างนั้นได้อุปสมบทและสอบไล่
นักธรรมตรีได้ที่ ๑
• เมื่อจบเนติบัณฑิตไทย ได้สอบชิงทุน รพีบุญนิธิ วิชากฎหมายที่
สำนักกฎหมาย ประเทศอังกฤษ เพียงเวลา ๒ ปี ๓ เดือน ก็
สำเร็จเป็ นเนติบัณฑิตอังกฤษ
• เข้ารับราชการกระทรวงยุติธรรม ในตำแหน่งผู้พิพากษาฝึ กหัด
• ก้าวหน้าในหน้าที่ราชการในตำแหน่งอื่นๆ อย่าง ผู้พิพากษา
ศาลอุทธรณ์, ข้าหลวงยุติธรรมภาค ๔, ปลัดกระทรวงยุติธรรม
ชีวิตการทำงาน ฯลฯ
• ร่วมก่อตั้ง พุทธสมาคมแห่งประเทศไทย และจดทะเบียนเมื่อ
พ.ศ.๒๔๗๖
• เมื่อเกษียณอายุราชการแล้ว ได้รับพระมหากรุณาธิคุณโปรด
เกล้าฯ ให้ดำรงตำแหน่งองคมนตรี และยังเคยเป็ นอธิการบดี
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์อีกด้วย
• ดำรงตำแหน่งนายกพุทธสมาคมแห่งปะเทศไทย
งานด้านพระพุทธ • เป็ นประธานองค์การพุทธศาสนิกสัมพันธ์แห่งโลกยาวนานถึง
ศาสนา ๑๕ ปี
• ได้รับเหรียญเชิดชูเกียรติชั้นที่ ๑ ในวาระฉลองครบรอบ ๕๐
ปี ขององค์การพุทธศาสนิกสัมพันธ์แห่งโลก เป็ นบุคคลที่มี
คุณูปการแก่องค์การพุทธศาสนา
ศาสนิกชน ศาสตราจารย์สัญญา ธรรมศักดิ์
ตัวอย่าง
คุณธรรมที่ควรถือเป็ น
แบบอย่าง
• เป็ นผู้ใฝ่ รู้ใฝ่ ศึกษา มีความวิริยอุตสาหะจนสามารถสอบเป็ นเนติบัณฑิตอังกฤษ
ใฝ่ รู้ใฝ่ เรียนศึกษาพระพุทธศาสนาและปฏิบัติธรรมอย่างเคร่งครัด

• เป็ นผู้มีความกตัญญูกตเวที เมื่อครั้งสิ้นบิดา ก็ได้รับความช่วยเหลือจาก


พระยาอรรถกฤตินิรุตติ์ ศิษย์ของบิดา เมื่อมีโอกาสสนองคุณท่านก็ยินดีทำ

• เป็ นผู้ซื่อสัตย์สุจริต ได้รับการหล่อหลอมโดยสายเลือดจากบิดาผู้เป็ นนัก


กฎหมายที่มีความซื่อสัตย์ ยุติธรรม เข้ารับราชการก็ยึดมั่นในคุณธรรมจน
ปรากฏแก่สายตาของสังคม
• เป็ นผู้ใฝ่ ธรรม ได้อุปสมบท เมื่อลาสิกขาออกมาแล้วก็ใส่ใจศึกษาธรรมตลอด
เวลา เป็ นผู้รู้ธรรมะลึกซึ้งและปฏิบัติได้ตามที่รู้ที่ศึกษามา

• เป็ นผู้จงรักภักดีต่อสถาบันพระมหากษัตริย์ ท่านมีโอกาสได้รับใช้ใต้เบื้อง


พระยุคลบาทอย่างใกล้ชิด ท่านได้ใช้ความรู้ความสามารถทำงานสนองพระ
เดชพระคุณด้วยความซื่อสัตย์สุจริต
ชาดก นันทิวิสาล
ชาดก
• สมัยหนึ่ง ขณะที่พระพุทธเจ้าประทับ ณ วัดพระเชตวันมหาวิหาร เมืองสาวัต
ถี ทรงยกเรื่องพระฉัพพัคคีย์ (กลุ่มภิกษุ ๖ รูป) ชอบพูดถ้อยคำเสียด
แทงจิตใจคนอื่น ทรงเล่านิทานว่า

กาลครั้งหนึ่งนานมาแล้วที่เมืองตักศิลา พระโพธิสัตว์ได้เกิดเป็ นโค


นามว่า นันทิวิสาล ซึ่งมีรูปร่างลักษณะสวยงาม มีพละกำลังมาก มี
พราหมณ์คนหนึ่งได้เลี้ยงและรักโคนั้นเหมือนลูกชาย โคนั้นคิดจะ
ตอบแทนบุญคุณ จึงให้พราหมณ์ไปท้าพนันกับเศรษฐีโควินทะว่า โค
ของเราสามารถลากเกวียนที่ผูกติดกันถึงหนึ่งร้อยเล่มได้ ให้พนันด้วย
ในวันเดิมพัน ถึงเวลาพราหมณ์ก็ได้ขึ้นไปนั่งบนเกวียน
เงินหนึ่งพันกหาปณะ พราหมณ์จึงทำตามที่โคบอก เงื้อปฏัก
ขึ้นพร้อมกับตวาดโคด้วย คำหยาบ เมื่อโคนันทิวิสาลได้ยินก็คิด
น้อยใจ จึงยืนนิ่งไม่เคลื่อนไหว ทำให้พราหมณ์ต้องเสียพนัน แล้วก็
เข้าไปนอนเศร้าโศกเสียใจอยู่ในบ้าน ส่วนโคนันทิวิสาลเห็นพราหมณ์
เศร้าโศกเสียใจจึงเข้าไปปลอบและบอกให้พราหมณ์กล่าวด้วยถ้อยคำ
ไพเราะ และให้ไปท้าพนันใหม่ พราหมณ์จึงทำตามคำแนะนำ โคนันทิ
วิสาลได้ยินคำไพเราะจึงทำตาม ทำให้พราหมณ์ชนะพนัน
ชาดก นันทิวิสาล
ชาดก

• คนพูดคำหยาบย่อมทำให้ตนเดือดร้อน เพราะ
ฉะนั้นไม่ควรพูดคำหยาบ เพราะคำหยาบไม่เป็ นที่
พอใจของใครๆ

คติธรรมของชาดกเรื่องนี้

• คนที่พูดจาไพเราะอ่อนหวานย่อมยังประโยชน์ให้
สำเร็จ ดังนั้นคนเราควรเปล่งวาจาที่ไพเราะอ่อน
หวาน เพราะวาจาที่ไพเราะอ่อนหวานเป็ นที่พอใจ
ของใครๆ
ชาดก สุวัณณหังส
ชาดก
• ครั้งหนึ่งพระพุทธเจ้าประทับอยู่ ณ พระเชตวันมหาวิหาร เมืองสาวัตถี
ทรงปรารภเรื่องภิกษุณีชื่อ ถูลนันทา ชอบฉันกระเทียมและมักมากใน
อาหารการขบฉัน สร้างความเดือดร้อนให้ชาวบ้าน จึงทรงนำนิทานมาเล่า
เป็ นสาธก ดังว่า...

กาลครั้งหนึ่งนานมาแล้ว พระโพธิสัตว์เกิดในตระกูลพราหมณ์ มี
ภรรยาชื่อนางพราหมณี และมีบุตรี ๓ คน ชื่อนันทา นันทวดี และสุ
นันทา ตามลำดับ ต่อมาพราหมณ์สิ้นชีวิตลงไปเกิดเป็ นหงส์ทอง ส่วน
ภรรยาและลูกยากจนลง ด้วยความสงสาร พญาหงส์ทองจึงบินไปที่
บ้านนางพราหมณ์และสลัดขนทองคำให้วันละขน เพื่อนำไปขาย
ครอบครัวจึงมีความเป็ นอยู่ดีขึ้น แต่ด้วยความโลภ นางพราหมณีได้จับ
พญาหงส์ทองถอนขนจนหมด ขนทองคำจึงกลายเป็ นขนนกธรรมดา
เพราะพญาหงส์ทองไม่ได้เต็มใจให้ นางพราหมณีเลี้ยงพญาหงส์ทอง
จนขนงอกขึ้นเต็มตัว พญาหงส์ทองก็หนีไป
ชาดก สุวัณณหังส
ชาดก

• พระพุทธองค์ได้ตรัสพระคาถาว่า “บุคคลควรยินดี
เท่าที่ได้ที่มี เพราะความโลภเกินประมาณ เป็ น
ความชั่วแท้ นางพราหมณีจับพญาหงส์ทองถอนขน
จึงเสื่อมจากทองคำ”
คติธรรมของชาดกเรื่องนี้

• คนที่มีความละโมบโลภมาก ไม่พอใจในสิ่งที่ได้ในสิ่ง
ที่มี ย่อมทำให้ตนเองเป็ นทุกข์ สุดท้ายก็ไม่ได้สิ่งใด
เลย ดังคำที่ว่า “โลภนักมักลาภหาย”

You might also like